SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
Physics Online III        http://www.pec9.com       บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

       ฟ สิ ก ส บ ทที่ 3 มวล แรง และกฏการเคลื่ อ นที่ ข องนิ ว ตั น
   ตอนที่ 1 มวล และ แรง
     มวล (m) คือ เนื้อของสาร
   ควรรู 1) มวลเปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน กิโลกรัม (kg)
          2) มวลเปนปริมาณซึ่งคงที่
          3) มวล อาจหมายถึง สภาพตานการเคลือนที่ ( ความเฉื่อย )
                                             ่
                                 มวลมาก                                 มวลนอย

   ตองใชแรงผลักมาก ตานการเคลื่อนที่มาก                  ใชแรงนอย
                                                                        ตานการเคลื่อนที่นอย
1(มช 30) วัตถุอันหนึ่งมีมวล 3 กิโลกรัม บนโลก เมื่อนําวัตถุนไปดาวจูปเ ตอรซึ่งมี g เปน
                                                           ี้
    10 เทาของโลก วัตถุนี้จะมีมวลเปนกีกิโลกรัม
                                       ่
        ก. 3.0              ข. 9.8              ค. 30              ง. 98         (ขอ ก)
วิธีทํา

   แรง ( F ) คือ อํานาจที่พยายามจะทําใหมวลเกิดการเคลื่อนที่ดวยความเรง
   ควรรู 1) แรงเปนปริมาณเวกเตอร
           2) แรงใชหนวยมาตรฐาน S.I. เปน นิวตัน (N) F2                            แรงลัพธ
           3) แรงลัพธ คือ แรงซึ่งเกิดจากแรงยอยๆ หลาย                              F1
              แรงเขามารวมกัน
   วิธีการหาคาแรงลัพธ
       กรณีที่ 1 หากแรงยอยมีทิศทางเดียวกัน
                 Fลัพธ = F1 + F2
                 ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงยอยนั้น
       กรณีที่ 2 หากแรงยอยมีทิศตรงกันขาม
                 Fลัพธ = F1 – F2
         ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงที่มากกวา
                                                1
Physics Online III       http://www.pec9.com       บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
          กรณีที่ 3 หากแรงยอยมีทิศเอียงทํามุมตอกัน
                    Fลัพธ = F12 + F2 + 2F1F2 cosθ
                                        2
                                F2sinθ
                    tan ∝ =
                              F1+F2 cosθ
2. แรง 2 แรง ขนาด 3 นิวตัน และ 4 นิวตัน กระทําตอวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ. จุดเดียวกัน จงหา
   ขนาดของแรงลัพธ ถา
      ก. กระทําในทิศทางเดียวกัน ข. ทิศทางตรงกันขาม ค. ถาทั้งสองตั้งฉากกัน
                                                   ( ก. 7 นิวตัน ข. 1 นิวตัน      ค. 5 นิวตัน )
วิธีทํา




3. แรง 2 แรง ขนาด 15 นิวตัน และ 20 นิวตัน จะมีแรงลัพธขนาดนอยที่สุดกี่นวตัน
                                                                        ิ
        ก. 0               ข. 5              ค. 10                  ง. 15 (ขอ ข)
วิธีทํา
4. จากขอที่ผานมา แรงลัพธมีขนาดมากทีสุดกี่นิวตัน
                                      ่
        ก. 20                  ข. 25                    ค. 30                   ง. 35 (ขอ ง)
วิธีทํา
5. จากขอที่ผานมา ขนาดของแรงลัพธที่เปนไปไมได
        ก. 4                 ข. 5                       ค. 6                    ง. 7 (ขอ ก)
วิธีทํา
                                               2
Physics Online III       http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
    การแตกแรง
        หากมีแรง 1 แรง สมมุติเปนแรง F
    เราสามารถแตกออกเปน 2 แรงยอย ซึ่ง
    ตั้งฉากกันได ดังรูปภาพ
        แรงยอยที่ตดมุม θ จะมีคา F cosθ
                   ิ
        แรงยอยทีไมตดมุม θ จะมีคา F sinθ
                  ่ ิ             
6. จากรูป จงหาแรง x และ y
   1)                                          2)                8N              y
                    60o x
                     y                                            x       45o
                          10 N
วิธีทํา                              ( 1. x = 5 N , y = 5 3 N         2. x = 4 2 , y = 4 2 )




                                               3
Physics Online III   http://www.pec9.com       บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
7. จากรูป จงหาแรงลัพธ                                                             ( 10 N )
วิธีทํา




                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

                                           4
Physics Online III     http://www.pec9.com         บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

     ตอนที่ 2 กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
   กฏขอที่ 1 “ หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย วัตถุจะรักษาสภาพเดิม ”
        คําวา รักษาสภาพเดิมอาจ หมายถึง
             1.วัตถุอยูนิ่งๆ            2 . วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่
   กฏขอที่ 2 “หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาไมเปนศูนย วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรง
    และความเรงที่เกิดขึ้น จะแปรผันตรงกับแรง และแปรผกผันกับมวล”
                 จากกฏขอนี้จะไดสมการ a = m        F
                                      หรือ F = m a
   กฏขอที่ 3 “ เมื่อมีแรงกริยาก็ยอมตองมีแรงปฏิกิริยา
                     ซึ่งมีขนาดเทากัน แตมีทิศตรงกันขาม”
     เขียนเปนสมการจะไดวา Fกริยา = –Fปฏิกริยา


8(มช 40) เมื่อรถหยุดกระทันหัน ผูโดยสารจะคะมําไปขางหนา ปรากฏการณนี้เปนไปตามกฏ
    นิวตันขอ
        ก. ขอ 1           ข. ขอ 2            ค. ขอ 3        ง. ทุกขอ     (ขอ ก)
วิธีทํา



9. เข็มขัดนิรภัยและทีพิงศีรษะที่ติดอยูกับเบาะนั่งในรถยนตบางคันมีไวเพื่อประโยชนอะไร
                     ่
วิธีทํา

10(มช 24) ใชมาตัวหนึ่งลากรถ แรงที่ทําใหมาเคลื่อนทีไปขางหนาคือ
                                                      ่
        ก. แรงที่มากระทําตอรถ             ข. แรงที่รถกระทําตอมา
        ค. แรงที่มากระทําตอพื้น           ง. แรงพื้นกระทําตอเทามา                   (ขอ ง)
วิธีทํา


                                              5
Physics Online III    http://www.pec9.com       บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
11(มช 32) เมือตกตนไมลงมากระทบพื้นจะรูสึกเจ็บ เหตุที่เจ็บอธิบายไดดวยกฏทางฟสิกสขอใด
             ่                                                       
        ก. กฏขอที่หนึ่งของนิวตัน          ข. กฏขอที่สองของนิวตัน
        ค. กฏขอที่สามของนิวตัน            ง. กฏแรงดึงดูดระหวางมวลของนิวตัน (ขอ ค)
วิธีทํา



12(มช 25) ขอความใดทีไมถกตอง ตามลักษณะของแรงที่กลาวถึงในกฏขอที่ 3 ของนิวตัน
                        ่ ู
        ก. ประกอบดวยแรงสองแรง
        ข. มีขนาดเทากันและมีทิศตรงกันขาม
        ค. เปนแรงทีทําใหแรงลัพธบนวัตถุมีคาเปน 0
                     ่
        ง. เปนแรงที่กระทําบนวัตถุตางชนิดกัน                                 (ขอ ค)
วิธีทํา




   วัตถุมวล m กิโลกรัมใดๆ เมื่อยูบนผิวโลกจะถูกโลกดูด ทําใหเกิดความเรงเทากับ 10
 เมตรตอวินาที2 เรียก ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงโลก ( g )
   เราสามารถหาแรงที่โลกดูดวัตถุใดๆ ไดเสมอจาก
                    F = mg
   แรงที่โลกดูดวัตถุนี้ เราจะเรียกชื่อเฉพาะวา น้ําหนัก (W)
          ดังนั้น W = m g
   ขอแตกตางระหวาง น้ําหนัก กับ มวล
                     น้ําหนัก ( W )                      มวล ( m )
           1) หนวยเปนนิวตัน                 1) หนวยเปนกิโลกรัม
           2) เปลี่ยนแปลงได                  2) มีคาคงที่ เปลี่ยนไมได
           3) เปนเวกเตอร                    3) เปนสเกลลาร
                                            6
Physics Online III     http://www.pec9.com       บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
13. นักบินอวกาศมวล 75 กิโลกรัม ซึ่งน้ําหนักตัวของเขาบนดาวเคราะหดวงหนึ่ง พบวาหนัก
    225 นิวตัน ความเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของดาวเคราะหนั้นเปนกี่ m/s2           (ขอ ข)
        ก. 2 m/s2             ข. 3 m/s2          ค. 5 m/s2             ง. 10 m/s2
วิธีทํา




14(En 32) แขวนวัตถุดวยเชือก จากเพดานแรงปฏิกิริยาตามกฏขอที่ 3 ของนิวตันของแรง
     ซึ่งเปนน้ําหนักของวัตถุคือ
         1. แรงที่เสนเชือกกระทําตอเพดาน
         2. แรงที่เสนเชือกกระทําตอวัตถุ
         3. แรงโนมถวงที่วัตถุกระทําตอโลก
         4. แรงที่วัตถุกระทําตอเสนเชือก                                   (ขอ 3)
วิธีทํา



                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦



   ตอนที่ 3 การคํานวณเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
15. รถทดลองมวล 15 กิโลกรัม ถูกแรงดึง 30 นิวตัน จะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด และหาก
                                                              
    ตอนแรกมวลนี้อยูนิ่งๆ ถามวาเมื่อเวลาผานไป 2 วินาที จะเคลื่อนที่ไปไดไกลกี่เมตร
วิธีทํา                                                                    ( 2 m/s2 , 4 m)




                                             7
Physics Online III    http://www.pec9.com       บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 ควรทราบเพิ่มเติม
    ในสมการ               F = ma                     ความเรงซึ่งในแนวเดียวกับแรงนั้น

     แรงลัพธในแนว          มวลที่ถูกแรงนั้นกระทํา
   ขนานกับการเคลื่อนที่
16. แรงสองแรงมีขนาดเทากัน เทากับ 3.0 นิวตัน กระทําตอมวล 6.0 กิโลกรัม จงหาขนาด
    และทิศของความเรงของวัตถุเมื่อแรงทั้งสอง                       ( 1 m/s2 , 0 m/s2)
        ก. กระทําในทิศเดียวกัน                 ข. กระทําในทิศตรงกันขาม
วิธีทํา




17. แรงขนาด 6 และ 8 นิวตัน กระทําตอมวล 2 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพื้นราบ ถาแรง
      ทั้งสองตั้งฉากตอกัน วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาไร
                                             
         ก. 5 m/s2            ข. 3 m/s2              ค. 2 m/s2 ง. 1 m/s2 (ขอ ก)
วิธีทํา




                                            8
Physics Online III      http://www.pec9.com          บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
18. จากรูป หากวัตถุไถลไปบนพื้นราบอยางเดียว                                    80 N
    จงหาความเรงของการเคลื่อนที่  ( 8 m/s2)                   5 kg      60o
วิธีทํา




19. จากรูปวัตถุ 20 kg และ 10 kg วางติดกันบน
    พื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน ใหหา แรง P และ Q
    ในรูปภาพ                       ( 60 N , 20 N )
วิธีทํา




20. จากรูป วัตถุมวล 30 kg และ 20 kg
    ผูกติดกันดวยเชือก อยูบนพืนที่ไมมีแรง
                               ้                               T2                  T1
                                                      30 kg            20 kg
    เสียดทาน หากความเรงของการเคลื่อน
    ที่มีคา 3 m/s2 ใหหาแรง T1 และ T2                                            ( 150 N , 90 N )
วิธีทํา




                                              9
Physics Online III     http://www.pec9.com          บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
21. มวล 3 ชิ้น วางอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียด
    ทาน และถูกดึงดวยแรง T3 = 30 N อยาก
    ทราบวา T2 / T1 มีคา              (3.0)
วิธีทํา




22(มช 42) จากรูป มวลขนาด 10 , 8 และ
    6 กิโลกรัม วางบนพืนที่ไมมีความฝด
                        ้
    ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง
    สามไป จงหาวาขนาดของแรงดึงในเสน
    เชือก T1 และ T2 มีคากี่นิวตัน
        1. T1 = T2 = 60                             2. T1 = T2 = 120
        3. T1 = 50 , T2 = 90                        4. T1 = 90 , T2 = 50                  (ขอ 3)
วิธีทํา




                                               10
Physics Online III    http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
23. นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกมวลนอยมาก ซึ่งปลายขางหนึ่งผูกติดกับ
    เหล็กมวล 1 กิโลกรัม ใหหาแรงดึงเชือก เมื่อ
        ก. ดึงเชือกขึนดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2
                     ้                                   ( 15 N )
        ข. หยอนเชือกลงดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2        ( 5N)
วิธีทํา




24. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูในลิฟท จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น
                                               
    เมื่อลิฟทเริ่มเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1.2 m/s2                    ( 560 N)
วิธีทํา




                                            11
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
25. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทกําลังเคลื่อนที่ลงดวย
    ความเรง 1.2 m/s2                                                                 (440 N)
วิธีทํา




26. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทเคลื่อนที่ดวยความเร็ว
                                                                               
    สม่ําเสมอ 2 m/s                                                               ( 500 N)
วิธีทํา




27(En 27) นายแดงยืนอยูบนตาชั่งสปริงในลิฟท ถาลิฟทอยูนิ่งๆ นายแดงอานน้ําหนักตัวเองได
    56 kg ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 m/s2 นายแดงจะอานน้ําหนัก ตัวเองจากตาชั่ง
    นั้นไดกี่กิโลกรัม
        ก. 40                 ข. 44.8               ค. 50               ง . 67.2 (ขอ ข)
วิธีทํา




                                             12
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
28(En 36) ชายคนหนึ่งมวล 75 kg อยูในลิฟท กดปุมใหลิฟทลง ลิฟทเริ่มลงดวยความเรงจน
    มีความเร็วคงที่ แลวเริ่มลดอัตราเร็วลงดวยขนาดของความเรง 1 m/s2 เพื่อจะหยุดแรงที่
    ลิฟทกระทําตอชายคนนี้ขณะที่ลิฟทกําลังจะหยุดเปนกีนิวตัน
                                                       ่                  ( 825 นิวตัน )
วิธีทํา




29. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม บรรทุกสัมภาระมวล 100 กิโลกรัม หากลิฟทนี้เคลื่อน
    ที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่กระทํา
    ตอลิฟทนี้                                                          ( 7200 นิวตัน )
วิธีทํา




30. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2
    หากแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่มีไดมีคา 8400 นิวตัน จงหาวาลิฟทนี้สามารถบรรทุกสัมภาระ
    ไดมากที่สุดกีกิโลกรัม
                  ่                                                                  ( 200 )
วิธีทํา




                                             13
Physics Online III      http://www.pec9.com         บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
31. วัตถุมวล 3 kg และ 2 kg ผูกติดกันดวยเชือก ดังรูป วัตถุทั้งสอง
    ถูกดึงขึ้นดวยเชือกอีกเสนดวยความเรง 2 m/s2 ในแนวดิ่ง แรง
    ดึงเชือกทั้งสองมีคาเทาใด                 ( T1 = 60 N , T2 = 24 N )
วิธีทํา




32(En 43/1) มวล 2 กอนมีมวลกอนละ 1 กิโลกรัม ผูกติดเชือกน้ําหนักเบา และแขวนติดกับ
    เพดานของลิฟทดังรูป ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง
      2 เมตรตอ(วินาที)2จงหาแรงดึงในเชือก T1 และ T2
        1. T1 = 16 N และ T2 = 8 N
        2. T1 = 20 N และ T2 = 10 N
        3. T1 = T2 = 20 N
        4. T1 = 24 N และ T2 = 12 N               (ขอ 1)
วิธีทํา




                                              14
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
33. จากรูป m1 , m2 มวล 2 kg และ 0.5 kg
    อยูบนพื้นเกลียง
                  ้
        ก. ระบบจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด (2 m/s2)
        ข. เชือกจะมีแรงดึงเชือกเทาใด           (4N)
        ค. ระบบจะมีความเร็วสูงสุดเทาใด        ( 2 m/s)
วิธีทํา




34. มวล 2 และ 8 กิโลกรัม ถูกจัดดังรูป(A)โดยพื้นโตะ และรอกเกลียง เมื่อจัดใหมตามรูป(B)
                                                              ้
   อัตราสวนของความเรงของระบบ A ตอระบบ B เปนเทาใด                             (1/4 )




วิธีทํา




                                             15
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
35. จากรูปวัตถุจะมีความเรงเทาไร
    และมีความเรงมีทิศทางไปทางใด
วิธีทํา                 (6.67 m/s2)




36. จากรูปขอที่ผานมาเชือกจะมีความตึงเทาใด                                    (33.33 นิวตัน)
วิธีทํา




                                             16
Physics Online III      http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ขอมูลสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป
                                                                    B
   จากรูปวัตถุ A , B และ C มีมวล 3 , 5
และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ ถาถือวาทุกผิว
                                                   A                                     C
สัมผัสไมมีความฝด
37. ความเรงของวัตถุทั้งสาม มีคากี่เมตร/วินาที2
        ก. 1                ข. 1.5                   ค. 2.0                 ง. 2.5       (ขอ ก)
วิธีทํา




38. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ A กับวัตถุ B มีคากีนิวตัน
                                                      ่
        ก. 24                ข. 27                  ค. 30                   ง. 33       (ขอ ข)
วิธีทํา




39. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ B กับวัตถุ C มีคากีนิวตัน
                                                      ่
        ก. 18                 ข. 20                 ค. 22                   ง. 24        (ขอ ค)
วิธีทํา




                      ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

                                              17
Physics Online III     http://www.pec9.com         บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

 ตอนที่ 4 แรงเสียดทาน
   แรงเสียดทาน คือ แรงที่เกิดจากการเสียดสีระหวางผิวสัมผัส มีทิศตานการเคลื่อนทีเ่ สมอ
   ประเภทของแรงเสียดทาน
   ประเภทที่ 1 แรงเสียดทานสถิตย (fs) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุอยูนิ่งๆ
      สมบัติ 1.1 มีคาไมคงที่
              1.2 ต่ําสุด = 0 และ fs(สูงสุด) = μs N
                 เมื่อ μs คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตย
                        N คือ แรงดันพื้น
   ประเภทที่ 2 แรงเสียดทานจลน (fk) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุกาลังเคลื่อนที่
                                                                   ํ
      สมบัติ 2.1 fk < fs (สูงสุด)
              2.2 fk = μkN
                เมื่อ μk คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน , N คือ แรงดันพื้น
40(มช 24) ถา N เปนแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทําตอวัตถุ และ μs เปนสัมประสิทธิ์ของความเสียด
    ทานสถิตระหวางผิววัตถุและพื้นแรงเสียดทานสถิต ในขณะทีวัตถยังไมเคลื่อนที่จะมีคา
                                                               ่
        ก. 0       ข. μsN           ค. ระหวาง 0 และ μsN           ง. มากกวา μsN ( ค )
วิธีทํา


   หลักในการคํานวณเกี่ยวกับแรงเสียดทาน
   ขั้นที่ 1 ใหหาแรงเสียดทานใหไดกอน
            โดย fs = μsN ใหหาแรงเสียดทานสถิตย (ตอนวัตถุอยูนง ๆ )
                                                             ิ่
            และ fk = μkN ใหหาแรงเสียดทานจลน (ตอนวัตถุกําลังเคลื่อนที่)
   ขั้นที่ 2 กรณี 1 หาก a = 0 (วัตถุอยูนิ่งๆ , ความเร็วคงที่ , เริ่มจะเคลื่อนที่ )
                                       
                 ใหใช Fซาย = Fขวา
                 หรือ Fขึ้น = Fลง
             กรณี 2 หาก a ≠ 0
                 ใหใช Fลัพธ = m⋅a
                                             18
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
41. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยูบนพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสียดทาน 0.2 จงหาแรงนอยที่สุดที่จะ
    ทําใหวัตถุเริ่มเคลื่อนที่                                                  (4 N)
วิธีทํา




42. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่จะทําใหวตถุเคลื่อนที่ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2
                                       ั                                                (8 N)
วิธีทํา




43. F เปนแรงซึ่งใชในการดึงใหวัตถุมวล 100 กิโลกรัม
    จนเกิดความเรง 2 เมตร/วินาที2 อยากทราบวา F
    มีคากี่นิวตัน                          ( 300 N )
วิธีทํา




                                             19
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
44. วัตถุ A และ B มีมวล 0.6 และ 0.3 กิโลกรัม ตามลําดับ v
   วางติดกันบนพื้นราบ ถาออกแรงผลัก F เทากับ 15 นิวตัน F                    A           B
   ดังรูป สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางวัตถุทั้งสองกับ
   พื้นมีคา 2 จงหาวาวัตถุทั้งสองจะเคลื่อนที่ไปดวยความเรงเทาใด
             3                                                                      ( 10 m/s2)
วิธีทํา




45. จากขอที่ผานมา แรงกระทําระหวางวัตถุ A และ B มีคากี่นิวตัน
        ก. 3               ข. 5                 ค. 10                      ง. 15       (ขอ ข)
วิธีทํา




46(มช 37) แทงไม 2 อัน A และ B มีน้ําหนัก 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ผูกติดกันดวย
    เชือกเบาถูกลากดวยแรง F ไปบนพื้นไมที่อยูในแนวระดับซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
    สถิตเปน 0.7 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลนเปน 0.4 จงหาขนาดของแรง F ที่จะทํา
    ใหแทงไมทั้งสอง เคลื่อนที่ไปบนพื้นดวยความเร็วคงที่
        1. 24 นิวตัน              2. 42 นิวตัน
        3. 2.4 นิวตัน             4. 4.2 นิวตัน (ขอ 1)
วิธีทํา




                                             20
Physics Online III    http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
47. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพืนฝด
                                    ้
    ตอกันดวยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน
    ดึงในแนวราบทําใหระบบมีความเรงคงที่
    ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลนมคา 0.5 ทุกผิวสัมผัส จงคํานวณความเรงของระบบ
                                       ี
        1. 7 เมตร/วินาที2                 2. 5 เมตร/วินาที2
        3. 3 เมตร/วินาที2                 4. 1 เมตร/วินาที2                    (ขอ 1)
วิธีทํา




48. จากขอผานมา แรงตึงในเสนเชือก                                                     (ขอ 2)
        1. 100 นิวตัน     2. 120 นิวตัน             3. 140 นิวตัน           4. 160 นิวตัน
วิธีทํา




                                            21
Physics Online III    http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
49. วัตถุ 15 2 กิโลกรัม วางบนระนาบเอียงฝดทํามุม 45o
    กับแนวราบออกแรง F ดึงวัตถุขนานกับระนาบเอียง ถา
    สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิตมีคา 0.5 จงหาแรง F
    ที่พอดี ทําใหวัตถุขยับขึ้น
        1. 75 นิวตัน          2. 150 นิวตัน 3. 175 นิวตัน       4. 225 นิวตัน         ( ขอ 4)
วิธีทํา




50. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่พอดีทําใหวตถุขยับลง
                                                ั                                      (ขอ 1)
        1. 75 นิวตัน       2. 225 นิวตัน      3. 350 นิวตัน               4. 450 นิวตัน
วิธีทํา




                                            22
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
51. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่ทําใหวตถุเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 5 2 เมตร/วินาที2
                                            ั
        1. 75 นิวตัน        2. 225 นิวตัน            3. 375 นิวตัน         4. 450 นิวตัน
วิธีทํา                                                                               (ขอ 3)




52. วัตถุมวล 50 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือก ถาออกแรงดึงเพื่อให
    วัตถุ 50 kg ไถลไปตามพื้นราบ โดยทิศทางของเสนเชือก
    ทํามุม 30o ส.ป.ส แรงเสียดทานระหวางพื้นกับวัตถุมีคา 0.3
    ตองออกแรงดึงเชือกเทาไร วัตถุจึงจะเริ่มเคลื่อน ( 147.67 N )
วิธีทํา




                      ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

                                             23
Physics Online III        http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
     ตอนที่ 5 กฏแรงดึงดูดระหวางมวล
       เมื่อมวล 2 กอนอยูหางกันขนาดหนึ่ง มวลทั้งสองจะมีแรงดึงดูดกันเสมอ
       เราสามารถหาแรงดึงดูดระหวางมวล 2 กอนใดๆ ไดเสมอ จาก




               เมื่อ FG    คือ แรงดึงดูดระหวางมวล (นิวตัน)
               m1 , m2     คือ ขนาดของมวลกอนที่ 1 และ กอนที่ 2 ตามลําดับ (กิโลกรัม)
                      R    คือ ระยะหางระหวางใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร)
                      G    คือ คานิจความโนมถวงสากล คือ 6.672 x 10–11 N⋅m2/kg2
53. ดาว A มีมวล 6 x 1020 กิโลกรัม มียานอวกาศมวล 5 x 102 กิโลกรัม โคจรอยูรอบเปน
    วงกลมรัศมี 5x107 กิโลเมตร ดาว A จะมีแรงดึงดูดยานอวกาศนี้เทาใด ( 8.01x10–9 N)
วิธีทํา




                                    เราสามารถหาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงไดจาก
                                                 g = Gm
                                                        R2
                               เมื่อ g คือ ความเรงเนื่องจากแรงดึงดูด ณ จุดใด ๆ (m/s2)
                                    G คือ คานิจความโนมถวงสากลคือ 6.672 x 10–11N⋅m2/kg2
                                     m คือ มวลดวงดาวนั้น ๆ (kg)
                                    R คือ ระยะจากใจกลางดวงดาวถึงจุดทีจะหาคา g
                                                                         ่

                                                24
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
54. จงหาคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ.จุดที่หางจากใจกลางโลก 10000 กิโล-
    เมตร กําหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม                             (4 เมตร/วินาที2)
วิธีทํา




55. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกสงขึ้นไปโคจรหางจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง
    นี้ จะมีคาความเรงเนื่องจากสนามความโนมถวงเปนเทาใด ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g )
        1. 1 g
           9
                                  1
                               2. 4 g             3. 1 g
                                                      3                 4. 1 g (ขอ 1)
                                                                             2
วิธีทํา




                                             25
Physics Online III      http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
56(En 30) ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลมากกวาโลก 2 เทา แตมีรัศมีเปนครึ่งหนึ่งของโลก จง
    หาคาความเรงเนื่องจากความโนมถวงที่ผิวของดาวเคราะหดวงนั้น ( ให ความเรงที่ผิวโลก = g )
           1
        ก. 4 g               ข. 2 g                ค. 4 g                 ง. 8g         (ขอ ง)
วิธีทํา




57(En 27) ถามวลของดวงจันทรเปน 1/80 เทาของโลก และรัศมีเปน 1/4 เทาของรัศมีโลก
    ใหมวลโลกเปน M และรัศมีโลกเปน R G เปนคานิจความโนมถวงสากล วัตถุที่ตกอยาง
    อิสระบนดวงจันทรจะมีความเรงเทาใด ( g คือ ความเรงที่ผิวโลก )
        ก. 4 g
           1
                          ข. 1 g
                              5                  ค. 1 g
                                                    6              ง. 20 g (ขอ ข)
                                                                      1

วิธีทํา




                                              26
Physics Online III     http://www.pec9.com        บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
58. ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีเสนผาศูนยกลางหนึ่งในสามของเสนผานศูนยกลางของโลก และมี
    มวลหนึ่งในหกของมวลของโลก ชายผูหนึงหนัก 500 นิวตัน บนผิวโลก เขาจะหนักเทาใด
                                        ่
    เมื่อขึ้นไปอยูบนดาวเคราะหดวงนี้                                       ( 750 N)
วิธีทํา




                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦



   ตอนที่ 6 จุดศูนยกลางมวล และ จุดศูนยถวง
       จุดศูนยกลางมวล (C.M.) คือ ตําแหนงซึ่งเปนที่รวมของ มวล ของวัตถุทั้งกอน
       จุดศูนยถวง (C.G.) คือ ตําแหนงซึ่งเปนทีรวมของ น้ําหนัก วัตถุทั้งกอน
                                                 ่
       สูตรหาจุดศูนยกลางมวล
                C.M. = ( X , Y )
                        MX                    MY
          เมื่อ X = ∑ M        และ       Y = ∑M
                       ∑                     ∑
       สูตรหาจุดศูนยถวง
                C.G. = ( X , Y )
                          WX                  WY
          เมื่อ X = ∑ W        และ       Y = ∑W →
                        ∑                    ∑
                                             27
Physics Online III       http://www.pec9.com         บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
59. แผนพลาสติกบางเบารูปสี่เหลี่ยมจตุรส มีความ
                                          ั                          Y
    ยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 3                   2 kg                       3 kg
    และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มมทั้งสี่ดาน จงหาจุด
                              ุ
    ศูนยกลางมวลของระบบนี้                  ( 14 , 10)
                                                             1 kg                       4 kg X
วิธีทํา




60. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มี                      Y
    ความยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 ,                2 kg                        3 kg
                                                                          10 kg
      3 และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มุมทั้งสี่ดาน
    จงหาจุดศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 12 , 10)                                            4 kg X
                                                            1 kg
วิธีทํา




                       ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

                                               28

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
thanakit553
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
on2539
 

What's hot (18)

บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
P05
P05P05
P05
 
P04
P04P04
P04
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
2.แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
2.แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่2.แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
2.แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 
P08
P08P08
P08
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 
P12
P12P12
P12
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
P15
P15P15
P15
 
P06
P06P06
P06
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 

Viewers also liked (6)

ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 

Similar to P03

เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
thanakit553
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
thanakit553
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
Apinya Phuadsing
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
Taweesak Poochai
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
thanakit553
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
Janesita Sinpiang
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Wannalak Santipapwiwatana
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
thanakit553
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
Kruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
Kruanek007
 
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
rapinn
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
noeiinoii
 

Similar to P03 (20)

5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 

P03

  • 1. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ฟ สิ ก ส บ ทที่ 3 มวล แรง และกฏการเคลื่ อ นที่ ข องนิ ว ตั น ตอนที่ 1 มวล และ แรง มวล (m) คือ เนื้อของสาร ควรรู 1) มวลเปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน กิโลกรัม (kg) 2) มวลเปนปริมาณซึ่งคงที่ 3) มวล อาจหมายถึง สภาพตานการเคลือนที่ ( ความเฉื่อย ) ่ มวลมาก มวลนอย ตองใชแรงผลักมาก ตานการเคลื่อนที่มาก ใชแรงนอย ตานการเคลื่อนที่นอย 1(มช 30) วัตถุอันหนึ่งมีมวล 3 กิโลกรัม บนโลก เมื่อนําวัตถุนไปดาวจูปเ ตอรซึ่งมี g เปน ี้ 10 เทาของโลก วัตถุนี้จะมีมวลเปนกีกิโลกรัม ่ ก. 3.0 ข. 9.8 ค. 30 ง. 98 (ขอ ก) วิธีทํา แรง ( F ) คือ อํานาจที่พยายามจะทําใหมวลเกิดการเคลื่อนที่ดวยความเรง ควรรู 1) แรงเปนปริมาณเวกเตอร 2) แรงใชหนวยมาตรฐาน S.I. เปน นิวตัน (N) F2 แรงลัพธ 3) แรงลัพธ คือ แรงซึ่งเกิดจากแรงยอยๆ หลาย F1 แรงเขามารวมกัน วิธีการหาคาแรงลัพธ กรณีที่ 1 หากแรงยอยมีทิศทางเดียวกัน Fลัพธ = F1 + F2 ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงยอยนั้น กรณีที่ 2 หากแรงยอยมีทิศตรงกันขาม Fลัพธ = F1 – F2 ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงที่มากกวา 1
  • 2. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน กรณีที่ 3 หากแรงยอยมีทิศเอียงทํามุมตอกัน Fลัพธ = F12 + F2 + 2F1F2 cosθ 2 F2sinθ tan ∝ = F1+F2 cosθ 2. แรง 2 แรง ขนาด 3 นิวตัน และ 4 นิวตัน กระทําตอวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ. จุดเดียวกัน จงหา ขนาดของแรงลัพธ ถา ก. กระทําในทิศทางเดียวกัน ข. ทิศทางตรงกันขาม ค. ถาทั้งสองตั้งฉากกัน ( ก. 7 นิวตัน ข. 1 นิวตัน ค. 5 นิวตัน ) วิธีทํา 3. แรง 2 แรง ขนาด 15 นิวตัน และ 20 นิวตัน จะมีแรงลัพธขนาดนอยที่สุดกี่นวตัน ิ ก. 0 ข. 5 ค. 10 ง. 15 (ขอ ข) วิธีทํา 4. จากขอที่ผานมา แรงลัพธมีขนาดมากทีสุดกี่นิวตัน ่ ก. 20 ข. 25 ค. 30 ง. 35 (ขอ ง) วิธีทํา 5. จากขอที่ผานมา ขนาดของแรงลัพธที่เปนไปไมได ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 7 (ขอ ก) วิธีทํา 2
  • 3. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน การแตกแรง หากมีแรง 1 แรง สมมุติเปนแรง F เราสามารถแตกออกเปน 2 แรงยอย ซึ่ง ตั้งฉากกันได ดังรูปภาพ แรงยอยที่ตดมุม θ จะมีคา F cosθ ิ แรงยอยทีไมตดมุม θ จะมีคา F sinθ ่ ิ  6. จากรูป จงหาแรง x และ y 1) 2) 8N y 60o x y x 45o 10 N วิธีทํา ( 1. x = 5 N , y = 5 3 N 2. x = 4 2 , y = 4 2 ) 3
  • 4. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 7. จากรูป จงหาแรงลัพธ ( 10 N ) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 4
  • 5. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ตอนที่ 2 กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฏขอที่ 1 “ หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย วัตถุจะรักษาสภาพเดิม ” คําวา รักษาสภาพเดิมอาจ หมายถึง 1.วัตถุอยูนิ่งๆ 2 . วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ กฏขอที่ 2 “หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาไมเปนศูนย วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรง และความเรงที่เกิดขึ้น จะแปรผันตรงกับแรง และแปรผกผันกับมวล” จากกฏขอนี้จะไดสมการ a = m F หรือ F = m a กฏขอที่ 3 “ เมื่อมีแรงกริยาก็ยอมตองมีแรงปฏิกิริยา ซึ่งมีขนาดเทากัน แตมีทิศตรงกันขาม” เขียนเปนสมการจะไดวา Fกริยา = –Fปฏิกริยา 8(มช 40) เมื่อรถหยุดกระทันหัน ผูโดยสารจะคะมําไปขางหนา ปรากฏการณนี้เปนไปตามกฏ นิวตันขอ ก. ขอ 1 ข. ขอ 2 ค. ขอ 3 ง. ทุกขอ (ขอ ก) วิธีทํา 9. เข็มขัดนิรภัยและทีพิงศีรษะที่ติดอยูกับเบาะนั่งในรถยนตบางคันมีไวเพื่อประโยชนอะไร ่ วิธีทํา 10(มช 24) ใชมาตัวหนึ่งลากรถ แรงที่ทําใหมาเคลื่อนทีไปขางหนาคือ ่ ก. แรงที่มากระทําตอรถ ข. แรงที่รถกระทําตอมา ค. แรงที่มากระทําตอพื้น ง. แรงพื้นกระทําตอเทามา (ขอ ง) วิธีทํา 5
  • 6. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 11(มช 32) เมือตกตนไมลงมากระทบพื้นจะรูสึกเจ็บ เหตุที่เจ็บอธิบายไดดวยกฏทางฟสิกสขอใด ่  ก. กฏขอที่หนึ่งของนิวตัน ข. กฏขอที่สองของนิวตัน ค. กฏขอที่สามของนิวตัน ง. กฏแรงดึงดูดระหวางมวลของนิวตัน (ขอ ค) วิธีทํา 12(มช 25) ขอความใดทีไมถกตอง ตามลักษณะของแรงที่กลาวถึงในกฏขอที่ 3 ของนิวตัน ่ ู ก. ประกอบดวยแรงสองแรง ข. มีขนาดเทากันและมีทิศตรงกันขาม ค. เปนแรงทีทําใหแรงลัพธบนวัตถุมีคาเปน 0 ่ ง. เปนแรงที่กระทําบนวัตถุตางชนิดกัน (ขอ ค) วิธีทํา วัตถุมวล m กิโลกรัมใดๆ เมื่อยูบนผิวโลกจะถูกโลกดูด ทําใหเกิดความเรงเทากับ 10 เมตรตอวินาที2 เรียก ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงโลก ( g ) เราสามารถหาแรงที่โลกดูดวัตถุใดๆ ไดเสมอจาก F = mg แรงที่โลกดูดวัตถุนี้ เราจะเรียกชื่อเฉพาะวา น้ําหนัก (W) ดังนั้น W = m g ขอแตกตางระหวาง น้ําหนัก กับ มวล น้ําหนัก ( W ) มวล ( m ) 1) หนวยเปนนิวตัน 1) หนวยเปนกิโลกรัม 2) เปลี่ยนแปลงได 2) มีคาคงที่ เปลี่ยนไมได 3) เปนเวกเตอร 3) เปนสเกลลาร 6
  • 7. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 13. นักบินอวกาศมวล 75 กิโลกรัม ซึ่งน้ําหนักตัวของเขาบนดาวเคราะหดวงหนึ่ง พบวาหนัก 225 นิวตัน ความเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของดาวเคราะหนั้นเปนกี่ m/s2 (ขอ ข) ก. 2 m/s2 ข. 3 m/s2 ค. 5 m/s2 ง. 10 m/s2 วิธีทํา 14(En 32) แขวนวัตถุดวยเชือก จากเพดานแรงปฏิกิริยาตามกฏขอที่ 3 ของนิวตันของแรง ซึ่งเปนน้ําหนักของวัตถุคือ 1. แรงที่เสนเชือกกระทําตอเพดาน 2. แรงที่เสนเชือกกระทําตอวัตถุ 3. แรงโนมถวงที่วัตถุกระทําตอโลก 4. แรงที่วัตถุกระทําตอเสนเชือก (ขอ 3) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 3 การคํานวณเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 15. รถทดลองมวล 15 กิโลกรัม ถูกแรงดึง 30 นิวตัน จะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด และหาก  ตอนแรกมวลนี้อยูนิ่งๆ ถามวาเมื่อเวลาผานไป 2 วินาที จะเคลื่อนที่ไปไดไกลกี่เมตร วิธีทํา ( 2 m/s2 , 4 m) 7
  • 8. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ควรทราบเพิ่มเติม ในสมการ F = ma ความเรงซึ่งในแนวเดียวกับแรงนั้น แรงลัพธในแนว มวลที่ถูกแรงนั้นกระทํา ขนานกับการเคลื่อนที่ 16. แรงสองแรงมีขนาดเทากัน เทากับ 3.0 นิวตัน กระทําตอมวล 6.0 กิโลกรัม จงหาขนาด และทิศของความเรงของวัตถุเมื่อแรงทั้งสอง ( 1 m/s2 , 0 m/s2) ก. กระทําในทิศเดียวกัน ข. กระทําในทิศตรงกันขาม วิธีทํา 17. แรงขนาด 6 และ 8 นิวตัน กระทําตอมวล 2 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพื้นราบ ถาแรง ทั้งสองตั้งฉากตอกัน วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาไร  ก. 5 m/s2 ข. 3 m/s2 ค. 2 m/s2 ง. 1 m/s2 (ขอ ก) วิธีทํา 8
  • 9. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 18. จากรูป หากวัตถุไถลไปบนพื้นราบอยางเดียว 80 N จงหาความเรงของการเคลื่อนที่ ( 8 m/s2) 5 kg 60o วิธีทํา 19. จากรูปวัตถุ 20 kg และ 10 kg วางติดกันบน พื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน ใหหา แรง P และ Q ในรูปภาพ ( 60 N , 20 N ) วิธีทํา 20. จากรูป วัตถุมวล 30 kg และ 20 kg ผูกติดกันดวยเชือก อยูบนพืนที่ไมมีแรง ้ T2 T1 30 kg 20 kg เสียดทาน หากความเรงของการเคลื่อน ที่มีคา 3 m/s2 ใหหาแรง T1 และ T2 ( 150 N , 90 N ) วิธีทํา 9
  • 10. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 21. มวล 3 ชิ้น วางอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียด ทาน และถูกดึงดวยแรง T3 = 30 N อยาก ทราบวา T2 / T1 มีคา (3.0) วิธีทํา 22(มช 42) จากรูป มวลขนาด 10 , 8 และ 6 กิโลกรัม วางบนพืนที่ไมมีความฝด ้ ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง สามไป จงหาวาขนาดของแรงดึงในเสน เชือก T1 และ T2 มีคากี่นิวตัน 1. T1 = T2 = 60 2. T1 = T2 = 120 3. T1 = 50 , T2 = 90 4. T1 = 90 , T2 = 50 (ขอ 3) วิธีทํา 10
  • 11. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 23. นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกมวลนอยมาก ซึ่งปลายขางหนึ่งผูกติดกับ เหล็กมวล 1 กิโลกรัม ใหหาแรงดึงเชือก เมื่อ ก. ดึงเชือกขึนดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 ้ ( 15 N ) ข. หยอนเชือกลงดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 ( 5N) วิธีทํา 24. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูในลิฟท จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น  เมื่อลิฟทเริ่มเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1.2 m/s2 ( 560 N) วิธีทํา 11
  • 12. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 25. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทกําลังเคลื่อนที่ลงดวย ความเรง 1.2 m/s2 (440 N) วิธีทํา 26. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทเคลื่อนที่ดวยความเร็ว  สม่ําเสมอ 2 m/s ( 500 N) วิธีทํา 27(En 27) นายแดงยืนอยูบนตาชั่งสปริงในลิฟท ถาลิฟทอยูนิ่งๆ นายแดงอานน้ําหนักตัวเองได 56 kg ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 m/s2 นายแดงจะอานน้ําหนัก ตัวเองจากตาชั่ง นั้นไดกี่กิโลกรัม ก. 40 ข. 44.8 ค. 50 ง . 67.2 (ขอ ข) วิธีทํา 12
  • 13. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 28(En 36) ชายคนหนึ่งมวล 75 kg อยูในลิฟท กดปุมใหลิฟทลง ลิฟทเริ่มลงดวยความเรงจน มีความเร็วคงที่ แลวเริ่มลดอัตราเร็วลงดวยขนาดของความเรง 1 m/s2 เพื่อจะหยุดแรงที่ ลิฟทกระทําตอชายคนนี้ขณะที่ลิฟทกําลังจะหยุดเปนกีนิวตัน ่ ( 825 นิวตัน ) วิธีทํา 29. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม บรรทุกสัมภาระมวล 100 กิโลกรัม หากลิฟทนี้เคลื่อน ที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่กระทํา ตอลิฟทนี้ ( 7200 นิวตัน ) วิธีทํา 30. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2 หากแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่มีไดมีคา 8400 นิวตัน จงหาวาลิฟทนี้สามารถบรรทุกสัมภาระ ไดมากที่สุดกีกิโลกรัม ่ ( 200 ) วิธีทํา 13
  • 14. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 31. วัตถุมวล 3 kg และ 2 kg ผูกติดกันดวยเชือก ดังรูป วัตถุทั้งสอง ถูกดึงขึ้นดวยเชือกอีกเสนดวยความเรง 2 m/s2 ในแนวดิ่ง แรง ดึงเชือกทั้งสองมีคาเทาใด ( T1 = 60 N , T2 = 24 N ) วิธีทํา 32(En 43/1) มวล 2 กอนมีมวลกอนละ 1 กิโลกรัม ผูกติดเชือกน้ําหนักเบา และแขวนติดกับ เพดานของลิฟทดังรูป ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 เมตรตอ(วินาที)2จงหาแรงดึงในเชือก T1 และ T2 1. T1 = 16 N และ T2 = 8 N 2. T1 = 20 N และ T2 = 10 N 3. T1 = T2 = 20 N 4. T1 = 24 N และ T2 = 12 N (ขอ 1) วิธีทํา 14
  • 15. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 33. จากรูป m1 , m2 มวล 2 kg และ 0.5 kg อยูบนพื้นเกลียง ้ ก. ระบบจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด (2 m/s2) ข. เชือกจะมีแรงดึงเชือกเทาใด (4N) ค. ระบบจะมีความเร็วสูงสุดเทาใด ( 2 m/s) วิธีทํา 34. มวล 2 และ 8 กิโลกรัม ถูกจัดดังรูป(A)โดยพื้นโตะ และรอกเกลียง เมื่อจัดใหมตามรูป(B) ้ อัตราสวนของความเรงของระบบ A ตอระบบ B เปนเทาใด (1/4 ) วิธีทํา 15
  • 16. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 35. จากรูปวัตถุจะมีความเรงเทาไร และมีความเรงมีทิศทางไปทางใด วิธีทํา (6.67 m/s2) 36. จากรูปขอที่ผานมาเชือกจะมีความตึงเทาใด (33.33 นิวตัน) วิธีทํา 16
  • 17. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ขอมูลสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป B จากรูปวัตถุ A , B และ C มีมวล 3 , 5 และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ ถาถือวาทุกผิว A C สัมผัสไมมีความฝด 37. ความเรงของวัตถุทั้งสาม มีคากี่เมตร/วินาที2 ก. 1 ข. 1.5 ค. 2.0 ง. 2.5 (ขอ ก) วิธีทํา 38. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ A กับวัตถุ B มีคากีนิวตัน ่ ก. 24 ข. 27 ค. 30 ง. 33 (ขอ ข) วิธีทํา 39. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ B กับวัตถุ C มีคากีนิวตัน ่ ก. 18 ข. 20 ค. 22 ง. 24 (ขอ ค) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 17
  • 18. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ตอนที่ 4 แรงเสียดทาน แรงเสียดทาน คือ แรงที่เกิดจากการเสียดสีระหวางผิวสัมผัส มีทิศตานการเคลื่อนทีเ่ สมอ ประเภทของแรงเสียดทาน ประเภทที่ 1 แรงเสียดทานสถิตย (fs) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุอยูนิ่งๆ สมบัติ 1.1 มีคาไมคงที่ 1.2 ต่ําสุด = 0 และ fs(สูงสุด) = μs N เมื่อ μs คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตย N คือ แรงดันพื้น ประเภทที่ 2 แรงเสียดทานจลน (fk) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุกาลังเคลื่อนที่ ํ สมบัติ 2.1 fk < fs (สูงสุด) 2.2 fk = μkN เมื่อ μk คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน , N คือ แรงดันพื้น 40(มช 24) ถา N เปนแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทําตอวัตถุ และ μs เปนสัมประสิทธิ์ของความเสียด ทานสถิตระหวางผิววัตถุและพื้นแรงเสียดทานสถิต ในขณะทีวัตถยังไมเคลื่อนที่จะมีคา ่ ก. 0 ข. μsN ค. ระหวาง 0 และ μsN ง. มากกวา μsN ( ค ) วิธีทํา หลักในการคํานวณเกี่ยวกับแรงเสียดทาน ขั้นที่ 1 ใหหาแรงเสียดทานใหไดกอน โดย fs = μsN ใหหาแรงเสียดทานสถิตย (ตอนวัตถุอยูนง ๆ )  ิ่ และ fk = μkN ใหหาแรงเสียดทานจลน (ตอนวัตถุกําลังเคลื่อนที่) ขั้นที่ 2 กรณี 1 หาก a = 0 (วัตถุอยูนิ่งๆ , ความเร็วคงที่ , เริ่มจะเคลื่อนที่ )  ใหใช Fซาย = Fขวา หรือ Fขึ้น = Fลง กรณี 2 หาก a ≠ 0 ใหใช Fลัพธ = m⋅a 18
  • 19. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 41. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยูบนพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสียดทาน 0.2 จงหาแรงนอยที่สุดที่จะ ทําใหวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ (4 N) วิธีทํา 42. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่จะทําใหวตถุเคลื่อนที่ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 ั (8 N) วิธีทํา 43. F เปนแรงซึ่งใชในการดึงใหวัตถุมวล 100 กิโลกรัม จนเกิดความเรง 2 เมตร/วินาที2 อยากทราบวา F มีคากี่นิวตัน ( 300 N ) วิธีทํา 19
  • 20. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 44. วัตถุ A และ B มีมวล 0.6 และ 0.3 กิโลกรัม ตามลําดับ v วางติดกันบนพื้นราบ ถาออกแรงผลัก F เทากับ 15 นิวตัน F A B ดังรูป สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางวัตถุทั้งสองกับ พื้นมีคา 2 จงหาวาวัตถุทั้งสองจะเคลื่อนที่ไปดวยความเรงเทาใด 3 ( 10 m/s2) วิธีทํา 45. จากขอที่ผานมา แรงกระทําระหวางวัตถุ A และ B มีคากี่นิวตัน ก. 3 ข. 5 ค. 10 ง. 15 (ขอ ข) วิธีทํา 46(มช 37) แทงไม 2 อัน A และ B มีน้ําหนัก 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ผูกติดกันดวย เชือกเบาถูกลากดวยแรง F ไปบนพื้นไมที่อยูในแนวระดับซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน สถิตเปน 0.7 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลนเปน 0.4 จงหาขนาดของแรง F ที่จะทํา ใหแทงไมทั้งสอง เคลื่อนที่ไปบนพื้นดวยความเร็วคงที่ 1. 24 นิวตัน 2. 42 นิวตัน 3. 2.4 นิวตัน 4. 4.2 นิวตัน (ขอ 1) วิธีทํา 20
  • 21. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 47. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพืนฝด ้ ตอกันดวยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน ดึงในแนวราบทําใหระบบมีความเรงคงที่ ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลนมคา 0.5 ทุกผิวสัมผัส จงคํานวณความเรงของระบบ ี 1. 7 เมตร/วินาที2 2. 5 เมตร/วินาที2 3. 3 เมตร/วินาที2 4. 1 เมตร/วินาที2 (ขอ 1) วิธีทํา 48. จากขอผานมา แรงตึงในเสนเชือก (ขอ 2) 1. 100 นิวตัน 2. 120 นิวตัน 3. 140 นิวตัน 4. 160 นิวตัน วิธีทํา 21
  • 22. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 49. วัตถุ 15 2 กิโลกรัม วางบนระนาบเอียงฝดทํามุม 45o กับแนวราบออกแรง F ดึงวัตถุขนานกับระนาบเอียง ถา สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิตมีคา 0.5 จงหาแรง F ที่พอดี ทําใหวัตถุขยับขึ้น 1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 175 นิวตัน 4. 225 นิวตัน ( ขอ 4) วิธีทํา 50. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่พอดีทําใหวตถุขยับลง ั (ขอ 1) 1. 75 นิวตัน 2. 225 นิวตัน 3. 350 นิวตัน 4. 450 นิวตัน วิธีทํา 22
  • 23. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 51. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่ทําใหวตถุเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 5 2 เมตร/วินาที2 ั 1. 75 นิวตัน 2. 225 นิวตัน 3. 375 นิวตัน 4. 450 นิวตัน วิธีทํา (ขอ 3) 52. วัตถุมวล 50 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือก ถาออกแรงดึงเพื่อให วัตถุ 50 kg ไถลไปตามพื้นราบ โดยทิศทางของเสนเชือก ทํามุม 30o ส.ป.ส แรงเสียดทานระหวางพื้นกับวัตถุมีคา 0.3 ตองออกแรงดึงเชือกเทาไร วัตถุจึงจะเริ่มเคลื่อน ( 147.67 N ) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 23
  • 24. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ตอนที่ 5 กฏแรงดึงดูดระหวางมวล เมื่อมวล 2 กอนอยูหางกันขนาดหนึ่ง มวลทั้งสองจะมีแรงดึงดูดกันเสมอ เราสามารถหาแรงดึงดูดระหวางมวล 2 กอนใดๆ ไดเสมอ จาก เมื่อ FG คือ แรงดึงดูดระหวางมวล (นิวตัน) m1 , m2 คือ ขนาดของมวลกอนที่ 1 และ กอนที่ 2 ตามลําดับ (กิโลกรัม) R คือ ระยะหางระหวางใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร) G คือ คานิจความโนมถวงสากล คือ 6.672 x 10–11 N⋅m2/kg2 53. ดาว A มีมวล 6 x 1020 กิโลกรัม มียานอวกาศมวล 5 x 102 กิโลกรัม โคจรอยูรอบเปน วงกลมรัศมี 5x107 กิโลเมตร ดาว A จะมีแรงดึงดูดยานอวกาศนี้เทาใด ( 8.01x10–9 N) วิธีทํา เราสามารถหาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงไดจาก g = Gm R2 เมื่อ g คือ ความเรงเนื่องจากแรงดึงดูด ณ จุดใด ๆ (m/s2) G คือ คานิจความโนมถวงสากลคือ 6.672 x 10–11N⋅m2/kg2 m คือ มวลดวงดาวนั้น ๆ (kg) R คือ ระยะจากใจกลางดวงดาวถึงจุดทีจะหาคา g ่ 24
  • 25. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 54. จงหาคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ.จุดที่หางจากใจกลางโลก 10000 กิโล- เมตร กําหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม (4 เมตร/วินาที2) วิธีทํา 55. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกสงขึ้นไปโคจรหางจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง นี้ จะมีคาความเรงเนื่องจากสนามความโนมถวงเปนเทาใด ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g ) 1. 1 g 9 1 2. 4 g 3. 1 g 3 4. 1 g (ขอ 1) 2 วิธีทํา 25
  • 26. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 56(En 30) ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลมากกวาโลก 2 เทา แตมีรัศมีเปนครึ่งหนึ่งของโลก จง หาคาความเรงเนื่องจากความโนมถวงที่ผิวของดาวเคราะหดวงนั้น ( ให ความเรงที่ผิวโลก = g ) 1 ก. 4 g ข. 2 g ค. 4 g ง. 8g (ขอ ง) วิธีทํา 57(En 27) ถามวลของดวงจันทรเปน 1/80 เทาของโลก และรัศมีเปน 1/4 เทาของรัศมีโลก ใหมวลโลกเปน M และรัศมีโลกเปน R G เปนคานิจความโนมถวงสากล วัตถุที่ตกอยาง อิสระบนดวงจันทรจะมีความเรงเทาใด ( g คือ ความเรงที่ผิวโลก ) ก. 4 g 1 ข. 1 g 5 ค. 1 g 6 ง. 20 g (ขอ ข) 1 วิธีทํา 26
  • 27. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 58. ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีเสนผาศูนยกลางหนึ่งในสามของเสนผานศูนยกลางของโลก และมี มวลหนึ่งในหกของมวลของโลก ชายผูหนึงหนัก 500 นิวตัน บนผิวโลก เขาจะหนักเทาใด ่ เมื่อขึ้นไปอยูบนดาวเคราะหดวงนี้ ( 750 N) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 6 จุดศูนยกลางมวล และ จุดศูนยถวง จุดศูนยกลางมวล (C.M.) คือ ตําแหนงซึ่งเปนที่รวมของ มวล ของวัตถุทั้งกอน จุดศูนยถวง (C.G.) คือ ตําแหนงซึ่งเปนทีรวมของ น้ําหนัก วัตถุทั้งกอน ่ สูตรหาจุดศูนยกลางมวล C.M. = ( X , Y ) MX MY เมื่อ X = ∑ M และ Y = ∑M ∑ ∑ สูตรหาจุดศูนยถวง C.G. = ( X , Y ) WX WY เมื่อ X = ∑ W และ Y = ∑W → ∑ ∑ 27
  • 28. Physics Online III http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 59. แผนพลาสติกบางเบารูปสี่เหลี่ยมจตุรส มีความ ั Y ยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 3 2 kg 3 kg และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มมทั้งสี่ดาน จงหาจุด ุ ศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 14 , 10) 1 kg 4 kg X วิธีทํา 60. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มี Y ความยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 2 kg 3 kg 10 kg 3 และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มุมทั้งสี่ดาน จงหาจุดศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 12 , 10) 4 kg X 1 kg วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 28