SlideShare a Scribd company logo
การใช้งาน MOODLE
คำนำ 
ปัจจุบันบทเรียนออนไลน์เป็นทีนิยมกนั อยางแพรหลายเนืองจากมีข้อดีสำห่่รับผู้สอนและผู้เรียน 
มากมาย ทั*งยังเป็นการส่งเสริมการศึกษาทั*งในระบบและนอกระบบ MOODLE เป็นเครืองมือหนึงที 
สนับสนุนการจัดทำการเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต ทีใช้ง่ายและตรงความต้องการของผู้ใช้มากทีสุด 
ในตอนนี* จึงเป็นสาเหตุในการจัดทำหนังสือคู่มือการใช้งาน MOODLE ขึ*น 
หนังสือคู่มือการใช้ MOODLE เป็นผลงานทีภูมิใจนำเสนอ เมือพูดถึงเครืองมือการทำเว็บไซต์ 
บทเรียนออนไลน์ในปัจจุบันไม่มีเครืองมือใดทีจะมีประสิทธิภาพและความยืดหยุ่นในการใช้งานเทียบเท่า 
โปรแกรมนี* คู่มือเล่มนี*เราได้นำเสนอในรูปแบบภาพสีทั*งเล่ม อ่านเข้าใจง่าย และใช้งานได้จริง จึงหวังว่า 
หนังสือเล่มนี*จะเป็นคู่มือทีจะช่วยให้ผู้อ่านสร้างบทเรียนออนไลน์ทีมีประโยชน์ต่อสังคมต่อไป 
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ 
เรือง หน้า 
บทที 1 การเตรียมความพร้อมในการใช้ MOODLE 
ประวัติความเป็นมาของ MOODLE 1 
ความหมายของ MOODLE 1 
คุณลักษณะการใช้งานของ MOODLE 2 
ประเภทการใช้งานของ MOODLE 5 
การติดตั*ง AppServ 7 
การติดตั*ง MOODLE 12 
บทที 2 การปรับแต่งหน้าหลักของเว็บไซต์ 
การเพิม เข้าสู่ระบบ 19 
การติดตั*ง Sidebar 22 
การเพิม Sidebar 32 
การเพิม ป้อนข้อมูลข่าวสารภายใน (RSS) 40 
การประกาศข่าว 46 
การจัดการปฏิทิน 50 
การเพิม Themes 54 
บทที 3 การจัดการกับรายวิชา 
การเพิม ประเภทวิชา 66 
การเพิม รายวิชา 71 
การเพิม ผู้สอน 74 
การเพิม ผู้เรียน 82
สารบัญ (ต่อ) 
เรือง หน้า 
บทที 4 การจัดการเรียนการสอน 
การเพิม Sidebar ในรายวิชา 93 
การเพิม กระดานเสวนา 110 
การเพิม บล็อก HTML 121 
การเพิม เนื*อหารายวิชา 127 
การเพิม การบ้าน 138 
การเพิม แบบทดสอบ 140 
การเพิม แบบประเมิน 144
1 
บทที 1 
การเตรียมความพร้อมในการใช้ MOODLE 
1.1 ประวัติความเป็นมาของ MOODLE 
Moodle เป็น Open Source Software เป็น Course Management System (CMS) 
โดยใช้ PHP และ Database MySQL ซึ/งพัฒนาขึ6นโดย โปรแกรมเมอร์ท/ีเคยใช้ WebTV 
เป็นชาวออสเตรเลีย Mr. Martin Dougiamas ศึกษาทางด้าน Computer Science and 
Education ในระดับปริญญาโท 
MOODLEได้เริ/มมีการทดลองใช้ในปี 1999 ต่อมาในปี2003 MOODLEได้จัดตั6งบริษัท 
MOODLE.COM เพ/ือให้บริการจัดตั6งไฟล์สนับสนุนช่วยเหลือในด้านการค้า จัดการ host และเป็นท/ีปรึกษา 
ด้าน Service 
ปัจจุบันมีผู้ใช้งาน MOODLE กว่า 50,000 รายใน 115 ประเทศ จากข้อมูลการ 
ลงทะเบียนผ่าน www.moodle.org และถูกแปลไปแล้วกว่า 60 ภาษา โดยในประเทศไทย 
MOODLE ถูกพัฒนาเป็นภาษาไทย โดย ดร. วิมลลักษณ์ สิงหนาท 
1.2 ความหมายของ MOODLE 
MOODLE ย่อมาจาก Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment ซึ/งเป็นโปรแกรมท/ี 
ช่วยในการจัดการเรียนการสอน (LMS)แบบออนไลน์ และเป็นระบบสนับสนุนการเรียนการสอนและ 
บริหารจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (CMS) ซึ/งเป็นซอฟแวร์ลักษณะ Open source หรือท/ีเรียกว่า 
ซอฟแวร์เสรีจึงไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั6งสิ6น ซึ/งสามารถนำมาติดตั6งได้ทั6งในระบบปฏิบัติการ Linux Unix และ 
Windows ซึ/งมีการทำงานในลักษณะ Web-Server และใช้งานฐานข้อมูล MySQL และใช้ PHP ในการเปิด 
โปรแกรม
2 
MOODLE เป็นซอฟต์แวร์สำหรับในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย (Web-based 
Instruction) กำหนดให้มีระบบการจัดการบทเรียน การรับรองกลุ่มผู้ใช้ 3 กลุ่ม คือ ผู้ดูแลระบบ ผู้สอน และ 
ผู้เรียน ช่วยให้การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอนผ่านเว็บไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสำหรับ 
สถาบันการศึกษา หรือครู เพ/ือใช้เตรียมแหล่งข้อมูล กิจกรรม และเผยแพร่แบบออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต 
สามารถนำไปใช้ได้ทั6งองค์กรระดับ มหาวิทยาลัย โรงเรียน สถาบัน หรือครูสอนพิเศษ 
จากการวิจัยพบว่าในประเทศไทยมีการใช้งานโปรแกรม MOODLE แล้วประมาณ 90 % โครงการ 
เก/ียวกับการศึกษา อาทิ โรงเรียนในโครงการโรงเรียนในฝันได้มีการจัดอบรมและเลือกใช้โปรแกรมดังกล่าว 
ใน 921 โรงเรียนในโครงการ รวมไปถึงโครงการ SEQIP ท/ีได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก ส่งเสริมให้ 
มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในประเทศไทย 
โดยมีโรงเรียนร่วมโครงการอีก 150 โรงเรียน 
MOODLE เป็นโปรแกรมเสรีภายใต้สัญญานุญาต GNU/GPL :ซึ/งสามารถนำมาใช้ได้โดยไม่ต้องเสีย 
ค่าใช้จ่ายในการจัดซื6อ เป็นโปรแกรมท/ีใช้งานง่ายและสะดวกต่อผู้ใช้เป็นอย่างยิ/ง เป็นโปรแกรมท/ีมีการ 
พัฒนาอย่างต่อเน/ือง 
นอกจากนี6ด้วยคุณสมบัติของระบบการจัดการคอร์สของ Moodle จึงทำให้ MOODLE สามารถนำไป 
ประยุกต์ใช้ในงานหลายแขนง ไม่ว่าจะเป็น e-Traning, e-Office หรือนำไปสู่การใช้งานในระดับบริหาร 
จัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ขององค์กรในที/สุด 
1.3 คุณลักษณะการใช้งานของ MOODLE 
1.3.1 MOODLE สารมารถแบ่งระบบการใช้งานออกเป็น 3 ส่วนคือ 
 ระบบจัดการผู้ใช้ คือ การจัดการด้านข้อมูลของผู้ใช้งาน โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม 
คือ ผู้ดูแลระบบ ผู้สอน ผู้เรียน สามารถกำหนดสิทธิsของผู้ใช้แต่ละคนในการใช้งาน การจัด 
กลุ่มการเรียนของผู้เรียน บันทึกข้อมูลของผู้เรียน วัน เวลา จำนวนครั6งในการใช้งาน 
กิจกรรมท/ีผู้เรียนทำในแต่ละครั6ง เป็นต้น
3 
 ระบบจัดการการเรียน คือ การจัดการด้านข้อมูล เนื6อหาการเรียน และกิจกรรมในการเรียน 
เช่น การสร้างรายวิชา สร้างบทเรียนบน MOODLE การ Upload file กำหนดระยะเวลาใน 
การเรียน กำหนดวิธีการเรียน กิจกรรมในการเรียนการสอน การสั/งงานและการส่งงาน การ 
วัดและประเมินผล การสร้างข้อสอบ ซึ/งสามารถสร้างได้ถึง 9 ประเภท คือ ปรนัย ถูกผิด 
อัตนัย เติมคำตอบด้วยตัวเลข คำนวณ จับคู่ คำอธิบาย สุ่มสร้างคำถามจับคู่จากอัตนัย เติมคำ 
ในช่องว่าง และช่วยในการเรียน เช่น อภิธานศัพท์, การ Search หาข้อมูล, แหล่งข้อมูล 
เพิม/เติม เป็นต้น 
 ระบบจัดการการส/ือสาร คือ เคร/ืองมือด้านการส/ือสารท/ีมีอยู่ในระบบของ MOODLE มี 
หลายรูปแบบเพ/ือให้เกิดการส/ือสารท/ีมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับ 
ผู้เรียน และผู้สอนกับผู้สอนด้วยกันเอง เช่น การChat, Web-boards สามารถใช้ได้ใน 3 
ลักษณะ คือ 1. เพ/ือประกาศข่าวสาร 2. ใช้เพ/ือการอภิปรายในประเด็นต่างๆ 3. ใช้เพ/ือเป็น 
เคร/ืองมือในการถามตอบ, E-mail ผู้ใช้สามารถส่ง E-mail ถึงกันได้ผ่านระบบของ 
MOODLE 
1.3.2 ความสามารถของ MOODLE 
เป็นโปรแกรมจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประเภทฟรีแวร์ ท/ี 
ได้รับการยอมรับกันทัว/โลก 
สามารถเป็นได้ทั6ง CMS (Course Management System) และ LMS (Learning 
Management System) ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื6อหา ของผู้สอน พร้อม 
บริการให้นักเรียนเข้ามาศึกษา และบันทึกกิจกรรมของนักเรียน 
สามารถสร้างแหล่งข้อมูลใหม่ หรือเผยแพร่เอกสารท/ีทำไว้ เช่น Microsoft Office, Web 
Page, PDF หรือ Image เป็นต้น ใจกว้าง ไม่หวงวิชา มีเอกสารท/ีเคยรวบรวมไว้ ก็ส่งเข้าไป 
เผยแพร่ได้โดยง่าย
4 
มีระบบติดตอสื/อสาร ระหวางนักเรียน เพื/อนร่่่วมชั6น และผู้สอน เช่น chat หรือ webboard 
เป็นต้น นักเรียนฝากคำถาม ครูทิ6งคำถามไว้ ครูนัดสนทนาแบบออนไลน์ ครูนัดสอนเสริม 
หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อน เข้าเรียน ก็ได้ 
มีระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ท/ีรองรับระบบ ให้คะแนนท/ีหลากหลาย ให้ 
ส่งงาน ให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแล้ว export ไป excel 
สำรองข้อมูลเป็น . zip แฟ้มเดียว ในอนาคตสามารถนำไปกู้คืน ลงไปในเคร/ืองใดก็ได้ 
ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใช้ MOODLE 
1.3.3 องค์ประกอบของ MOODLE ที/โรงเรียนควรมี 
มี Web Browser เช่น Internet explorer ในการติดต่อกับ MOODLE ทั6งโดยครูผู้สอนและ 
นักเรียน 
มี Web Server ที/ให้บริการ php และ mysql 
มี ผู้ติดตั6ง ผู้ดูแล และบำรุงรักษา ควรทำโดยนักคอมพิวเตอร์ ท/ีท/ีมีประสบการณ์ เก/ียวกับ 
การติดตั6ง การบำรุงรักษา และการเขียนเว็บ 
มี ครู นักเรียน และผู้บริหาร ท/ียอมรับในเทคโนโลยีสมัยใหม่ ดังนั6น MOODLE ไม่เหมาะ 
กับเด็กอนุบาล หรือครูท/ีไม่มีไฟ 
มี การเช/ือมต่อเป็นระบบเครือข่าย เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ( LAN) 
1.3.4 ผู้ท/ีเก/ียวข้องกับ MOODLE 
 ผู้ดูแลระบบ (Admin) : ติดตั6งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ/มต้น และกำหนด สิทธ์การเป็น 
ครูผู้สอน 
 ผู้สอน ( Teacher) : เพิ/มแหล่งข้อมูล เพิ/มกิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน 
ตอบคำถาม และติดต่อส/ือสาร
5 
 ผู้เรียน ( Student) : เข้าศึกษาแหลงข้อมูล และทำ่กิจกรรม ตามแผนการสอน 
 ผู้เยย/ีมชม ( Guest) : เข้าเรียนได้เฉพาะวิชาท/ีอนุญาต และจำกัดสิทธ์ ในการทำกิจกรรม 
1.4 ประเภทการใช้งานของ MOODLE 
1.4.1 กิจกรรม ของ MOODLE 
 SCORM ( แหล่งข้อมูล ท/ีรวม Content จากภายนอก ท/ีเป็นมาตรฐาน) 
 Wiki ( สารานุกรม ท/ียอมให้ผู้เรียนเข้ามาแก้ไข) 
 อภิธานศัพท์ ( Glossary : รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้) 
 ห้องสนทนา ( Chat : ห้องท/ีสามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู และนักเรียน) 
 กระดานเสวนา ( Forum : กระดานให้ครู และนักเรียนเข้ามาฝากความคิดเห็น) 
 การบ้าน ( Assignment : ที/นักเรียนพิมพ์งานแล้วนำมา 
 ห้องปฏิบัติการ ( Workshop : ท/ีนักเรียนทำงาน แล้วส่ง ซึ/งประเมินได้หลายแบบ) 
 ป้ายประกาศ ( Label : แสดงข้อความ เพื/อประกาศให้ทราบ) 
 แบบทดสอบ ( Quiz : สร้างคลังข้อสอบ แล้วเลือกมาให้ทำบางส่วน ระบบสามารถ ทำ 
อัตโนมัติ) 
 โพลล์ ( Poll : แสดงความคิดเห็นตามตัวเลือก) 
 แหล่งข้อมูล ( Resources : text, html, upload, weblink, webpage, program) 
1.4.2 กิจกรรมของครูผู้สอน 
สมัครสมาชิกด้วยตนเอง และรอผู้ดูแล อนุมัติ ให้เป็นผู้สอน หรือผู้สร้างคอร์ส
6 
ผู้สอนสร้างและกาหนดลักษณะของรูํปแบบบทเรียนด้วยตนเอง 
เพิม/ เอกสาร บทเรียน และลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม 
ประกาศข่าวสาร หรือนัดสนทนา กับนักเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต 
สามารถสำรองข้อมูลในวิชา เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้ 
สามารถกู้คืนข้อมูลท/ีเคยสำรองไว้ หรือนำไปใช้ในเคร/ืองอ/ืน 
สามารถดาวน์โหลดคะแนนนักเรียนท/ีถูกบันทึกจากการทำกิจกรรม ไปใช้ใน Excel 
กำหนดกลุ่มนักเรียน เพ/ือสะดวกในการจัดการนักเรียนจำนวนมาก 
สัง/ยกเลิกการเป็นสมาชิกในวิชา ของนักเรียนท/ีมีความประพฤติ ไม่เหมาะสม 
ตรวจสอบกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคน เช่น ความถ/ีในการอ่าน แต่ละบท 
เพิม/รายการนัดหมาย หรือกิจกรรม แสดงด้วยปฏิทิน 
สร้างเนื6อหาใน SCORM หรือสร้างข้อสอบแบบ GIFT แล้วนำเข้าได้ 
1.4.3 กิจกรรมของผู้เรียน 
สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเอง 
รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง 
อ่านเอกสาร หรือบทเรียน ท/ีผู้สอนกำหนดให้เข้าไปศึกษา ตามช่วงเวลาท/ีเหมาะสม 
ฝากคำถาม หรือข้อคิดเห็น หรือนัดสนทนาระหว่างเพ/ือน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 
ทำกิจกรรมตามท/ีได้รับมอบหมาย เช่น ทำแบบฝึกหัด หรือส่งการบ้าน แก้ไขข้อมูล ส่วนตัว 
ของตนเองได้ อ่านประวัติของครู เพอ/ืนนักเรียนในชั6น หรือในกลุ่ม 
ดูผลการทำกิจกรรมต่างๆ
7 
1.5 การติดตั0ง AppServ 
1.5.1 ดาวน์โหลดโปรแกรม AppServ จากเว็บไซต์ http://www.appservnetwork.com โดยเลือกเวอร์ 
ชัน/ท/ีต้องการติดตั6ง 
ภาพท/ี 1.1 แสดงหน้าต่างเว็บไซต์เพ/ือดาวน์โหลดโปรแกรม 
1.5.2 ดับเบิ6ลคลิกท/ีไฟล์ appserv-win32-x.x.x.exe เพ/ือทำการติดตั6งโปรแกรม จะปรากฏหน้าจอตาม 
ภาพที/ 1.2 
ภาพท/ี 1.2 ขั6นตอนการติดตั6งโปรแกรม AppServ
8 
1.5.3 หน้าจอการติดตังโปรแกรมจะแสดงเงื/อนไขการใช้งานของโปรแกร6มหากยอมรับเง/ือนไขให้ 
กด ปุ่ม I Agree ตามภาพท/ี 1.3 เพ/ือเข้าสู่การติดตั6งในขั6นตอนต่อไป 
ภาพที/ 1.3 แสดงรายละเอียดเงื/อนไขของโปรแกรม 
1.5.4 ขั6นตอนการเลือกปลายทางท/ีต้องการติดตั6ง สามารถเลือกปลายทางท/ีต้องการติดตั6งโดยการ 
คลิกท/ีปุ่ม Browse แล้วเลือกปลายทางท/ีต้องการ โดยในท/ีนี6ตั6งค่าปลายทางท/ีจะติดตั6งเป็น C:AppServ เม/ือ 
เลือกปลายทางเสร็จสิ6น ให้กดปุ่ม Next ตามภาพท/ี 1.4 เพ/ือเข้าสู่ขั6นตอนการติดตั6งต่อไป 
ภาพท/ี 1.4 หน้าต่างการเลือกปลายทางการติดตั6งโปรแกรม
9 
1.5.5 เลือก Package Components ท/ีต้องการติดตั6ง โดยปกติค่าเริ/มต้นนั6นจะให้เลือกลงทุก Package 
ตามภาพท/ี 1.5 โดยรายละเอียดแต่ละ Package มีดังนี6 
- Apache HTTP Server คือ โปรแกรมที/ทำหน้าเป็น Web Server 
- MySQL Database คือ โปรแกรมที/ทำหน้าเป็น Database Server 
- PHP Hypertext Preprocessor คือ โปรแกรมที/ทำหน้าประมวลผลการทำงานของภาษา PHP 
- phpMyAdmin คือ โปรแกรมท/ีใช้ในการบริหารจัดการฐานข้อมูล MySQL ผ่านเว็บไซต์ 
เม/ือทำการเลือก Package ท/ีต้องการเป็นท/ีเรียบร้อยแล้วให้กดปุ่ม Next เพ/ือเข้าสู่ขั6นตอนการติดตั6งต่อไป 
ภาพท/ี 1.5 หน้าต่างการเลือก Package Components ท/ีต้องการติดตั6ง
10 
1.5.6 ขั6นตอนการกำหนดค่า คอนฟิกของ Apache Web Server ตามภาพท/ี 1.6 ซึ/งมีอยู่ 3 ส่วนคือ 
Server Name คือช่องสำหรับป้อนข้อมูลช/ือ Web Server ของท่าน ในท/ีนี6ใส่ localhost 
Admin Email คือช่องสำหรับป้อนข้อมูล อีเมล์ผู้ดูแลระบบ 
HTTP Port คือช่องสำหรับระบุ Port ท/ีจะเรียกใช้งาน Apache Web Server 
Protocol HTTP โดยทัว/ไปแล้วมีค่าหลักคือ 80 
ภาพท/ี 1.6 หน้าต่างแสดงการกำหนดค่าคอนฟิกค่า Apache Web Server 
1.5.7 ขั6นตอนการกำหนดค่าคอนฟิกของ MySQL Database ตามภาพท/ี 1.7 มี 3 ส่วนคือ 
Root Password คือช่องสำหรับป้อน รหัสผ่านการเข้าใช้งานฐานข้อมูลของ Root 
Character Sets ใช้ในการกำหนดค่าระบบภาษาท/ีใช้ในการจัดเก็บฐานข้อมูล ให้เลือก 
TIS602 Thai 
ภาพท/ี 1.7 แสดงการกำหนดค่าคอนฟิกของ MySQL Database
11 
1.5.8 ขันตอนสุดท้า6ยของการติดตั6งโปรแกรม AppServ ตามภาพท/ี 1.8 ผู้ใช้จะต้องเลือกว่าต้องการ 
ให้มีการรัน Apache และ MySQL ทันทีหรือไม่ จากนั6นให้กดปุ่ม Finish เพ/ือเสร็จสิ6นการติดตั6งโปรแกรม 
AppServ 
ภาพท/ี 1.8 หน้าต่างแสดงขั6นตอนสิ6นสุดการติดตั6งโปรแกรม AppServ
12 
1.6 การติดตั0ง MOODLE 
1.6.1 เปิดหน้า Internet Explorer แล้วพิมพ์ http://localhost/ ตามภาพที/ 1.9 
ภาพที/ 1.9 หน้าจอแสดงการจัดการฐานข้อมูล 
1.6.2 เริ/มการติดตั6ง Moodle โดยพิมพ์ Moodle ต่อจาก http://localhost ตามภาพท/ี 1.10 เพ/ือเข้าสู่ 
หน้าต่างการติดตั6งโปรแกรม จากนั6นคลิก Next 
ภาพท/ี 1.10 แสดงหน้าต่างเริ/มต้นการติดตั6งโปรแกรม
13 
1.6.3 โปรแกรมจะแสดงหน้าตางรายงานการ่ตรวจสอบการตั6งค่าภาษา php ว่าตั6งค่าต่างๆไว้ถูกต้อง 
หรือไม่ จากนั6นกดปุ่ม Next 
ภาพท/ี 1.11 หน้าต่างแสดงการตรวจสอบการตั6งค่า 
1.6.4 โปรแกรมแสดงหน้าต่างรายงานพาทเรียกใช้งานและท/ีเก็บตัวติดตั6งโปรแกรม ผู้ติดตั6งต้องใส่ 
ข้อมูล 3 ส่วนดังภาพท/ี 1.12 
Web address ท/ีอยู่ของเว็บไซต์ท/ีจะนำ Moodle ไปใช้ ในท/ีนี6ให้ใส่ http://localhost/moodle 
Moodle Directory ให้ระบุพาทของไดเรกทอร/ีเต็มๆท/ีใช้ในการติดตั6ง 
Data Directory ไดเรกทอร/ีข้อมูล ไดเรกทอร/ีนี6จะเป็นท/ีเก็บไฟล์ท/ี moodle จะทำการบันทึกไว้เป็น 
ข้อมูลของเว็บ 
ภาพท/ี 1.12 หน้าต่างแสดงการยืนยันท/ีตั6งของการติดตั6ง MOODLE
14 
1.6.5 ขันตอนการตังคาฐานข้อมูลที/ใช้66่ในการเก็บข้อมูลของ MOODLE ผู้ติดต6ังจะต้องกำหนด 
รายละเอียดดังนี6 
Type ประเภทฐานข้อมูลท/ีใช้ ในท/ีนี6ใช้ mySQL 
host server ช/ือโฮส ในท/ีนี6ใส่เป็น localhost 
Database ใส่ช/ือฐานข้อมูลท/ีสร้างไว้ (จะต้องมีการสร้างไว้แล้วล่วงหน้า) ในท/ีนี6ใส่เป็นMOODLE 
user ชื/อสมาชิก 
password รหัสผ่าน 
Tables prefix คำนำหน้าตาราง 
ภาพท/ี 1.13 แสดงหน้าต่างกำหนดรายละเอียดฐานข้อมูล 
1.6.6 หน้าต่างแสดงการรายงานของระบบ กดปุ่ม Next เพ/ือไปสู่ขั6นตอนต่อไป 
ภาพท/ี 1.14 แสดงหน้าต่างการรายงานของระบบ
15 
1.6.7 ขันตอนการรายงานการดาวน์โหลดชุดภา6ษาเรียบร้อย ให้กดปุ่ม Next เพ/ือไปสู่ขั6นตอนถัดไป 
ภาพท/ี 1.15 แสดงหน้าต่างการรายงานการดาวน์โหลดภาษา 
1.6.8 ระบบจะทำการสร้างไฟล์สำหรับเก็บค่าคอนฟิก คลิกปุ่ม Continue เพ/ือไปสู่ขั6นตอนถัดไป 
ภาพท/ี 1.16 แสดงหน้าต่างการรายงานการสร้างไฟล์
16 
1.6.9 ระบบรายงานเกยวก/ีับลิขสิทธิsของโปรแกรม Moodle ถ้าเข้าใจข้อตกลงให้คลิกปุ่ม Yes 
ภาพท/ี 1.17 แสดงหน้าต่างการรายงานลิขสิทธิs 
1.6.10 ระบบจะรายงานการสร้างตารางข้อมูลต่างๆลงฐานข้อมูล ให้คลิกปุ่ม Continue เพ/ือไปสู่ 
ขั6นตอนถัดไป 
ภาพท/ี 1.18 แสดงหน้าต่างการรายงานการสร้างตารางข้อมูล
17 
1.6.11 ให้ผู้ติดตังกาหนดรายละเอียด6ํส่วนตัวของผู้ดูแลระบบ แล้วกดปุ่ม update profit 
ภาพท/ี 1.19 แสดงหน้าต่างการกำหนดรายระเอียดของผู้ติดตั6งระบบ 
1.6.12 การตั6งค่าเว็บไซต์ ในหน้านี6ผู้ติดตั6งสามารถกำหนดรูปแบบและเง/ือนไขของเว็บไซต์ได้ และ 
สามารถเปล/ียนแปลงภายหลังได้ จากนั6นกดปุ่ม save change 
ภาพท/ี 1.20 แสดงหน้าต่างการกำหนดเล/ือนไขของเว็บไซต์
18 
1.6.13 เข้าสู่หน้าเว็บไซต์ท/ีทำการติดตั6งในหน้าเริ/มต้น 
ภาพท/ี 1.21 แสดงหน้าต่างเว็บไซต์ท/ีสร้างขึ6น
19 
บทที 2 
การปรับแต่งหน้าหลักของเว็บไซต์ 
2.1 การเพมิเข้าสู่ระบบ ( Log in ) 
2.1.1 การเพิ/มผู้เรียนเข้าสู่ระบบสามารถทำได้โดยการเปิด internet explorer ขึ6นมาและพิมพ์ช/ือเว็บ 
บทเรียนออนไลน์ของท่านท/ีช่อง URL ของหน้า internet explorer ในท/ีนี6ใช้ช/ือเว็บ 
http://www.cs.ssru.ac.th/wasugree ในการแสดงตัวอย่าง หลังจากนั6นให้ admin เข้าสู่ระบบ และคลิกท/ีปุ่ม 
เริ/มการแก้ไขหน้านี6 
ภาพท/ี 2.1 แสดงหน้าต่างเริ/มการแก้ไขในหน้าเว็บไซต์ 
คลิกท/ีปุ่มเริ/มการ 
แก้ไขหน้านี6 
ใส่ท/ีอยู่เว็บไซต์
20 
2.1.2 ไปที/บล็อก คลิกที/ลูกศรที/มีคำวา‚่เพ/ิม เลือกเข้าสู่ระบบ ดังภาพท/ี 2.2 
ภาพท/ี 2.2 แสดงบล็อกเพิม/เข้าสู่ระบบ 
2.1.3 ระบบจะเพิม/ “บล็อกเข้าสู่ระบบ” ดังภาพ 
ภาพท/ี 2.3 แสดงบล็อกเข้าสู่ระบบ
21 
2.1.4 ย้ายบล็อกไปวางตำแหนงที/เหมาะสม สวนใหญจะแสดงที/่่่ตำแหน่งมุมขวาด้านบน วิธีการย้าย 
คลิ‚กท/ีลูกศรสีดำจะปรากฏคำว่าเล/ือนขึ6น กดย้ายไปท/ีตามต้องการ 
ภาพท/ี 2.4 แสดงเคร/ืองมือย้ายตำแหน่งของบล็อก 
2.1.5 ระบบจะแสดงตำแหน่งท/ีได้คลิ‚กให้เล/ือนขึ6นไปอยู่บนสุด ดังภาพตัวอย่าง 
2.1.6 จบวิธีการเพิม/บล็อก เข้าสู่ระบบ 
คลิ‚กท/ีลูกศรเพ/ือปรับแต่งตำแหน่งตาม 
ความเหมาะสม 
ตำแหน่งท/ี 
เลื/อนไว้ตามที/
22 
2.2 การติดตั0ง Sidebar 
2.2.1 เปิด internet explorer พิมพ์ www.moodle.org ระบบจะแสดงหน้าต่างดังนี6 
ภาพท/ี 2.5 ภาพแสดงหน้าต่างเว็บไซต์ www.MOODLE.org 
2.2.2 คลิ‚กเลือกท/ี Modules and plugins 
Modules and 
plugins
23 
2.2.3 พิมพ์คำว่า side bar ท/ีช่องค้นหา และกด enter 
2.2.4 คลิ‚กซ้ายท/ี side bar block 
พิมพ์ตรงนี6 เพ/ือ 
ค้นหา 
คลิ‚กตรงนี6
24 
2.2.5 ระบบจะแสดงผลหน้าจอดังนี6 
2.2.6 คลิกซ้ายที/ Download latest version
25 
2.2.7 ระบบจะแสดงผลดังหน้าจอที/ปรากฏดังรูป ให้นำเมาส์ไปที/แถบเครื/องมือป้องกันการติดตั6ง 
ระบบอัตโนมัติ คลิ‚กซ้ายและให้กดคำว่า download file 
2.2.8 คลิกที/ Save 
คลิ‚กซ้าย เลือกข้อความ 
คลิ‚กท/ีน/ี
26 
2.2.9 เลือก save ไว้ใน file ที/เราต้องการ save 
2.2.10 ให้คลิ‚กท/ี open และทำการแยกไฟล์ โดยการ extract here
27 
2.2.11 ให้ทำการติดตั6ง turbo ftp โดยการเปิด internet explorer และเข้าไปท/ีเว็บไซด์ 
http://www.cs.ssru.ac.th/innovation และทำการดาวโหลดโปรแกรม turbo ftp 
2.2.12 ให้ทำการ save file ตามใจคุณ 
โปรแกรม turbo ftp
28 
2.2.13 ให้ทำการเปิด file โดยคลิ‚กท/ี open และทำการแยกไฟล์ โดยการ extract here และทำการติดตั6ง 
โปรแกรม 
2.2.14 เปิดโปรแกรม turbo ftp ขึ6นมาระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6 ให้ทำการให้ข้อความท/ีช่อง server – 
login - password – port และระบบจะเริ/มทำการเข้าสู่ระบบ 
1.ช่อง server ใส่ช/ือเว็บ 
2.ช่อง User 
ใส่ช/ือผู้ใช้ 
3.ช่องPassword ใส่รหัสผ่าน
29 
2.2.15 ให้คลิ‚กท/ีช่องด้านซ้ายเลือก fileท/ีเรา save ไว้ เช่น desktop และเลือก side bar ท/ีเป็น folder และ 
คลิ‚กซ้ายค้างดึงมาใส่ในช่องขาวมือ ก่อนท/ีจะนำมาใส่ในช่องขวามือ ต้องทำการ ดับเบิ6ลคลิ‚กท/ี ไฟล์ blocks 
ก่อนและ ดึงไฟล์ side bar มาใส่ไว้ในท/ีว่าง รอคอมพิวเตอร์ประมวลผล ก็จบขั6นตอน 
ระบบประมวลผล 
เรียบร้อย ดังภาพ 
1.เลือกไฟล์ที/ 
บันทึกไว้ตอนแรก 
3.เลือก Side barคลิ‚ก 
เมาส์ซ้ายค้างและดึงมา 
ใส่ช่องทางขวามือ ใน 
ท/ีว่าง 
2.ดับเบิ6ลคลิกเลือก 
คำว่า บล็อค
30 
2.2.16 ให้เข้าไปที/ เว็บเว็บไซด์ ที/เราใส่ชื/อไว้ที/ server และจะเห็นคำว่า บล็อค และจะมีคำ 
ว่าเพิม/ ให้ทำการเลือก side bar 
คำว่าบล็อค อยู่ด้านบน 
และกดที/ลูกศรเลือก 
Side bar
31 
2.2.17 ระบบจะปรากฏดังนี6 เป็นอันว่าเสร็จ 
จะเห็นว่ามี 
บล็อก Side 
bar ขึ6นมา
32 
2.3 การเพิม Sidebar 
2.3.1 เปิด Internet Explorer พิมพ์เข้าไปที/เว็บ http://www.cs.ssru.ac.th/wasugree 
2.3.2 ทำการ login เข้าสู่ระบบ ตัวอย่างเช่น
33 
2.3.3 ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6 เม/ือภาพขึ6นมา ให้ให้คลิ‚กซ้ายท/ี เริ/มการแก้ไขในหน้านี6 
2.3.4 หน้าจอจะแสดงผลดังนี6 ให้เล/ือนลงมาด้านล่างขวามือจะเจอคำว่า Side bar 
Side bar
34 
2.3.5 ให้กดที/ลูกศร เลือก ไฟล์หรือเว็บไซด์ 
2.3.6 ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6
35 
2.3.7 จากนั6นให้ใส่ข้อความท/ีกล่องข้อความ 
2.3.7.1 ช/ือ ตัวอย่างเช่น วิชาฟุตบอล 
2.3.7.2 เปิด Internet Explorer ขึ6นมาไปท/ีเว็บไซด์ Google พิมพ์ข้อมูลท/ีต้องการค้นหา วิชา 
ฟุตบอล 
วิชาฟุตบอล
36 
2.3.7.3 หน้าจอจะแสดงผลดังนี และ6ให้เลือกข้อมูลมาหนึ/งข้อมูล 
2.3.7.4 ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6
37 
2.3.7.5 ให้ทำ การ copy เว็บไซด์ 
2.3.7.6 ให้ทำการ วาง โดยการคลิ‚กขวา 
วางตรงนี6 นะครับ
38 
2.3.7.7 เลือกหน้าต่างใหม่ 
2.3.7.8 คลิ‚กซ้ายท/ี Save and return to course
39 
2.3.8 ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6 
2.3.9 ให้คลิ‚กซ้ายท/ีวิชาฟุตบอล ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6 เป็นอันว่าเสร็จขั6นตอน
40 
2.4 การเพิม ป้อนข้อมูลข่าวสารภายใน (RSS) 
RSS ย่อมาจาก Really Simple Syndication หรือ Rich Site Summary เป็นรูปแบบการนำเสนอ 
ข่าวหรือบทความให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน xml โดยนำข่าวมาแสดงเฉพาะหัวข้อ และสามารถคลิกดู 
รายละเอียดของข่าวจากเว็บไซต์ต้นฉบับนั6นได้อีกทั6งเม/ือข่าวถูกupdate จากเว็บไซต์ต้นฉบับ หน้าเว็บไซต์ท/ี 
ดึงข่าวมาแสดงจะ update ข่าวตามเว็บไซต์ต้นฉบับนั6นโดยอัตโนมัติ 
ประโยชน์ของ RSS 
1. ลดข้อจำกัดในการคัดลอกข้อมูลในเว็บไซต์ เพราะข้อมูลมาจากแหล่งเดียวกัน 
2. ผู้สร้างเว็บไซต์ไม่ต้องทำหน้าแสดงผลข่าว เพราะสามารถดึงข่าวมาได้โดยอัตโนมัติ 
3. ผู้ใช้ทัว/ไป ไม่ต้องเข้าไปท/ีหลาย ๆ เว็บไซต์เพ/ือดูข่าวใหม่ ๆ เพราะข้อมูลท/ีถูก update จากเว็บต้นฉบับนั6น 
จะถูกดึงมาแสดงที/หน้าเว็บไซต์ที/แสดงผลโดยอัตโนมัติ 
2.4.1 มาเพิม/ท/ีบล็อค 
2.4.2 แล้วหน้าจอจะออกมาในลักษณะนี6 
เลือกตรงนี6 
เลือกป้อนข้อมูล 
ข่าวสารภายใน
41 
2.4.3 จะได้บล็อกใหม่ 
2.4.4 จะได้หน้านี6 
เลือกแก้ไข 
เลือกจัดการป้อนข่าว
42 
2.4.5 จะได้หน้านี6 
ใส่หัวข้อข่าวของ 
www. 
2.4.6 อาจจะหาข่าวจาก www.Manager.co.th ท/ีมี RSS อยู่ 
ตัวอย่างเช่น 
ใส่ช/ือ www. ท/ีต้องการ 
คลิกที/ RSS 
เลือกเพิม/
43 
2.4.7 จะได้หน้านี6 
2.6.8 มาใส่ในหน้านี6 
ให้ COPY www.ในส่วนนี6ไปใส่ ช่องลิงก์ URL ของ 
แหล่งข่าวข้อมูล ในตั6งค่าบล็อคข้อมูลข่าวสารภายใน 
www. ที/หามาได้ 
หัวข้อข่าว 
เลือก
44 
2.4.9 จะได้หน้านี6 
2.4.10 จะได้หน้านี6 
แหล่งข่าวจะเพิม/เข้ามา 
เลือกท/ี ตั6งค่าบล็อค 
เลือกตรงนี6 
ใส่ช/ือหัวข้อข่าว 
เลือกบันทึกการเปลี/ยนแปลง
45 
2.4.11 และจะได้บล็อกข่าวสารภายใน RSS ดังนี6 
จบการเพมิการป้อนข้อมูลข่าวสารภายใน (RSS)
46 
2.5 การประกาศข่าว 
เลือกตั6งหัวข้อใหม่
47 
ใส่เนื6อหารายละเอียด 
การประกาศข่าวสาร 
จะได้หน้านี6 
ใส่หัวข้อข่าว 
แนบไฟล์ต่างๆหรือรูปภาพ 
เลือกโพสต์ลงกระดานเสวนา
48 
ตัวอย่างเช่น 
หัวข้อข่าว 
เนื6อหาข่าว
49 
จะได้หน้านี6 
เลือกโพสต์ลงกระดานเสวนา 
จบเพิมการประกาศข่าว
50 
2.5 การจัดการปฏิทิน 
บล็อกปฏิทิน เป็นการแสดงปฏิทินและยังใช้เป็นปฏิทินกจกรรมได้อีกด้ิวย โดยจะแสดงให้เห็น 
กิจกรรมต่าง ๆ ท/ีเรากำหนดไว้ 
2.5.1 เข้าไปท/ีเว็บไซด์ของเรา (ในท/ีนี6จะยกตัวอย่างมา 1 เว็บไซด์) เล/ือนหาปฏิทิน เม/ือได้แล้วคลิก 
เลือกที/เดือนในปฏิทิน 
2.5.2 พอออกมาเป็นหน้านี6 ให้คลิกท/ีกิจกรรมใหม่
51 
2.5.3 จากนันดูที/ประเภทของกจกรรมให้คลิกเลือกที/กจกรรมของเว็บ6ิิไซด์ แล้วคลิกเลือกท/ี 
เรียบร้อย 
2.5.4 จากนั6นจะออกมาเป็นหน้านี6
52 
2.5.5 จากนันให้ใสชื/อของกจกรรมที/ต้องการให้ทำ ใสคำอธิบายวา6ิ่่่ต้องการจะให้ทำอะไร ใส่ 
วันท/ีท/ีต้องการให้ทำกิจกรรม ใส่ระยะเวลาว่าจะระบุช่วงระยะเวลาหรือไม่ระบุ และให้ใส่ลงไปว่าจะให้ 
กิจกรรมนี6จัดซ6ำหรือไม่ สร้างพร้อมกันก/ีกิจกรรม หลังจากนั6นเสร็จแล้วคลิกเลือกท/ีบันทึกการเปล/ียนแปลง 
2.5.6 ในท/ีนี6จะยกตัวอย่างให้เห็นชัด 1 กิจกรรมคือกิจกรรม “ท่อง A-Z หลังเลิกเรียน” ตรงช่อง 
ช/ือของกิจกรรมก็จะใส่คำว่าท่อง A-Z และคำศัพท์ภาษาอังกฤษหลังเลิกเรียน จากนั6นใส่คำอธิบายลงไปว่า 
ให้นักเรียนทุกคนท่อง A-Z และคำศัพท์ภาษาอังกฤษหลังเลิกเรียนก่อนกลับบ้าน ลงวันท/ี 29 กันยายน 2551 
เวลา 15.30 น. ใส่ระยะเวลาเป็น 5 นาที ไม่มีการจัดซ6ำ ก็จะออกมาเป็นในลักษณะแบบนี6
53 
2.5.7 ถ้าต้องการจะสร้างกจกรรมใหม ให้เข้าไปที/กจกรรมใหมอีกครัิิ่่6งแล้วทำขั6นตอนต่าง ๆ 
เหมือนเดิม ถ้าต้องการลบกิจกรรมก็สามารถเข้าไปลบได้โดยคลิกเลือกท/ีเคร/ืองหมายกากบาทสีแดง เข้าไป 
ยืนยันการลบ จากนั6นก็เสร็จสิ6นการทำการจัดการปฏิทิน
54 
2.6 การเพิม Themes 
2.6.1 เม/ือต้องการเพิม/ Themes ให้เข้าไปเลือก Themes ท/ีต้องการจะเพิม/ก่อน โดยคลิกเข้าไปท/ีเว็บ 
ไซด์ www.moodle.org พอคลิกเข้าไปแล้วก็จะออกมาเป็นหน้านี6 จากนั6นคลิกเข้าไปท/ี Themes 
2.6.2 พอคลิกเข้าไปก็จะออกมาเป็นหน้านี6 ให้คลิกเข้าไปเลือก Download เพ/ือ Download Themes ท/ี 
ต้องการ (ในท/ีนี6จะยกตัวอย่าง Themes ท/ีช/ือ ability to lean) ให้คลิกเข้าไปท/ี Download
55 
2.6.3 จากนันกจะออกมาเป็นหน้านี แล้6็6วให้คลิกเข้าไปท/ี Download อีกครั6ง 
2.6.4 พอออกมาเป็นหน้านี6แล้ว ให้คลิกท/ี Save เพ/ือบันทึก Themes ท/ีดาวน์โหลดมา
56 
2.6.5 พอคลิก Save Themes ที/ดาวน์โหลดมาแล้ว ให้ดูตรงที/ Save in ให้คลิกเลือกเข้าไปว่าจะ Save 
ไว้ท/ีไหน (ในท/ีนี6จะเลือก Save ไว้ท/ี Desktop) จากนั6นเลือก Save 
2.6.6 จากนั6นคลิกเลือกท/ี Close เพ/ือปิดการ Save Themes ออกไป
57 
2.6.7 จากนั6นคลิกปิดหน้าต่างเว็บไซด์ moodle ออกไป แล้วไปเปิดไฟล์ท/ีเรา Save Themes เอาไว้ 
(ซึ/งในท/ีนี6 Save Themes ไว้บน Desktop) ก็จะออกมาเป็นหน้านี6 
2.6.8 คลิกเลือก Themes ท/ีเรา Save ไว้ (ซึ/งจะเป็นไฟล์ zip) แล้วคลิกขวาเลือก Extract Here เพ/ือทำ 
การแตกไฟล์ออกมา
58 
2.6.9 พอหลังจากแตกไฟล์ออกมาแล้วกจะมี็ไฟล์ใหม่ท/ีเป็นช/ือของ Themes ท/ีเราเลือกออกมา ก็จะ 
ได้แบบนี6 
2.6.10 จากนั6นให้ดับเบิ6ลคลิกเปิดดูว่าไฟล์ท/ีแตกออกมาอยู่ในลักษณะท/ีถูกซ่อนเอาไว้อีกชั6นหรือไม่ 
แต่ถ้าหากเปิดออกมาแล้วเป็นชั6นเดียวไม่มีซ่อนอยู่ถือว่าใช้ได้ ก็จะออกมาในลักษณะนี6 แล้วจากนั6นก็ปิด 
หน้าต่างนี6ออกไป
59 
2.6.11 จากนี6เราจะไปอัพโหลด Themes ท/ีเลือกเข้าไปในโปรแกรม Turbo FTP เม/ือดับเบิล6คลิกเข้าไป 
แล้วก็จะออกมาในหน้านี6 ให้คลิกเลือก OK 
2.6.12 จากนั6นให้คลิกเลือก Close
60 
2.6.13 ก็จะออกมาเป็นหน้านี6 จากนั6นใส่ Server ใส่ login ใส่ password ตามช/ือต่าง ๆ ท/ีตั6งขึ6นในครั6ง 
แรกท/ีเราทำการสร้างเว็บไซต์ของเราท/ีเรามี พอใส่ทุกอย่างครบแล้วให้คลิกเลือก Go 
2.6.14 พอคลิกเลือก Go แล้วก็จะออกมาเป็นหน้านี6 ให้คลิกเลือก OK
61 
2.6.15 จากนั6นก็จะออกมาเป็นหน้านี6 แล้วเข้าไปดับเบิ6ลคลิกเลือก Themes ท/ีอยู่ทางฝั/งขวามือ เม/ือ 
ดับเบิ6ลคลิกเข้าไปแล้วก็จะออกมาเป็นแบบนี6 
2.6.16 จากนั6นคลิกเลือกช/ือท/ีเรา Save Themes เอาไว้อยู่ทางฝั/งซ้ายมือ (ซึ/งในท/ีนี6เรา Save ไว้บน 
Desktop เราก็ต้องคลิกเลือก Desktop) จากนั6นให้คลิกลาก Themes ท/ีเราต้องการหรือท/ีเรา Download มา 
นัน/เอง ซึ/งในท/ีนี6เรา Save ไว้บน Desktop ท/ีอยู่ทางฝั/งซ้ายมือ คลิกลากไปวางในท/ีว่างทางฝั/งขวามือ
62 
2.6.17 เมื/อเสร็จแล้วก็จะออกมาเป็นแบบนี6 จากนั6นคลิกเลือก Yes เพ/ือรอการอัพโหลด 
2.6.18 เม/ือทำการอัพโหลดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกปิดหน้าต่างโปรแกรม Turbo FTP ออกไป 
จากนั6นจะเข้าไปในเว็บไซด์ของเราเพ/ือเปล/ียนThemes ท/ีเราต้องการ แล้วเข้าสู่ระบบหรือ login เข้าสู่เว็บไซด์ 
ของเราให้เรียบร้อย (ในท/ีนี6จะยกตัวอย่างเว็บไซด์ท/ีทำขึ6นมา 1 เว็บไซด์)
63 
2.6.19 เมื/อเข้าไปในเว็บไซด์ได้แล้วให้เลื/อนแถบเลื/อนหาการจัดการระบบ จากนั6นให้คลิกเลือกท/ีการ 
แสดงผลของเว็บ แล้วคลิกเลือกที/รูปแบบเว็บ สุดท้ายคลิกเลือกที/เลือกรูปแบบเว็บ 
2.6.20 จากนั6นก็จะออกมาเป็นหน้านี6 แล้วเล/ือนหา Themes ท/ีเราต้องการหรือท/ีเรา Download มาแล้ว 
อัพโหลดเข้ามาเรียบร้อยแล้ว (ในท/ีนี6เรา Download Themes ท/ีช/ือ Ability to Learn)
64 
2.6.21 เมื/อหาเจอแล้วเราอาจจะคลิกเลือกที/แสดงตัวอย่างดูก่อนก็ได้ว่าใช่ Themes ท/ีเราต้องการ 
อยากจะได้จริง ๆ หรือไม่ ถ้าใช่คลิกเลือกท/ีเลือกได้เลย (ถ้ายังไม่ต้องการให้เลือกเปิดดู Themes ท/ีมีอยู่ในเว็บ 
หรือไปดาวน์โหลดมาใหม่ก็ได้) 
2.6.22 เม/ือทำการเลือกเรียบร้อยแล้ว ก็จะออกมาเป็นบันทึกรูปแบบเว็บแล้ว จากนั6นให้คลิกเลือกท/ีขั6น 
ต่อไป
65 
2.6.23 พอออกมาเป็นแบบนี ก6็ถือว่าเสร็จเรียบร้อย
66 
บทที 3 
การจัดการกับรายวิชา 
3.1 การเพิมประเภทวิชา 
3.1.1. เข้าเว็บไซด์ www.cs.ssru.ac.th/เข้าเว็บไซด์ของตนเอง จะปรากฏหน้าเว็บไซด์ดังนี6 
3.1.2. ใส่ช/ือผู้ใช้ ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ 
2. ใส่ชือผู้ใช้ ใส่รหัสผ่าน 
และคลิกเข้าสู่ระบบ 
1. พิมพ์เข้าเว็บไซด์ 
ของตนเอง
67 
3.1.3. เมื/อเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริมการแก้ไขในหน้านี0 
3. เม/ือเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม 
เริมการแก้ไขในหน้านี0
68 
3.1.4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิก รายวิชาทั0งหมด และคลิก เพมิ/แก้ไขรายวิชา 
4. เข้าสู่การจัดการระบบ 
คลิก รายวิชาทั0งหมด และ 
คลิก เพิม/แก้ไขรายวิชา
69 
3.1.5. พิมพ์ประเภทของรายวิชาในช่องเพิมประเภท 
5. พิมพ์ประเภท 
ของรายวิชาใน 
ช่องเพิมประเภท
70 
3.1.6. แล้วคลิก ปุ่มเพมิประเภท 
6. แล้วคลิก ป่มุ 
เพิมประเภท
71 
3.2 การเพิมรายวิชา 
3.2.1. พิมพ์ชื/อรายวิชาลงในชองเปลี/่ยนช/ือ แล้วคลิกเพิม/รายวิชา 
พิมพ์รายชื/อ 
วิชา 
คลิกเพิม/รายวิชา
72 
3.2.2. จะปรากฏหน้าเว็บไซด์ดังนี6 
3.2.2.1 เลือกประเภทรายวิชาลงในช่องประเภท 
3.2.2.2 พิมพ์ช/ือรายวิชาลงในช่องช/ือเต็ม 
3.2.2.3 พิมพ์ช/ือย่อ พิมพ์รหัสรายวิชา 
3.2.2.4 คลิกช่องรูปแบบ กำหนดรูปแบบตามต้องการ 
2.1 เลือกประเภท (กลุม่ 
สาระวิทยาศาสตร์) 
2.2 พิมพ์รายชื/อ 
วิชา 
2.3 พิมพ์รหัสวิชา
73 
3.2.3. เมื/อกาหนดรูปแบบตามต้องการแล้ว คลิํกบันทึกการเปล/ียนแปลง 
3. คลิกบันทึกการ 
เปลี/ยนแปลง
74 
3.3 การเพมิผู้สอน 
3.3.1 เข้าเว็บไซด์ www.cs.ssru.ac.th/เข้าเว็บไซด์ของตนเอง จะปรากฏหน้าเว็บไซด์ดังนี6 
1.พิมพ์เข้าเว็บไซด์ของตนเอง
75 
3.3.2.ใส่ช/ือผู้ใช้ ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ 
3.3.3. เม/ือเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริมการแก้ไขในหน้านี0 
2.ใส่ช/ือผู้ใช้ใส่รหัสผ่าน 
และคลิกเข้าสู่ระบบ 
3. เม/ือเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม 
เริ/มการแก้ไขหน้านี6
76 
3.3.4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิก สมาชิก และ คลิก บัญชีผู้ใช้ 
4. เข้าสู่การจัดการระบบ 
คลิกสมาชิก และคลิกบัญชีผู้ใช้ 
3.3.5.คลิกทีเพิมสมาชิก 
5. คลิกท/ีเพิม/สมาชิก
77 
3.3.6. พิมพ์ชือผู้ใช้ และ รหัสผ่านใหม่ ขอให้กำหนดเป็นภาษาอังกฤษเพ/ือความสะดวกในการ 
Login 
ขั0นตอนการพิมพ์ 
ชือ นามสกุล ให้ใส่ช/ือนามสกุลของผู้สอนเป็นภาษาไทย 
อีเมล์ ต้องใส่อีเมล์ท/ีไม่ซ6ำกับท/ีสมัครไปแล้ว 
จังหวัด ให้ใส่จังหวัดท/ีเราอยู่ ในท/ีนี6ให้ใส่ กรุงเทพมหานคร 
เลือกประเทศ ให้ใส่ประเทศท/ีเราอยู่ ในท/ีนี6ให้เลือกเป็น ไทย 
รายละเอียด ให้พิมพ์ ช/ือ-นามสกุล ลงไปในช่องป้อนข้อมูล 
รูปภาพ ให้กดปุ่ม Browse เพ/ือเลือกรูปภาพของผู้สอน 
แล้ว คลิกท/ีปุ่ม อัพเดทประวัติส่วนตัว ท/ีอยู่ด้านล่าง 
3.3.6. พิมพ์ชือผู้ใช้ และ รหัสผ่านใหม่ 
ขั0นตอนการพิมพ์ชือ นามสกุล
78 
3.3.7. จากนั6นให้ไปกำหนดรายวิชาให้กับผู้สอนโดยไปท/ี การจัดการระบบ 
- คลิกทีแก้ไขรายวิชา 
ไปทีการจัดการระบบ 
คลิกทีแก้ไขรายวิชา
79 
3.3.8.หลังจากนั6นให้ คลิกท ีนาฏศิลป์ไทย 
8. คลิกท ีนาฏศิลป์ไทย
80 
3.3.9. คลิกที/ ประเภทรายวิชา นาฏศิลป์ไทย 
3.3.9.1 คลิกที/ Assign roles 
3.3.9.2 คลิกที/ประเภทรายวิชานาฏศิลป์ 
คลิกที ประเภท 
รายวิชา นาฏศิลป์ 
9.1. คลิกที assign 
roles
81 
3.3.10.จากนั6นเลือกท/ีช/ือของผู้สอนท/ีต้องการแล้วคลิกปุ่ม เพิม/ ช/ือผู้สอนจะไปอยู่ทางซ้ายมือ 
คลิกท ีปุ่มเพมิ
82 
3.4 การเพมิผู้เรียน โดยรูปแบบนำเข้าจากfile 
3.4.1. เข้าเว็บไซด์ www.cs.ssru.ac.th/เข้าเว็บไซด์ของตนเอง จะปรากฏหน้าเว็บไซด์ดังนี6 
1.พิมพ์เข้าเว็บไซด์ของตนเอง
83 
3.4.2.ใส่ช/ือผู้ใช้ ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ 
2.ใส่ช/ือผู้ใช้ใส่รหัสผ่าน 
และคลิกเข้าสู่ระบบ
84 
3.4.3. เมื/อเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริมการแก้ไขในหน้านี0 
3. เม/ือเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม 
เริ/มการแก้ไขหน้านี6
85 
3.4.4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิก สมาชิก และ คลิก บัญชีผู้ใช้ 
4. เข้าสู่การจัดการระบบ 
คลิกสมาชิก และคลิกบัญชีผู้ใช้
86 
3.4.5. จากนั6น คลิก อัพโหลดสมาชิก และคลิกทเีครืองหมาย? 
5. คลิกอัพโหลดสมาชิก 
5.1. คลิกท/ีเคร/ืองหมายนี6
87 
3.4.6. หน้าจอจะปรากฏดังนี6 
- Dragคลุม เลือกรูปแบบอย่างสั0น และคลิกขวาcopy 
6. Dragคลุม เลือกรูปแบบอย่าง 
สั0น และคลิกขวา copy
88 
3.4.7. ไปที/ Start  Programs  Accessories Notepad และคลิกขวา Paste 
7. คลิกขวา pasteตรงส่วนนี0
89 
3.4.8. พิมพ์ข้อความตามหัวข้อท/ีกำหนดไว้ 
8. พิมพ์รายชื/อผู้เรียนตามหัวข้อ
90 
3.4.9. คลิกที File และ คลิก save หน้าจอจะปรากฏดังนี0 
- เปลียนลักษณะการ save ตรง Encoding เป็น UTF-8 
- และตั0งชือ file ทเีราจะ save 
9. คลิกเลือก UTF-8และกด save
91 
3.4.10. ขั6นตอนสุดท้ายกด Browse ท/ีหน้าเว็บไซด์ดังท/ีปรากฏอยู่ท/ีขั6นตอนท/ี 5 
- แล้วคลิกที/อัพโหลด 
10. คลิก browse 
10.1. กดอัพโหลด
92 
3.4.11 หลังจากนันรายชื/อผู้เรียนจะไปปรากฏอยูในราย6่ช/ือสมาชิกของเว็บไซด์
93 
บทที 4 
การจัดการเรียนการสอน 
4.1 การเพิม Sidebar ในรายวิชา 
หัวกระดานหรือ ท/ีเรียกว่า Sidebar มีสำหรับให้อาจารย์ ตั6งหัวข้อเพ/ือให้นักศึกษาเข้ามาใช้งานโดย 
สามารถปรับเปล/ียนได้ดังนี6 
1. เข้าไปในบล็อกเลือกเพิม/แหล่งข้อมูล 
2. เข้าไปในกิจกรรมเลือกกิจกรรมท/ี 
ต้องการเพิม/ 
1 
2 
3 
4 
5 
8 
9 
10 
12 
14 
11 
13
94 
ประเภทของแหล่งข้อมูล การจัดกิจกรรม Sidebar ในรายวิชา สามารถรองรับประเภทแหล่งข้อมูลท/ีแตกต่าง 
กัน ซึ/งคุณสามารถแทรกเนื6อหาจากเว็บได้เกือบทุกประเภทเข้าสู่รายวิชาของคุณ ในรายวิชา ประกอบไปด้วย 
กิจกรรมต่างๆ ท/ีสามารถใช้ในรายวิชาได้ดังต่อไปนี6 
Labels (แทรกฉลาก) 
Label แตกต่างจากแหล่งข้อมูลอ/ืนเล็กน้อย เพราะประกอบไปด้วยข้อความและรูปภาพซึ/ง 
กำหนดไว้ตายตัวและไม่อาจแก้ไขได้ 
This is a not a true activity - it is a dummy activity that allows you to insert text and 
graphics among the other activities on the course page. 
ส่วนนี6ไม่ใช่กิจกรรมท/ีเกิดขึ6นจริง เป็นเพียง กิจกรรมทดลอง ให้แทรกข้อความและกราฟฟิค 
สู่กิจกรรมอ/ืนๆ บนหน้ารายวิชา 
Questionnaire 
The questionnaire module allows you to construct questionnaires (surveys) using a variety of 
question types, for the purpose of gathering data from users. It is based on phpESP, and Open 
Source questionnaire tool (see: http://phpesp.sourceforge.net). 
SCORM packages โปรแกรม SCORM 
A SCORM package is a bundle of web content packaged in a way that follows the SCORM 
standard for learning objects. 
SCORM เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปท/ีรวมเนื6อหาบนเว็บเข้าไว้ด้วยกัน ซึ/งเขียนให้ใช้งานได้ทันที 
ตามมาตรฐาน SCORM สำหรับการเรียนออนไลน์ These packages can include web pages, 
graphics, Javascript programs, Flash presentations and anything else that works in web 
1 
2 
3
95 
browsers. The SCORM module allows you to easily upload any standard SCORM package 
and make it part of your course. 
โปรแกรมเหล่านี6สามารถรวมเอาเว็บเพจ กราฟฟิค โปรแกรม Javascript พรีเซ็นเตชัน/ท/ีสร้าง 
จากโปรแกรม Flash และเนื6อหาอ/ืนๆ ท/ีทำงานได้กับ web browser ต่างๆ โมดูล SCORM จะทำ 
ให้คุณอัพโหลดโปรแกรมมาตรฐานของ SCORM และใช้ประกอบเป็นส่วนหนึ/งของรายวิชาท/ี 
คุณสอนได้ง่ายกว่าเดิม 
Wikis 
ช่วยให้ผู้แต่งสามารถรวบรวม โดยภาษา mark up ท/ีใช้ผ่าน web browser. 
Wiki wiki เป็นภาษาฮาวายหมายถึง เร็วมาก เพราะด้านหนึ/งของเทคโนโลยี wiki ท/ี 
ออกแบบมาคือเน้นเร/ืองการสร้างและแก้ไขเอกสารได้อย่างรวดเร็วทันใจ ปกติเวลาสร้างหรือ 
แก้ไขหน้าเว็บเพจจะไม่มีหน้าตัวอย่างให้เห็นก่อน จะต้องทำการ save ค่า ท/ีทำการสร้างหรือ 
แก้ไขไปก่อน และระบบจะเปิดให้ทุกคนเข้ามาทำงานได้ ระบบเปิดให้ผู้เก/ียวข้องสามารถมา 
ทำงานร่วมกันได้ เพ/ือเพิ/ม หรือเปล/ียนแปลงเนื6อหา และเวอร์ชั/นก่อนจะไม่ถูกลบไป และ 
สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก 
โมดูลนี6นำมาจากErfurt Wiki. 
กระดานเสวนา 
กระดานเสวนาหรือท/ีเรียกว่า Webboard มีสำหรับให้อาจารย์ตั6งหัวข้อเพ/ือให้นักศึกษาเข้ามา 
แสดงความคิดเห็นหรือแลกเปล/ียนความคิดเห็นกันในหัวข้อนั6นๆ ซึ/งจะอยู่ในส่วนของการเพิ/ม 
กิจกรรม เท่าท/ีผ่านมา ส่วน กระดานเสวนา นี6เห็นจะเป็นส่วนท/ีสำคัญท/ีสุดเพราะการสนทนา 
แลกเปล/ียน จะเกิดขึ6นในส่วนนี6 เม/ือท่านเพิ/มส่วน กระดานเสวนา เข้าใน รายวิชา ท่านจะต้อง 
เลือกชนิดของ กระดานเสวนา ว่าจะให้ กระดานเสวนา นี6เป็น กระดานเสวนา แบบไหน จะเป็น 
4 
5
96 
แบบหัวข้อเดียว (single-topic discussion) แบบเปิด (free-for-all general forum) หรือ แบบหนึ/ง 
หัวข้อสนทนาต่อหนึ/งสมาชิก (one-discussion-thread-per-user) 
กระดานเสวนานี6ถือเป็นส่วนท/ีสำคัญท/ีสุด เน/ืองจากเป็นท/ีท/ีมีกิจกรรมเกิดขึ6นมากท/ีสุด การจัด 
โครงสร้างของกระดานเสวนาสามารถทำได้หลายแบบ สามารถที/จะให้เพื/อนมาให้คะแนน 
สำหรับการโพสต์ การตั6งกระทู้หรือการตอบกระทู้สามารถถูกจัดในหลายรูปแบบ รวมไปถึง 
สามารถแนบไฟล์ได้ และด้วยการสมัครเป็นสมาชิกของกระดานเสวนา สมาชิกก็จะได้รับ 
สำเนาการตอบกระทู้หรือตั6งกระทู้ใหม่โดยทางอีเมล อาจารย์ผู้สอนสามารถเป็นผู้จัดการเร/ือง 
การสมัครสมาชิกได้เช่นกันหากต้องการเช่นนั6น 
กิจกรรมในกระดานเสวนา 
1. อนุญาตให้ตั6งกระทู้ 
2. การแนบไฟล์ 
3. ประเภทของกระดานเสวนา 
4. ขนาดไฟล์สูงสุดที/อัพโหลดได้ 
5. การให้คะแนน 
6. จำนวนโพสต์ล่าสุดท/ีต้องการแสดงใน RSS 
7. การใช้ RSS ในกระดานเสวนา 
8. การสมัครสมาชิก 
1. การอนุญาตให้โพสต์ใหม่ 
ตัวเลือกนี6จะทำให้ คุณสามารถบังคับการโพสต์ข้อความใหม่ ในกระดานสนทนาได้ 
กระดานสนทนาส่วนมาก ไม่ต้องการบังคับ ให้เลือกตัวเลือกท/ีหนึ/ง จะทำให้นักเรียน 
สามารถ ตั6งหัวข้อกระทู้และโพสต์คำตอบในหัวข้อของกระทู้แต่ละหัวข้อได้อย่างอิสระ 
บางครั6ง คุณอาจไม่ต้องการเปิดอิสระ ตัวอย่างเช่น กระดานสนทนาใหม่ท/ีคุณต้องการ ให้ 
ครูเป็นผู้โพสต์ข้อความ ซึ/งจะไปปรากฎในหน้ากระดานหลักของวิชา ให้เลือกตัวเลือกท/ี 
สาม ห้ามตั6งกระทู้ ห้ามโพสต์คำตอบ
97 
บางครัง คุณอาจต้องการให้ครูเป็นผู้ตังกระทู้เทานัน โดยอนุญาตให้น66่6ักเรียนสามารถ โพสต์ 
คำตอบได้ (ตัวอย่างดังเห็นในกระดานสนทนาในหน้ากระดานหลัก) กรณีนี6ให้เลือก 
ตัวเลือกท/ีสอง ห้ามตั6งกระทู้แต่โพสต์คำตอบได้ 
2. การแนบไฟล์ 
คุณสามารถเลือกไฟล์จากคอมพิวเตอร์คุณแนบลงไปในโพสต์ของคุณได้ โดยไฟล์จะถูก 
อัพโหลดไว้บนเซิร์ฟเวอร์พร้อมกับโพสต์ของคุณ วิธีนี6มีประโยชน์ในกรณีท/ีคุณต้องการ 
แชร์ภาพ หรือ เอกสาร กับคนอ/ืนๆ 
สามารถแนบไฟล์ได้ทุกประเภท แต่ควรใช้ไฟล์ท/ีมีนามสกุลสามตัว เช่น .doc .jpg .png 
เพราะทำให้ง่ายต่อการดาวน์โหลด และสามารถดูได้บน เว็บ บราวเซอร์ 
ถ้าหากคุณต้องการแก้ไขโพสต์ และ แนบไฟล์ใหม่ ไฟล์เก่าของคุณ จะถูกแทนท/ีด้วยไฟล์ 
ใหม่นี6 
ถ้าหากแก้ไขโพสต์ แต่ไม่ได้แก้ไข ช่องแนบไฟล์ ไฟล์เก่าท/ีคุณแนบไว้ ก็จะยังคงอยู่ 
3. ประเภทของกระดานเสวนา 
ประเภทของกระดานเสวนานั6นมีหลายประเภทให้เลือกระบุ ดังนี6 
กระดานหัวข้อเดียวอย่างง่าย เป็นกระทู้ท/ีมีหัวข้อเดียว และเนื6อหาทุกอย่างอยู่ภายในหน้า 
เดียวกัน กระทู้ประเภทนี6เหมาะสำหรับเร/ืองท/ีส6ันและกระชับ 
กระดานทัว/ไป เป็นกระดานเสวนาแบบปลายเปิด ซึ/งแต่ละคนท/ีเข้ามาตอบ จะสามารถตั6ง 
หัวข้อใหม่ได้ กระดานเสวนาประเภทนี6เหมาะท/ีสุดสำหรับกระดานเสวนาท/ีมีวัตถุประสงค์ 
ทัว/ไป 
หนึ/งคนหนึ/งกระทู้ ในกระดานเสวนาประเภทนี6 แต่ละคนจะโพสต์กระทู้ในหัวข้อของตน 
(แต่ทุกคนจะสามารถตอบได้ทุกกระทู้) ฟอรั/มแบบนี6จะเป็นประโยชน์ เม/ือคุณต้องการให้
98 
นักเรียนตังกระทู้ของตนและแสดงความเห็นในหัวข้อของแต6่ละสัปดาห์ และทุกคนก็ 
สามารถตอบแสดงความคิดเห็นในกระทู้นั6นๆได้ (มีการพัฒนาเร/ืองนี6ในมูเดิ6ลเวอร์ชัน/ใหม่) 
4. ขนาดของไฟล์สูงสุด 
ผู้ท/ีตั6งกระดานเสวนาสามารถกำหนดขนาดสูงสุดของไฟล์ท/ีอนุญาตให้แนบได้ 
บางไฟล์ท/ีมีขนาดใหญ่กว่าท/ีกำหนดคล้ายกับว่าจะอัพโหลดได้ แต่ท/ีจริงแล้วไฟล์ไม่ได้ถูก 
บันทึกไว้ในโฟลเดอร์ และจะเห็นข้อความผิดพลาดขึ6นมาบอก 
5. ข้อความที/โพสต์จะได้รับการจัดอันดับ 
, 40(9/10), 745-766. ตามทฤษฏีของ separate and connected knowing ทฤษฏีนี6อาจช่วยให้ 
คุณมองปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ ในรูปแบบใหม่ ซึ/งแบ่งวิธีการประเมินและเรียนรู้ของสิ/งท/ี 
เห็นและได้ยิน ของมนุษย์ได้สองรูปแบบแต่ละคน จะใช้วิธีทั6งสองในปริมาณและเวลา ท/ี 
ต่างกัน ตัวอย่างต่อไปนี6 จะแสดงความแตกต่างของคนสองคน คนหนึ/งเป็น separate 
knower (จิม) และอีกคนหนึ/งเป็น connected knower (แมร/ี) จิมชอบท/ีจะไม่มีอคติ (รักษา 
ความเป็นรูปธรรม)ให้มากท/ีสุด โดยพยายาม หลีกเล/ียงความรู้สึกส่วนตัว เม/ือมีการถก 
ปัญหากับคนอ/ืนท/ีคิดไม่เหมือนกัน จิมจะพยายามโต้เถียงยืนยันความคิดของตนเอง โดยใช้ 
เหตุผลและหาข้อบกพร่อง ในความคิดเห็นของคู่สนทนา เขาจะวิจารณ์ความคิดเห็นใหม่ๆ 
จนกว่าจะได้ พิสูจน์จากแหล่งข้อมูลท/ีเช/ือถือได้ เช่น ตำรา อาจารย์ท/ีน่านับถือ หรือจาก 
ประสบการณ์ ของเขาเอง จิมคือ separate knower แมร/ีเป็นคนท/ีมีความรู้สึกไวต่อผู้อ/ืน เธอ 
มีความสามารถในการใส่ใจรับฟัง และถามปัญหาจนกว่าเธอจะรู้สึกเข้าใจมุมมองของคน 
อื/น เธอเรียนรู้ด้วยการแลกเปลี/ยน ประสบการณ์และทำให้เธอได้ความรู้จากผู้อื/น ขณะ 
พูดคุยเธอจะหลีกเล/ียงการเผชิญหน้า และพยายามช่วยเหลือผู้อ/ืนโดยใช้เหตุผลและให้ 
ข้อแนะนำ แมร/ีคือ connected knower โปรดสังเกตจากตัวอย่างท/ีให้ separate knower เป็น 
ผู้ชายและ connected knower เป็นผู้หญิง สถิติท/ีได้จากการศึกษาหลายครั6งมีแนวโน้มแบบ 
กรณีนี6 อย่างไรก็ตาม บุคคลทัว/ไปก็จะอยู่ระหว่างตัวอย่างสุดขั6วทั6งสองนี6 จะเป็นการดีท/ีสุด 
หากทุกคนจะสามารถใช้วิธีคิดได้ทั6งสองวิธี เพ/ือความสามัคคี และประสิทธิภาพของกลุ่ม
99 
ผู้เรียน ในสถานการณ์พิเศษเชนในกระดานสนทนาทางอินเตอร์เน็่ต ข้อความ ท/ีโพสต์โดย 
บุคลหนึ/งอาจแสดงลักษณะใดลักษณะหนึ/งหรือ ทั6งสองลักษณะก็ได้ บางคนซึ/งปกติเป็น 
คนท/ีมีสัมพันธ์ดี อาจโพสต์ข้อความท/ีฟังดูแปลกแยก หรืออาจเป็นทางตรงกันข้าม 
จุดประสงค์ของการจัดอันดับแต่ละข้อความท/ี โพสต์เข้ามา โดยใช้วิธีการวัดแบบนี6 คือ 
ก) ช่วยให้คิดเก/ียวกับประเด็นต่างๆ เม/ืออ่านข้อความอ/ืนๆ 
ข) แสดงผลให้ผู้เขียนทราบว่าคนอ/ืนมองว่าผู้เขียนเป็นอย่างไร ผลท/ีได้ ไม่ได้ใช้ใน 
การประเมินนักเรียน แต่จะช่วยให้นักเรียนพัฒนาการส/ือสาร และการเรียนรู้ 
เอกสารอ้างอิง ท/ีเป็นต้นแบบพัฒนาแนวความคิดนี6 
• Belenky, M.F., Clinchy, B.M., Goldberger, N.R.,  Tarule, J.M. (1986). 
Women's ways of knowing: the development of self, voice, and mind. New 
York, NY: Basic Books. 
• Clinchy, B.M. (1989a). The development of thoughtfulness in college 
women: Integrating reason and care. American Behavioural Scientist, 32(6), 
647-657. 
• Clinchy, B.M. (1989b). On critical thinking  connected knowing. Liberal 
education, 75(5), 14-19. 
• Clinchy, B.M. (1996). Connected and separate knowing; Toward a marriage 
of two minds. In N.R. Goldberger, Tarule, J.M., Clinchy, B.M.  
• Belenky, M.F. (Eds.), Knowledge, Difference, and Power; Essays inspired 
by “Women’s Ways of Knowing” (pp. 205-247). New York, NY: Basic 
Books. 
• Galotti, K. M., Clinchy, B. M., Ainsworth, K., Lavin, B.,  Mansfield, A. F. 
(1999). A New Way of Assessing Ways of Knowing: The Attitudes Towards 
Thinking and Learning Survey (ATTLS). Sex Roles
100 
• Galotti, K. M., Reimer, R. L.,  Drebus, D. W. (2001). Ways of knowing as 
learning styles: Learning MAGIC with a partner. Sex Roles, 44(7/8), 419- 
436. 
6. จำนวนโพสต์ลา่สุดท/ีต้องการแสดงใน RSS 
ตัวเลือกนี6อนุญาตให้คุณเลือกจำนวนโพสต์ท/ีจะแสดงผลบนหนึ/งหน้าจอได้ จำนวนโพสต์ 
ท/ีเหมาะสม ควรอยู่ระหว่าง 5 - 20 คำตอบ ในแต่ละกระดานเสวนา แต่ทั6งนี6คุณสามารถเพ/ิม 
จำนวนได้หากกระดานเสวนานั6นถูกใช้งานมาก 
การกำหนดการเล/ือนหน้าจอการป้อนข่าวสาร RSS ในกระดานเสวนานี6 ตัวเลือกนี6อนุญาต 
ให้คุณสามารถกำหนดการแสดงผลการตอบในกระดานเสวนานี6ได้ คุณสามารถเลือกได้ 
ระหว่างสองกระดานเสวนานี6 
• การตอบกระทู้: เมื/อใช้การตอบกระทู้ การแสดงผลบนหน้าจอจะรวมการ 
นำเสนอความคิดเห็นใหม่ในกระดานเสวนานั6นไปกับการโพสต์ครั6งแรก 
• การตั6งกระทู้: เม/ือใช้การตั6งกระทู้ การแสดงผลบนหน้าจอจะแสดงกระทู้ใหม่ 
ทั6งหมดของกระดานเสวนานั6นๆ 
7. การเป็นสมาชิกกระดานเสวนา 
เม/ือคุณสมัครเป็นสมาชิกกระดานข่าว หมายความว่า คุณจะได้รับสำเนาจากกระดานข่าว 
ทุกครั6งท/ีมีคนโพสต์ ผ่านทางอีเมล โดยจะมีการส่งประมาณสามสิบนาทีหลังจาก ท/ีมีการ 
โพสต์ 
ผู้เข้าชมสามารถเลือกท/ีจะเป็นสมาชิกกระดานข่าวหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าหากผู้สอน บังคับให้ 
ทุกคนเป็นสมาชิกกระดานข่าว นักเรียนทุกคนท/ีเรียน จะได้รับสำเนาของกระดานข่าวนี6 
วิธีนี6เหมาะสำหรับกระดานข่าว ประกาศ โดยเฉพาะอย่างยิง/ก่อนท/ีนักเรียน จะเรียนรู้วิธีการ 
สมัครเป็นสมาชิกกระดาน
101 
แสดงความคิดเห็นหรือแลกเปลี/ยนความคิดเห็นกันในหัวข้อนั6นๆ ซึ/งจะอยู่ในส่วนของการ 
เพิม/กิจกรรม เท่าท/ีผ่านมา.. ส่วน กระดานเสวนา นี6เห็นจะเป็นส่วนท/ีสำคัญท/ีสุดเพราะการ 
สนทนาแลกเปล/ียน จะเกิดขึ6นในส่วนนี6 เม/ือท่านเพิม/ส่วน กระดานเสวนา เข้าใน รายวิชา 
ท่านจะต้องเลือกชนิดของ กระดานเสวนา ว่าจะให้ กระดานเสวนา นี6เป็น กระดานเสวนา 
แบบไหน จะเป็นแบบหัวข้อเดียว (single-topic discussion) แบบเปิด (free-for-all general 
forum) หรือ แบบหนึ/งหัวข้อสนทนาต่อหนึ/งสมาชิก (one-discussion-thread-per-user) 
วิธีการตั6งค่าหน้าจอจะแสดงภาพการตั6งค่าของกระดานเสวนาดังรูป 
123456789 
1.ชือกระดาน กรอกชือหัวข้อสนทนาลงไปเช่น เสวนาภาษาจีน 
3..วิธีใช้/คำชี0แจง ในการใช้กระดาน 2.1 กระดานทัวไป แต่ละคนสามารถตั0งกระทู้ได้หลายกระทู้ 
เป็นการชี0แจงเกียวกับกระดานว่ามี 
จุดประสงค์อย่างไร และวิธีการใช้ 
4.อนุญาตให้ student โพสต์ในกระดานนี0หรือไม่ มี 3 ลักษณะ คือ 
4.1ตั0งกระทู้ได้ ตอบได้ 
4.2ตั0งกระทู้ไม่ได้ ตอบได้ 
4.3ตั0งกระทู้ไม่ได้ ตอบไม่ได้ 
5.ทุกคนต้องเป็นสมาชิกกระดานนี0เท่านั0น? 
5.1ใช่ตลอดเวลา ไม่สามารถออกจากการเป็นสมาชิกของกระดานได้ 
5.2ใช่ตอนต้นเท่านั0น สามารถออกจากการเป็นสมาชิกของกระดานได้ 
6.Read Tracking for this forum? 
มี 3 ลักษณะ คือ 
1.Optional สามารถเปิด/ปิดได้ 
7.ขนาดไฟล์สูงสุด ขนาด 
ของไฟล์สูงสุดทีสามารถ 
ทำการ upload ได้ 8.ต้องการให้ผู้อ่านให้คะแนนโพสต์นี0หรือไม่ 
ถ้าต้องการให้ผู้อ่านให้คะแนนโพสต์ ให้ทำการเช็ค 
เลือกทีช่องใช้คะแนน ซึงมีรายละเอียดดังนี0 คือ 
1.เฉพาะอาจารย์เท่านั0นสามารถให้คะแนนโพสต์ 
กับทุกคนสามารถให้คะแนนโพสต์ 
2.นักศึกษาสามารถเห็นคะแนนของตนเอง กับ 
นักศึกษาสามารถเห็นคะแนนของทุกคน 
9.ระบบกล่มุ 
1.เรียนรวมกันไม่แบ่งกล่มุ 
2.กลุ่มแบบแยกกันอย่างชัดเจน 
(ศึกษาข้ามกลุ่มไม่ได้)
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle

More Related Content

What's hot

Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student system
Apple Preeya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
bowing3925
 
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯคู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯKrupol Phato
 
E learning01-1 (1)
E learning01-1 (1)E learning01-1 (1)
E learning01-1 (1)
iyabest
 
E learning01 (1)
E learning01 (1)E learning01 (1)
E learning01 (1)
iyabest
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอguest082d95
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานAtima Teraksee
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
peetchinnathan
 
Website การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
Website การเรียนการสอนภาษาอังกฤษWebsite การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
Website การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
searchingworld
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
Tum Guitarsolo
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
1
11
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5Zhao Er
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 

What's hot (20)

Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student system
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
 
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯคู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
 
D L M S
D L M SD L M S
D L M S
 
E learning01-1 (1)
E learning01-1 (1)E learning01-1 (1)
E learning01-1 (1)
 
E learning01 (1)
E learning01 (1)E learning01 (1)
E learning01 (1)
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
 
Ch7 cai
Ch7 caiCh7 cai
Ch7 cai
 
Website การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
Website การเรียนการสอนภาษาอังกฤษWebsite การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
Website การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
 
12
1212
12
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
1
11
1
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Com
ComCom
Com
 

Viewers also liked

Lesson1 菲律賓有哪些好玩的地方?
Lesson1 菲律賓有哪些好玩的地方?Lesson1 菲律賓有哪些好玩的地方?
Lesson1 菲律賓有哪些好玩的地方?
Fly106
 
положення про фестиваль-конкурс
положення про фестиваль-конкурсположення про фестиваль-конкурс
положення про фестиваль-конкурс
Andrey Ielkin
 
Pallantzas EIPAK
Pallantzas EIPAKPallantzas EIPAK
Pallantzas EIPAK
Stefan Pallantzas
 
Etapa formativa 2 (publicaciones en linea)
Etapa formativa 2 (publicaciones en linea)Etapa formativa 2 (publicaciones en linea)
Etapa formativa 2 (publicaciones en linea)
luis0006
 
Չարլզ Դարվին
Չարլզ ԴարվինՉարլզ Դարվին
Չարլզ ԴարվինArsen Dilanyan
 
Использование информационных технологий в проекте «Музей Чернобыля»
Использование информационных технологий в проекте «Музей Чернобыля»Использование информационных технологий в проекте «Музей Чернобыля»
Использование информационных технологий в проекте «Музей Чернобыля»
rorbic
 
Gimnáziumi Paletta 2014 ősz
Gimnáziumi Paletta 2014 őszGimnáziumi Paletta 2014 ősz
Gimnáziumi Paletta 2014 ősz
Csaba Magi
 
Polskie firmy niegotowe na mobilnego klienta
Polskie firmy niegotowe na mobilnego klientaPolskie firmy niegotowe na mobilnego klienta
Polskie firmy niegotowe na mobilnego klienta
eprpl
 
Web Design - Responsive and adaptative desings
Web Design - Responsive and adaptative desingsWeb Design - Responsive and adaptative desings
Web Design - Responsive and adaptative desings
Alberto Serna
 
Electronic Mechanic (Any Industry)
Electronic Mechanic (Any Industry)Electronic Mechanic (Any Industry)
Electronic Mechanic (Any Industry)Kyle Waste
 
Computer Operator
Computer OperatorComputer Operator
Computer OperatorKyle Waste
 
Mqt development tsz
Mqt development tszMqt development tsz

Viewers also liked (14)

Lesson1 菲律賓有哪些好玩的地方?
Lesson1 菲律賓有哪些好玩的地方?Lesson1 菲律賓有哪些好玩的地方?
Lesson1 菲律賓有哪些好玩的地方?
 
положення про фестиваль-конкурс
положення про фестиваль-конкурсположення про фестиваль-конкурс
положення про фестиваль-конкурс
 
Pallantzas EIPAK
Pallantzas EIPAKPallantzas EIPAK
Pallantzas EIPAK
 
3
33
3
 
Etapa formativa 2 (publicaciones en linea)
Etapa formativa 2 (publicaciones en linea)Etapa formativa 2 (publicaciones en linea)
Etapa formativa 2 (publicaciones en linea)
 
Չարլզ Դարվին
Չարլզ ԴարվինՉարլզ Դարվին
Չարլզ Դարվին
 
Использование информационных технологий в проекте «Музей Чернобыля»
Использование информационных технологий в проекте «Музей Чернобыля»Использование информационных технологий в проекте «Музей Чернобыля»
Использование информационных технологий в проекте «Музей Чернобыля»
 
6
66
6
 
Gimnáziumi Paletta 2014 ősz
Gimnáziumi Paletta 2014 őszGimnáziumi Paletta 2014 ősz
Gimnáziumi Paletta 2014 ősz
 
Polskie firmy niegotowe na mobilnego klienta
Polskie firmy niegotowe na mobilnego klientaPolskie firmy niegotowe na mobilnego klienta
Polskie firmy niegotowe na mobilnego klienta
 
Web Design - Responsive and adaptative desings
Web Design - Responsive and adaptative desingsWeb Design - Responsive and adaptative desings
Web Design - Responsive and adaptative desings
 
Electronic Mechanic (Any Industry)
Electronic Mechanic (Any Industry)Electronic Mechanic (Any Industry)
Electronic Mechanic (Any Industry)
 
Computer Operator
Computer OperatorComputer Operator
Computer Operator
 
Mqt development tsz
Mqt development tszMqt development tsz
Mqt development tsz
 

Similar to คู่มือการใช้งาน Moodle

คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
NECTEC, NSTDA
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
Pp social
Pp socialPp social
Pp social
aubon001
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
mind jirapan
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
teerayut123
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
benty2443
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
gam030
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
fernfielook
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
poppai041507094142
 

Similar to คู่มือการใช้งาน Moodle (20)

คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
 
K8
K8K8
K8
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Yrc 606
Yrc 606Yrc 606
Yrc 606
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
Pp social
Pp socialPp social
Pp social
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
Thaismedu
ThaismeduThaismedu
Thaismedu
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 

คู่มือการใช้งาน Moodle

  • 2.
  • 3. คำนำ ปัจจุบันบทเรียนออนไลน์เป็นทีนิยมกนั อยางแพรหลายเนืองจากมีข้อดีสำห่่รับผู้สอนและผู้เรียน มากมาย ทั*งยังเป็นการส่งเสริมการศึกษาทั*งในระบบและนอกระบบ MOODLE เป็นเครืองมือหนึงที สนับสนุนการจัดทำการเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต ทีใช้ง่ายและตรงความต้องการของผู้ใช้มากทีสุด ในตอนนี* จึงเป็นสาเหตุในการจัดทำหนังสือคู่มือการใช้งาน MOODLE ขึ*น หนังสือคู่มือการใช้ MOODLE เป็นผลงานทีภูมิใจนำเสนอ เมือพูดถึงเครืองมือการทำเว็บไซต์ บทเรียนออนไลน์ในปัจจุบันไม่มีเครืองมือใดทีจะมีประสิทธิภาพและความยืดหยุ่นในการใช้งานเทียบเท่า โปรแกรมนี* คู่มือเล่มนี*เราได้นำเสนอในรูปแบบภาพสีทั*งเล่ม อ่านเข้าใจง่าย และใช้งานได้จริง จึงหวังว่า หนังสือเล่มนี*จะเป็นคู่มือทีจะช่วยให้ผู้อ่านสร้างบทเรียนออนไลน์ทีมีประโยชน์ต่อสังคมต่อไป คณะผู้จัดทำ
  • 4. สารบัญ เรือง หน้า บทที 1 การเตรียมความพร้อมในการใช้ MOODLE ประวัติความเป็นมาของ MOODLE 1 ความหมายของ MOODLE 1 คุณลักษณะการใช้งานของ MOODLE 2 ประเภทการใช้งานของ MOODLE 5 การติดตั*ง AppServ 7 การติดตั*ง MOODLE 12 บทที 2 การปรับแต่งหน้าหลักของเว็บไซต์ การเพิม เข้าสู่ระบบ 19 การติดตั*ง Sidebar 22 การเพิม Sidebar 32 การเพิม ป้อนข้อมูลข่าวสารภายใน (RSS) 40 การประกาศข่าว 46 การจัดการปฏิทิน 50 การเพิม Themes 54 บทที 3 การจัดการกับรายวิชา การเพิม ประเภทวิชา 66 การเพิม รายวิชา 71 การเพิม ผู้สอน 74 การเพิม ผู้เรียน 82
  • 5. สารบัญ (ต่อ) เรือง หน้า บทที 4 การจัดการเรียนการสอน การเพิม Sidebar ในรายวิชา 93 การเพิม กระดานเสวนา 110 การเพิม บล็อก HTML 121 การเพิม เนื*อหารายวิชา 127 การเพิม การบ้าน 138 การเพิม แบบทดสอบ 140 การเพิม แบบประเมิน 144
  • 6. 1 บทที 1 การเตรียมความพร้อมในการใช้ MOODLE 1.1 ประวัติความเป็นมาของ MOODLE Moodle เป็น Open Source Software เป็น Course Management System (CMS) โดยใช้ PHP และ Database MySQL ซึ/งพัฒนาขึ6นโดย โปรแกรมเมอร์ท/ีเคยใช้ WebTV เป็นชาวออสเตรเลีย Mr. Martin Dougiamas ศึกษาทางด้าน Computer Science and Education ในระดับปริญญาโท MOODLEได้เริ/มมีการทดลองใช้ในปี 1999 ต่อมาในปี2003 MOODLEได้จัดตั6งบริษัท MOODLE.COM เพ/ือให้บริการจัดตั6งไฟล์สนับสนุนช่วยเหลือในด้านการค้า จัดการ host และเป็นท/ีปรึกษา ด้าน Service ปัจจุบันมีผู้ใช้งาน MOODLE กว่า 50,000 รายใน 115 ประเทศ จากข้อมูลการ ลงทะเบียนผ่าน www.moodle.org และถูกแปลไปแล้วกว่า 60 ภาษา โดยในประเทศไทย MOODLE ถูกพัฒนาเป็นภาษาไทย โดย ดร. วิมลลักษณ์ สิงหนาท 1.2 ความหมายของ MOODLE MOODLE ย่อมาจาก Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment ซึ/งเป็นโปรแกรมท/ี ช่วยในการจัดการเรียนการสอน (LMS)แบบออนไลน์ และเป็นระบบสนับสนุนการเรียนการสอนและ บริหารจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (CMS) ซึ/งเป็นซอฟแวร์ลักษณะ Open source หรือท/ีเรียกว่า ซอฟแวร์เสรีจึงไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั6งสิ6น ซึ/งสามารถนำมาติดตั6งได้ทั6งในระบบปฏิบัติการ Linux Unix และ Windows ซึ/งมีการทำงานในลักษณะ Web-Server และใช้งานฐานข้อมูล MySQL และใช้ PHP ในการเปิด โปรแกรม
  • 7. 2 MOODLE เป็นซอฟต์แวร์สำหรับในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย (Web-based Instruction) กำหนดให้มีระบบการจัดการบทเรียน การรับรองกลุ่มผู้ใช้ 3 กลุ่ม คือ ผู้ดูแลระบบ ผู้สอน และ ผู้เรียน ช่วยให้การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอนผ่านเว็บไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสำหรับ สถาบันการศึกษา หรือครู เพ/ือใช้เตรียมแหล่งข้อมูล กิจกรรม และเผยแพร่แบบออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต สามารถนำไปใช้ได้ทั6งองค์กรระดับ มหาวิทยาลัย โรงเรียน สถาบัน หรือครูสอนพิเศษ จากการวิจัยพบว่าในประเทศไทยมีการใช้งานโปรแกรม MOODLE แล้วประมาณ 90 % โครงการ เก/ียวกับการศึกษา อาทิ โรงเรียนในโครงการโรงเรียนในฝันได้มีการจัดอบรมและเลือกใช้โปรแกรมดังกล่าว ใน 921 โรงเรียนในโครงการ รวมไปถึงโครงการ SEQIP ท/ีได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก ส่งเสริมให้ มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในประเทศไทย โดยมีโรงเรียนร่วมโครงการอีก 150 โรงเรียน MOODLE เป็นโปรแกรมเสรีภายใต้สัญญานุญาต GNU/GPL :ซึ/งสามารถนำมาใช้ได้โดยไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการจัดซื6อ เป็นโปรแกรมท/ีใช้งานง่ายและสะดวกต่อผู้ใช้เป็นอย่างยิ/ง เป็นโปรแกรมท/ีมีการ พัฒนาอย่างต่อเน/ือง นอกจากนี6ด้วยคุณสมบัติของระบบการจัดการคอร์สของ Moodle จึงทำให้ MOODLE สามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในงานหลายแขนง ไม่ว่าจะเป็น e-Traning, e-Office หรือนำไปสู่การใช้งานในระดับบริหาร จัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ขององค์กรในที/สุด 1.3 คุณลักษณะการใช้งานของ MOODLE 1.3.1 MOODLE สารมารถแบ่งระบบการใช้งานออกเป็น 3 ส่วนคือ ระบบจัดการผู้ใช้ คือ การจัดการด้านข้อมูลของผู้ใช้งาน โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ผู้ดูแลระบบ ผู้สอน ผู้เรียน สามารถกำหนดสิทธิsของผู้ใช้แต่ละคนในการใช้งาน การจัด กลุ่มการเรียนของผู้เรียน บันทึกข้อมูลของผู้เรียน วัน เวลา จำนวนครั6งในการใช้งาน กิจกรรมท/ีผู้เรียนทำในแต่ละครั6ง เป็นต้น
  • 8. 3 ระบบจัดการการเรียน คือ การจัดการด้านข้อมูล เนื6อหาการเรียน และกิจกรรมในการเรียน เช่น การสร้างรายวิชา สร้างบทเรียนบน MOODLE การ Upload file กำหนดระยะเวลาใน การเรียน กำหนดวิธีการเรียน กิจกรรมในการเรียนการสอน การสั/งงานและการส่งงาน การ วัดและประเมินผล การสร้างข้อสอบ ซึ/งสามารถสร้างได้ถึง 9 ประเภท คือ ปรนัย ถูกผิด อัตนัย เติมคำตอบด้วยตัวเลข คำนวณ จับคู่ คำอธิบาย สุ่มสร้างคำถามจับคู่จากอัตนัย เติมคำ ในช่องว่าง และช่วยในการเรียน เช่น อภิธานศัพท์, การ Search หาข้อมูล, แหล่งข้อมูล เพิม/เติม เป็นต้น ระบบจัดการการส/ือสาร คือ เคร/ืองมือด้านการส/ือสารท/ีมีอยู่ในระบบของ MOODLE มี หลายรูปแบบเพ/ือให้เกิดการส/ือสารท/ีมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับ ผู้เรียน และผู้สอนกับผู้สอนด้วยกันเอง เช่น การChat, Web-boards สามารถใช้ได้ใน 3 ลักษณะ คือ 1. เพ/ือประกาศข่าวสาร 2. ใช้เพ/ือการอภิปรายในประเด็นต่างๆ 3. ใช้เพ/ือเป็น เคร/ืองมือในการถามตอบ, E-mail ผู้ใช้สามารถส่ง E-mail ถึงกันได้ผ่านระบบของ MOODLE 1.3.2 ความสามารถของ MOODLE เป็นโปรแกรมจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประเภทฟรีแวร์ ท/ี ได้รับการยอมรับกันทัว/โลก สามารถเป็นได้ทั6ง CMS (Course Management System) และ LMS (Learning Management System) ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื6อหา ของผู้สอน พร้อม บริการให้นักเรียนเข้ามาศึกษา และบันทึกกิจกรรมของนักเรียน สามารถสร้างแหล่งข้อมูลใหม่ หรือเผยแพร่เอกสารท/ีทำไว้ เช่น Microsoft Office, Web Page, PDF หรือ Image เป็นต้น ใจกว้าง ไม่หวงวิชา มีเอกสารท/ีเคยรวบรวมไว้ ก็ส่งเข้าไป เผยแพร่ได้โดยง่าย
  • 9. 4 มีระบบติดตอสื/อสาร ระหวางนักเรียน เพื/อนร่่่วมชั6น และผู้สอน เช่น chat หรือ webboard เป็นต้น นักเรียนฝากคำถาม ครูทิ6งคำถามไว้ ครูนัดสนทนาแบบออนไลน์ ครูนัดสอนเสริม หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อน เข้าเรียน ก็ได้ มีระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ท/ีรองรับระบบ ให้คะแนนท/ีหลากหลาย ให้ ส่งงาน ให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแล้ว export ไป excel สำรองข้อมูลเป็น . zip แฟ้มเดียว ในอนาคตสามารถนำไปกู้คืน ลงไปในเคร/ืองใดก็ได้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใช้ MOODLE 1.3.3 องค์ประกอบของ MOODLE ที/โรงเรียนควรมี มี Web Browser เช่น Internet explorer ในการติดต่อกับ MOODLE ทั6งโดยครูผู้สอนและ นักเรียน มี Web Server ที/ให้บริการ php และ mysql มี ผู้ติดตั6ง ผู้ดูแล และบำรุงรักษา ควรทำโดยนักคอมพิวเตอร์ ท/ีท/ีมีประสบการณ์ เก/ียวกับ การติดตั6ง การบำรุงรักษา และการเขียนเว็บ มี ครู นักเรียน และผู้บริหาร ท/ียอมรับในเทคโนโลยีสมัยใหม่ ดังนั6น MOODLE ไม่เหมาะ กับเด็กอนุบาล หรือครูท/ีไม่มีไฟ มี การเช/ือมต่อเป็นระบบเครือข่าย เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ( LAN) 1.3.4 ผู้ท/ีเก/ียวข้องกับ MOODLE ผู้ดูแลระบบ (Admin) : ติดตั6งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ/มต้น และกำหนด สิทธ์การเป็น ครูผู้สอน ผู้สอน ( Teacher) : เพิ/มแหล่งข้อมูล เพิ/มกิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และติดต่อส/ือสาร
  • 10. 5 ผู้เรียน ( Student) : เข้าศึกษาแหลงข้อมูล และทำ่กิจกรรม ตามแผนการสอน ผู้เยย/ีมชม ( Guest) : เข้าเรียนได้เฉพาะวิชาท/ีอนุญาต และจำกัดสิทธ์ ในการทำกิจกรรม 1.4 ประเภทการใช้งานของ MOODLE 1.4.1 กิจกรรม ของ MOODLE SCORM ( แหล่งข้อมูล ท/ีรวม Content จากภายนอก ท/ีเป็นมาตรฐาน) Wiki ( สารานุกรม ท/ียอมให้ผู้เรียนเข้ามาแก้ไข) อภิธานศัพท์ ( Glossary : รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้) ห้องสนทนา ( Chat : ห้องท/ีสามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู และนักเรียน) กระดานเสวนา ( Forum : กระดานให้ครู และนักเรียนเข้ามาฝากความคิดเห็น) การบ้าน ( Assignment : ที/นักเรียนพิมพ์งานแล้วนำมา ห้องปฏิบัติการ ( Workshop : ท/ีนักเรียนทำงาน แล้วส่ง ซึ/งประเมินได้หลายแบบ) ป้ายประกาศ ( Label : แสดงข้อความ เพื/อประกาศให้ทราบ) แบบทดสอบ ( Quiz : สร้างคลังข้อสอบ แล้วเลือกมาให้ทำบางส่วน ระบบสามารถ ทำ อัตโนมัติ) โพลล์ ( Poll : แสดงความคิดเห็นตามตัวเลือก) แหล่งข้อมูล ( Resources : text, html, upload, weblink, webpage, program) 1.4.2 กิจกรรมของครูผู้สอน สมัครสมาชิกด้วยตนเอง และรอผู้ดูแล อนุมัติ ให้เป็นผู้สอน หรือผู้สร้างคอร์ส
  • 11. 6 ผู้สอนสร้างและกาหนดลักษณะของรูํปแบบบทเรียนด้วยตนเอง เพิม/ เอกสาร บทเรียน และลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม ประกาศข่าวสาร หรือนัดสนทนา กับนักเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต สามารถสำรองข้อมูลในวิชา เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้ สามารถกู้คืนข้อมูลท/ีเคยสำรองไว้ หรือนำไปใช้ในเคร/ืองอ/ืน สามารถดาวน์โหลดคะแนนนักเรียนท/ีถูกบันทึกจากการทำกิจกรรม ไปใช้ใน Excel กำหนดกลุ่มนักเรียน เพ/ือสะดวกในการจัดการนักเรียนจำนวนมาก สัง/ยกเลิกการเป็นสมาชิกในวิชา ของนักเรียนท/ีมีความประพฤติ ไม่เหมาะสม ตรวจสอบกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคน เช่น ความถ/ีในการอ่าน แต่ละบท เพิม/รายการนัดหมาย หรือกิจกรรม แสดงด้วยปฏิทิน สร้างเนื6อหาใน SCORM หรือสร้างข้อสอบแบบ GIFT แล้วนำเข้าได้ 1.4.3 กิจกรรมของผู้เรียน สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเอง รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง อ่านเอกสาร หรือบทเรียน ท/ีผู้สอนกำหนดให้เข้าไปศึกษา ตามช่วงเวลาท/ีเหมาะสม ฝากคำถาม หรือข้อคิดเห็น หรือนัดสนทนาระหว่างเพ/ือน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำกิจกรรมตามท/ีได้รับมอบหมาย เช่น ทำแบบฝึกหัด หรือส่งการบ้าน แก้ไขข้อมูล ส่วนตัว ของตนเองได้ อ่านประวัติของครู เพอ/ืนนักเรียนในชั6น หรือในกลุ่ม ดูผลการทำกิจกรรมต่างๆ
  • 12. 7 1.5 การติดตั0ง AppServ 1.5.1 ดาวน์โหลดโปรแกรม AppServ จากเว็บไซต์ http://www.appservnetwork.com โดยเลือกเวอร์ ชัน/ท/ีต้องการติดตั6ง ภาพท/ี 1.1 แสดงหน้าต่างเว็บไซต์เพ/ือดาวน์โหลดโปรแกรม 1.5.2 ดับเบิ6ลคลิกท/ีไฟล์ appserv-win32-x.x.x.exe เพ/ือทำการติดตั6งโปรแกรม จะปรากฏหน้าจอตาม ภาพที/ 1.2 ภาพท/ี 1.2 ขั6นตอนการติดตั6งโปรแกรม AppServ
  • 13. 8 1.5.3 หน้าจอการติดตังโปรแกรมจะแสดงเงื/อนไขการใช้งานของโปรแกร6มหากยอมรับเง/ือนไขให้ กด ปุ่ม I Agree ตามภาพท/ี 1.3 เพ/ือเข้าสู่การติดตั6งในขั6นตอนต่อไป ภาพที/ 1.3 แสดงรายละเอียดเงื/อนไขของโปรแกรม 1.5.4 ขั6นตอนการเลือกปลายทางท/ีต้องการติดตั6ง สามารถเลือกปลายทางท/ีต้องการติดตั6งโดยการ คลิกท/ีปุ่ม Browse แล้วเลือกปลายทางท/ีต้องการ โดยในท/ีนี6ตั6งค่าปลายทางท/ีจะติดตั6งเป็น C:AppServ เม/ือ เลือกปลายทางเสร็จสิ6น ให้กดปุ่ม Next ตามภาพท/ี 1.4 เพ/ือเข้าสู่ขั6นตอนการติดตั6งต่อไป ภาพท/ี 1.4 หน้าต่างการเลือกปลายทางการติดตั6งโปรแกรม
  • 14. 9 1.5.5 เลือก Package Components ท/ีต้องการติดตั6ง โดยปกติค่าเริ/มต้นนั6นจะให้เลือกลงทุก Package ตามภาพท/ี 1.5 โดยรายละเอียดแต่ละ Package มีดังนี6 - Apache HTTP Server คือ โปรแกรมที/ทำหน้าเป็น Web Server - MySQL Database คือ โปรแกรมที/ทำหน้าเป็น Database Server - PHP Hypertext Preprocessor คือ โปรแกรมที/ทำหน้าประมวลผลการทำงานของภาษา PHP - phpMyAdmin คือ โปรแกรมท/ีใช้ในการบริหารจัดการฐานข้อมูล MySQL ผ่านเว็บไซต์ เม/ือทำการเลือก Package ท/ีต้องการเป็นท/ีเรียบร้อยแล้วให้กดปุ่ม Next เพ/ือเข้าสู่ขั6นตอนการติดตั6งต่อไป ภาพท/ี 1.5 หน้าต่างการเลือก Package Components ท/ีต้องการติดตั6ง
  • 15. 10 1.5.6 ขั6นตอนการกำหนดค่า คอนฟิกของ Apache Web Server ตามภาพท/ี 1.6 ซึ/งมีอยู่ 3 ส่วนคือ Server Name คือช่องสำหรับป้อนข้อมูลช/ือ Web Server ของท่าน ในท/ีนี6ใส่ localhost Admin Email คือช่องสำหรับป้อนข้อมูล อีเมล์ผู้ดูแลระบบ HTTP Port คือช่องสำหรับระบุ Port ท/ีจะเรียกใช้งาน Apache Web Server Protocol HTTP โดยทัว/ไปแล้วมีค่าหลักคือ 80 ภาพท/ี 1.6 หน้าต่างแสดงการกำหนดค่าคอนฟิกค่า Apache Web Server 1.5.7 ขั6นตอนการกำหนดค่าคอนฟิกของ MySQL Database ตามภาพท/ี 1.7 มี 3 ส่วนคือ Root Password คือช่องสำหรับป้อน รหัสผ่านการเข้าใช้งานฐานข้อมูลของ Root Character Sets ใช้ในการกำหนดค่าระบบภาษาท/ีใช้ในการจัดเก็บฐานข้อมูล ให้เลือก TIS602 Thai ภาพท/ี 1.7 แสดงการกำหนดค่าคอนฟิกของ MySQL Database
  • 16. 11 1.5.8 ขันตอนสุดท้า6ยของการติดตั6งโปรแกรม AppServ ตามภาพท/ี 1.8 ผู้ใช้จะต้องเลือกว่าต้องการ ให้มีการรัน Apache และ MySQL ทันทีหรือไม่ จากนั6นให้กดปุ่ม Finish เพ/ือเสร็จสิ6นการติดตั6งโปรแกรม AppServ ภาพท/ี 1.8 หน้าต่างแสดงขั6นตอนสิ6นสุดการติดตั6งโปรแกรม AppServ
  • 17. 12 1.6 การติดตั0ง MOODLE 1.6.1 เปิดหน้า Internet Explorer แล้วพิมพ์ http://localhost/ ตามภาพที/ 1.9 ภาพที/ 1.9 หน้าจอแสดงการจัดการฐานข้อมูล 1.6.2 เริ/มการติดตั6ง Moodle โดยพิมพ์ Moodle ต่อจาก http://localhost ตามภาพท/ี 1.10 เพ/ือเข้าสู่ หน้าต่างการติดตั6งโปรแกรม จากนั6นคลิก Next ภาพท/ี 1.10 แสดงหน้าต่างเริ/มต้นการติดตั6งโปรแกรม
  • 18. 13 1.6.3 โปรแกรมจะแสดงหน้าตางรายงานการ่ตรวจสอบการตั6งค่าภาษา php ว่าตั6งค่าต่างๆไว้ถูกต้อง หรือไม่ จากนั6นกดปุ่ม Next ภาพท/ี 1.11 หน้าต่างแสดงการตรวจสอบการตั6งค่า 1.6.4 โปรแกรมแสดงหน้าต่างรายงานพาทเรียกใช้งานและท/ีเก็บตัวติดตั6งโปรแกรม ผู้ติดตั6งต้องใส่ ข้อมูล 3 ส่วนดังภาพท/ี 1.12 Web address ท/ีอยู่ของเว็บไซต์ท/ีจะนำ Moodle ไปใช้ ในท/ีนี6ให้ใส่ http://localhost/moodle Moodle Directory ให้ระบุพาทของไดเรกทอร/ีเต็มๆท/ีใช้ในการติดตั6ง Data Directory ไดเรกทอร/ีข้อมูล ไดเรกทอร/ีนี6จะเป็นท/ีเก็บไฟล์ท/ี moodle จะทำการบันทึกไว้เป็น ข้อมูลของเว็บ ภาพท/ี 1.12 หน้าต่างแสดงการยืนยันท/ีตั6งของการติดตั6ง MOODLE
  • 19. 14 1.6.5 ขันตอนการตังคาฐานข้อมูลที/ใช้66่ในการเก็บข้อมูลของ MOODLE ผู้ติดต6ังจะต้องกำหนด รายละเอียดดังนี6 Type ประเภทฐานข้อมูลท/ีใช้ ในท/ีนี6ใช้ mySQL host server ช/ือโฮส ในท/ีนี6ใส่เป็น localhost Database ใส่ช/ือฐานข้อมูลท/ีสร้างไว้ (จะต้องมีการสร้างไว้แล้วล่วงหน้า) ในท/ีนี6ใส่เป็นMOODLE user ชื/อสมาชิก password รหัสผ่าน Tables prefix คำนำหน้าตาราง ภาพท/ี 1.13 แสดงหน้าต่างกำหนดรายละเอียดฐานข้อมูล 1.6.6 หน้าต่างแสดงการรายงานของระบบ กดปุ่ม Next เพ/ือไปสู่ขั6นตอนต่อไป ภาพท/ี 1.14 แสดงหน้าต่างการรายงานของระบบ
  • 20. 15 1.6.7 ขันตอนการรายงานการดาวน์โหลดชุดภา6ษาเรียบร้อย ให้กดปุ่ม Next เพ/ือไปสู่ขั6นตอนถัดไป ภาพท/ี 1.15 แสดงหน้าต่างการรายงานการดาวน์โหลดภาษา 1.6.8 ระบบจะทำการสร้างไฟล์สำหรับเก็บค่าคอนฟิก คลิกปุ่ม Continue เพ/ือไปสู่ขั6นตอนถัดไป ภาพท/ี 1.16 แสดงหน้าต่างการรายงานการสร้างไฟล์
  • 21. 16 1.6.9 ระบบรายงานเกยวก/ีับลิขสิทธิsของโปรแกรม Moodle ถ้าเข้าใจข้อตกลงให้คลิกปุ่ม Yes ภาพท/ี 1.17 แสดงหน้าต่างการรายงานลิขสิทธิs 1.6.10 ระบบจะรายงานการสร้างตารางข้อมูลต่างๆลงฐานข้อมูล ให้คลิกปุ่ม Continue เพ/ือไปสู่ ขั6นตอนถัดไป ภาพท/ี 1.18 แสดงหน้าต่างการรายงานการสร้างตารางข้อมูล
  • 22. 17 1.6.11 ให้ผู้ติดตังกาหนดรายละเอียด6ํส่วนตัวของผู้ดูแลระบบ แล้วกดปุ่ม update profit ภาพท/ี 1.19 แสดงหน้าต่างการกำหนดรายระเอียดของผู้ติดตั6งระบบ 1.6.12 การตั6งค่าเว็บไซต์ ในหน้านี6ผู้ติดตั6งสามารถกำหนดรูปแบบและเง/ือนไขของเว็บไซต์ได้ และ สามารถเปล/ียนแปลงภายหลังได้ จากนั6นกดปุ่ม save change ภาพท/ี 1.20 แสดงหน้าต่างการกำหนดเล/ือนไขของเว็บไซต์
  • 23. 18 1.6.13 เข้าสู่หน้าเว็บไซต์ท/ีทำการติดตั6งในหน้าเริ/มต้น ภาพท/ี 1.21 แสดงหน้าต่างเว็บไซต์ท/ีสร้างขึ6น
  • 24. 19 บทที 2 การปรับแต่งหน้าหลักของเว็บไซต์ 2.1 การเพมิเข้าสู่ระบบ ( Log in ) 2.1.1 การเพิ/มผู้เรียนเข้าสู่ระบบสามารถทำได้โดยการเปิด internet explorer ขึ6นมาและพิมพ์ช/ือเว็บ บทเรียนออนไลน์ของท่านท/ีช่อง URL ของหน้า internet explorer ในท/ีนี6ใช้ช/ือเว็บ http://www.cs.ssru.ac.th/wasugree ในการแสดงตัวอย่าง หลังจากนั6นให้ admin เข้าสู่ระบบ และคลิกท/ีปุ่ม เริ/มการแก้ไขหน้านี6 ภาพท/ี 2.1 แสดงหน้าต่างเริ/มการแก้ไขในหน้าเว็บไซต์ คลิกท/ีปุ่มเริ/มการ แก้ไขหน้านี6 ใส่ท/ีอยู่เว็บไซต์
  • 25. 20 2.1.2 ไปที/บล็อก คลิกที/ลูกศรที/มีคำวา‚่เพ/ิม เลือกเข้าสู่ระบบ ดังภาพท/ี 2.2 ภาพท/ี 2.2 แสดงบล็อกเพิม/เข้าสู่ระบบ 2.1.3 ระบบจะเพิม/ “บล็อกเข้าสู่ระบบ” ดังภาพ ภาพท/ี 2.3 แสดงบล็อกเข้าสู่ระบบ
  • 26. 21 2.1.4 ย้ายบล็อกไปวางตำแหนงที/เหมาะสม สวนใหญจะแสดงที/่่่ตำแหน่งมุมขวาด้านบน วิธีการย้าย คลิ‚กท/ีลูกศรสีดำจะปรากฏคำว่าเล/ือนขึ6น กดย้ายไปท/ีตามต้องการ ภาพท/ี 2.4 แสดงเคร/ืองมือย้ายตำแหน่งของบล็อก 2.1.5 ระบบจะแสดงตำแหน่งท/ีได้คลิ‚กให้เล/ือนขึ6นไปอยู่บนสุด ดังภาพตัวอย่าง 2.1.6 จบวิธีการเพิม/บล็อก เข้าสู่ระบบ คลิ‚กท/ีลูกศรเพ/ือปรับแต่งตำแหน่งตาม ความเหมาะสม ตำแหน่งท/ี เลื/อนไว้ตามที/
  • 27. 22 2.2 การติดตั0ง Sidebar 2.2.1 เปิด internet explorer พิมพ์ www.moodle.org ระบบจะแสดงหน้าต่างดังนี6 ภาพท/ี 2.5 ภาพแสดงหน้าต่างเว็บไซต์ www.MOODLE.org 2.2.2 คลิ‚กเลือกท/ี Modules and plugins Modules and plugins
  • 28. 23 2.2.3 พิมพ์คำว่า side bar ท/ีช่องค้นหา และกด enter 2.2.4 คลิ‚กซ้ายท/ี side bar block พิมพ์ตรงนี6 เพ/ือ ค้นหา คลิ‚กตรงนี6
  • 29. 24 2.2.5 ระบบจะแสดงผลหน้าจอดังนี6 2.2.6 คลิกซ้ายที/ Download latest version
  • 30. 25 2.2.7 ระบบจะแสดงผลดังหน้าจอที/ปรากฏดังรูป ให้นำเมาส์ไปที/แถบเครื/องมือป้องกันการติดตั6ง ระบบอัตโนมัติ คลิ‚กซ้ายและให้กดคำว่า download file 2.2.8 คลิกที/ Save คลิ‚กซ้าย เลือกข้อความ คลิ‚กท/ีน/ี
  • 31. 26 2.2.9 เลือก save ไว้ใน file ที/เราต้องการ save 2.2.10 ให้คลิ‚กท/ี open และทำการแยกไฟล์ โดยการ extract here
  • 32. 27 2.2.11 ให้ทำการติดตั6ง turbo ftp โดยการเปิด internet explorer และเข้าไปท/ีเว็บไซด์ http://www.cs.ssru.ac.th/innovation และทำการดาวโหลดโปรแกรม turbo ftp 2.2.12 ให้ทำการ save file ตามใจคุณ โปรแกรม turbo ftp
  • 33. 28 2.2.13 ให้ทำการเปิด file โดยคลิ‚กท/ี open และทำการแยกไฟล์ โดยการ extract here และทำการติดตั6ง โปรแกรม 2.2.14 เปิดโปรแกรม turbo ftp ขึ6นมาระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6 ให้ทำการให้ข้อความท/ีช่อง server – login - password – port และระบบจะเริ/มทำการเข้าสู่ระบบ 1.ช่อง server ใส่ช/ือเว็บ 2.ช่อง User ใส่ช/ือผู้ใช้ 3.ช่องPassword ใส่รหัสผ่าน
  • 34. 29 2.2.15 ให้คลิ‚กท/ีช่องด้านซ้ายเลือก fileท/ีเรา save ไว้ เช่น desktop และเลือก side bar ท/ีเป็น folder และ คลิ‚กซ้ายค้างดึงมาใส่ในช่องขาวมือ ก่อนท/ีจะนำมาใส่ในช่องขวามือ ต้องทำการ ดับเบิ6ลคลิ‚กท/ี ไฟล์ blocks ก่อนและ ดึงไฟล์ side bar มาใส่ไว้ในท/ีว่าง รอคอมพิวเตอร์ประมวลผล ก็จบขั6นตอน ระบบประมวลผล เรียบร้อย ดังภาพ 1.เลือกไฟล์ที/ บันทึกไว้ตอนแรก 3.เลือก Side barคลิ‚ก เมาส์ซ้ายค้างและดึงมา ใส่ช่องทางขวามือ ใน ท/ีว่าง 2.ดับเบิ6ลคลิกเลือก คำว่า บล็อค
  • 35. 30 2.2.16 ให้เข้าไปที/ เว็บเว็บไซด์ ที/เราใส่ชื/อไว้ที/ server และจะเห็นคำว่า บล็อค และจะมีคำ ว่าเพิม/ ให้ทำการเลือก side bar คำว่าบล็อค อยู่ด้านบน และกดที/ลูกศรเลือก Side bar
  • 36. 31 2.2.17 ระบบจะปรากฏดังนี6 เป็นอันว่าเสร็จ จะเห็นว่ามี บล็อก Side bar ขึ6นมา
  • 37. 32 2.3 การเพิม Sidebar 2.3.1 เปิด Internet Explorer พิมพ์เข้าไปที/เว็บ http://www.cs.ssru.ac.th/wasugree 2.3.2 ทำการ login เข้าสู่ระบบ ตัวอย่างเช่น
  • 38. 33 2.3.3 ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6 เม/ือภาพขึ6นมา ให้ให้คลิ‚กซ้ายท/ี เริ/มการแก้ไขในหน้านี6 2.3.4 หน้าจอจะแสดงผลดังนี6 ให้เล/ือนลงมาด้านล่างขวามือจะเจอคำว่า Side bar Side bar
  • 39. 34 2.3.5 ให้กดที/ลูกศร เลือก ไฟล์หรือเว็บไซด์ 2.3.6 ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6
  • 40. 35 2.3.7 จากนั6นให้ใส่ข้อความท/ีกล่องข้อความ 2.3.7.1 ช/ือ ตัวอย่างเช่น วิชาฟุตบอล 2.3.7.2 เปิด Internet Explorer ขึ6นมาไปท/ีเว็บไซด์ Google พิมพ์ข้อมูลท/ีต้องการค้นหา วิชา ฟุตบอล วิชาฟุตบอล
  • 41. 36 2.3.7.3 หน้าจอจะแสดงผลดังนี และ6ให้เลือกข้อมูลมาหนึ/งข้อมูล 2.3.7.4 ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6
  • 42. 37 2.3.7.5 ให้ทำ การ copy เว็บไซด์ 2.3.7.6 ให้ทำการ วาง โดยการคลิ‚กขวา วางตรงนี6 นะครับ
  • 43. 38 2.3.7.7 เลือกหน้าต่างใหม่ 2.3.7.8 คลิ‚กซ้ายท/ี Save and return to course
  • 44. 39 2.3.8 ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6 2.3.9 ให้คลิ‚กซ้ายท/ีวิชาฟุตบอล ระบบจะแสดงหน้าจอดังนี6 เป็นอันว่าเสร็จขั6นตอน
  • 45. 40 2.4 การเพิม ป้อนข้อมูลข่าวสารภายใน (RSS) RSS ย่อมาจาก Really Simple Syndication หรือ Rich Site Summary เป็นรูปแบบการนำเสนอ ข่าวหรือบทความให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน xml โดยนำข่าวมาแสดงเฉพาะหัวข้อ และสามารถคลิกดู รายละเอียดของข่าวจากเว็บไซต์ต้นฉบับนั6นได้อีกทั6งเม/ือข่าวถูกupdate จากเว็บไซต์ต้นฉบับ หน้าเว็บไซต์ท/ี ดึงข่าวมาแสดงจะ update ข่าวตามเว็บไซต์ต้นฉบับนั6นโดยอัตโนมัติ ประโยชน์ของ RSS 1. ลดข้อจำกัดในการคัดลอกข้อมูลในเว็บไซต์ เพราะข้อมูลมาจากแหล่งเดียวกัน 2. ผู้สร้างเว็บไซต์ไม่ต้องทำหน้าแสดงผลข่าว เพราะสามารถดึงข่าวมาได้โดยอัตโนมัติ 3. ผู้ใช้ทัว/ไป ไม่ต้องเข้าไปท/ีหลาย ๆ เว็บไซต์เพ/ือดูข่าวใหม่ ๆ เพราะข้อมูลท/ีถูก update จากเว็บต้นฉบับนั6น จะถูกดึงมาแสดงที/หน้าเว็บไซต์ที/แสดงผลโดยอัตโนมัติ 2.4.1 มาเพิม/ท/ีบล็อค 2.4.2 แล้วหน้าจอจะออกมาในลักษณะนี6 เลือกตรงนี6 เลือกป้อนข้อมูล ข่าวสารภายใน
  • 46. 41 2.4.3 จะได้บล็อกใหม่ 2.4.4 จะได้หน้านี6 เลือกแก้ไข เลือกจัดการป้อนข่าว
  • 47. 42 2.4.5 จะได้หน้านี6 ใส่หัวข้อข่าวของ www. 2.4.6 อาจจะหาข่าวจาก www.Manager.co.th ท/ีมี RSS อยู่ ตัวอย่างเช่น ใส่ช/ือ www. ท/ีต้องการ คลิกที/ RSS เลือกเพิม/
  • 48. 43 2.4.7 จะได้หน้านี6 2.6.8 มาใส่ในหน้านี6 ให้ COPY www.ในส่วนนี6ไปใส่ ช่องลิงก์ URL ของ แหล่งข่าวข้อมูล ในตั6งค่าบล็อคข้อมูลข่าวสารภายใน www. ที/หามาได้ หัวข้อข่าว เลือก
  • 49. 44 2.4.9 จะได้หน้านี6 2.4.10 จะได้หน้านี6 แหล่งข่าวจะเพิม/เข้ามา เลือกท/ี ตั6งค่าบล็อค เลือกตรงนี6 ใส่ช/ือหัวข้อข่าว เลือกบันทึกการเปลี/ยนแปลง
  • 50. 45 2.4.11 และจะได้บล็อกข่าวสารภายใน RSS ดังนี6 จบการเพมิการป้อนข้อมูลข่าวสารภายใน (RSS)
  • 51. 46 2.5 การประกาศข่าว เลือกตั6งหัวข้อใหม่
  • 52. 47 ใส่เนื6อหารายละเอียด การประกาศข่าวสาร จะได้หน้านี6 ใส่หัวข้อข่าว แนบไฟล์ต่างๆหรือรูปภาพ เลือกโพสต์ลงกระดานเสวนา
  • 55. 50 2.5 การจัดการปฏิทิน บล็อกปฏิทิน เป็นการแสดงปฏิทินและยังใช้เป็นปฏิทินกจกรรมได้อีกด้ิวย โดยจะแสดงให้เห็น กิจกรรมต่าง ๆ ท/ีเรากำหนดไว้ 2.5.1 เข้าไปท/ีเว็บไซด์ของเรา (ในท/ีนี6จะยกตัวอย่างมา 1 เว็บไซด์) เล/ือนหาปฏิทิน เม/ือได้แล้วคลิก เลือกที/เดือนในปฏิทิน 2.5.2 พอออกมาเป็นหน้านี6 ให้คลิกท/ีกิจกรรมใหม่
  • 56. 51 2.5.3 จากนันดูที/ประเภทของกจกรรมให้คลิกเลือกที/กจกรรมของเว็บ6ิิไซด์ แล้วคลิกเลือกท/ี เรียบร้อย 2.5.4 จากนั6นจะออกมาเป็นหน้านี6
  • 57. 52 2.5.5 จากนันให้ใสชื/อของกจกรรมที/ต้องการให้ทำ ใสคำอธิบายวา6ิ่่่ต้องการจะให้ทำอะไร ใส่ วันท/ีท/ีต้องการให้ทำกิจกรรม ใส่ระยะเวลาว่าจะระบุช่วงระยะเวลาหรือไม่ระบุ และให้ใส่ลงไปว่าจะให้ กิจกรรมนี6จัดซ6ำหรือไม่ สร้างพร้อมกันก/ีกิจกรรม หลังจากนั6นเสร็จแล้วคลิกเลือกท/ีบันทึกการเปล/ียนแปลง 2.5.6 ในท/ีนี6จะยกตัวอย่างให้เห็นชัด 1 กิจกรรมคือกิจกรรม “ท่อง A-Z หลังเลิกเรียน” ตรงช่อง ช/ือของกิจกรรมก็จะใส่คำว่าท่อง A-Z และคำศัพท์ภาษาอังกฤษหลังเลิกเรียน จากนั6นใส่คำอธิบายลงไปว่า ให้นักเรียนทุกคนท่อง A-Z และคำศัพท์ภาษาอังกฤษหลังเลิกเรียนก่อนกลับบ้าน ลงวันท/ี 29 กันยายน 2551 เวลา 15.30 น. ใส่ระยะเวลาเป็น 5 นาที ไม่มีการจัดซ6ำ ก็จะออกมาเป็นในลักษณะแบบนี6
  • 58. 53 2.5.7 ถ้าต้องการจะสร้างกจกรรมใหม ให้เข้าไปที/กจกรรมใหมอีกครัิิ่่6งแล้วทำขั6นตอนต่าง ๆ เหมือนเดิม ถ้าต้องการลบกิจกรรมก็สามารถเข้าไปลบได้โดยคลิกเลือกท/ีเคร/ืองหมายกากบาทสีแดง เข้าไป ยืนยันการลบ จากนั6นก็เสร็จสิ6นการทำการจัดการปฏิทิน
  • 59. 54 2.6 การเพิม Themes 2.6.1 เม/ือต้องการเพิม/ Themes ให้เข้าไปเลือก Themes ท/ีต้องการจะเพิม/ก่อน โดยคลิกเข้าไปท/ีเว็บ ไซด์ www.moodle.org พอคลิกเข้าไปแล้วก็จะออกมาเป็นหน้านี6 จากนั6นคลิกเข้าไปท/ี Themes 2.6.2 พอคลิกเข้าไปก็จะออกมาเป็นหน้านี6 ให้คลิกเข้าไปเลือก Download เพ/ือ Download Themes ท/ี ต้องการ (ในท/ีนี6จะยกตัวอย่าง Themes ท/ีช/ือ ability to lean) ให้คลิกเข้าไปท/ี Download
  • 60. 55 2.6.3 จากนันกจะออกมาเป็นหน้านี แล้6็6วให้คลิกเข้าไปท/ี Download อีกครั6ง 2.6.4 พอออกมาเป็นหน้านี6แล้ว ให้คลิกท/ี Save เพ/ือบันทึก Themes ท/ีดาวน์โหลดมา
  • 61. 56 2.6.5 พอคลิก Save Themes ที/ดาวน์โหลดมาแล้ว ให้ดูตรงที/ Save in ให้คลิกเลือกเข้าไปว่าจะ Save ไว้ท/ีไหน (ในท/ีนี6จะเลือก Save ไว้ท/ี Desktop) จากนั6นเลือก Save 2.6.6 จากนั6นคลิกเลือกท/ี Close เพ/ือปิดการ Save Themes ออกไป
  • 62. 57 2.6.7 จากนั6นคลิกปิดหน้าต่างเว็บไซด์ moodle ออกไป แล้วไปเปิดไฟล์ท/ีเรา Save Themes เอาไว้ (ซึ/งในท/ีนี6 Save Themes ไว้บน Desktop) ก็จะออกมาเป็นหน้านี6 2.6.8 คลิกเลือก Themes ท/ีเรา Save ไว้ (ซึ/งจะเป็นไฟล์ zip) แล้วคลิกขวาเลือก Extract Here เพ/ือทำ การแตกไฟล์ออกมา
  • 63. 58 2.6.9 พอหลังจากแตกไฟล์ออกมาแล้วกจะมี็ไฟล์ใหม่ท/ีเป็นช/ือของ Themes ท/ีเราเลือกออกมา ก็จะ ได้แบบนี6 2.6.10 จากนั6นให้ดับเบิ6ลคลิกเปิดดูว่าไฟล์ท/ีแตกออกมาอยู่ในลักษณะท/ีถูกซ่อนเอาไว้อีกชั6นหรือไม่ แต่ถ้าหากเปิดออกมาแล้วเป็นชั6นเดียวไม่มีซ่อนอยู่ถือว่าใช้ได้ ก็จะออกมาในลักษณะนี6 แล้วจากนั6นก็ปิด หน้าต่างนี6ออกไป
  • 64. 59 2.6.11 จากนี6เราจะไปอัพโหลด Themes ท/ีเลือกเข้าไปในโปรแกรม Turbo FTP เม/ือดับเบิล6คลิกเข้าไป แล้วก็จะออกมาในหน้านี6 ให้คลิกเลือก OK 2.6.12 จากนั6นให้คลิกเลือก Close
  • 65. 60 2.6.13 ก็จะออกมาเป็นหน้านี6 จากนั6นใส่ Server ใส่ login ใส่ password ตามช/ือต่าง ๆ ท/ีตั6งขึ6นในครั6ง แรกท/ีเราทำการสร้างเว็บไซต์ของเราท/ีเรามี พอใส่ทุกอย่างครบแล้วให้คลิกเลือก Go 2.6.14 พอคลิกเลือก Go แล้วก็จะออกมาเป็นหน้านี6 ให้คลิกเลือก OK
  • 66. 61 2.6.15 จากนั6นก็จะออกมาเป็นหน้านี6 แล้วเข้าไปดับเบิ6ลคลิกเลือก Themes ท/ีอยู่ทางฝั/งขวามือ เม/ือ ดับเบิ6ลคลิกเข้าไปแล้วก็จะออกมาเป็นแบบนี6 2.6.16 จากนั6นคลิกเลือกช/ือท/ีเรา Save Themes เอาไว้อยู่ทางฝั/งซ้ายมือ (ซึ/งในท/ีนี6เรา Save ไว้บน Desktop เราก็ต้องคลิกเลือก Desktop) จากนั6นให้คลิกลาก Themes ท/ีเราต้องการหรือท/ีเรา Download มา นัน/เอง ซึ/งในท/ีนี6เรา Save ไว้บน Desktop ท/ีอยู่ทางฝั/งซ้ายมือ คลิกลากไปวางในท/ีว่างทางฝั/งขวามือ
  • 67. 62 2.6.17 เมื/อเสร็จแล้วก็จะออกมาเป็นแบบนี6 จากนั6นคลิกเลือก Yes เพ/ือรอการอัพโหลด 2.6.18 เม/ือทำการอัพโหลดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกปิดหน้าต่างโปรแกรม Turbo FTP ออกไป จากนั6นจะเข้าไปในเว็บไซด์ของเราเพ/ือเปล/ียนThemes ท/ีเราต้องการ แล้วเข้าสู่ระบบหรือ login เข้าสู่เว็บไซด์ ของเราให้เรียบร้อย (ในท/ีนี6จะยกตัวอย่างเว็บไซด์ท/ีทำขึ6นมา 1 เว็บไซด์)
  • 68. 63 2.6.19 เมื/อเข้าไปในเว็บไซด์ได้แล้วให้เลื/อนแถบเลื/อนหาการจัดการระบบ จากนั6นให้คลิกเลือกท/ีการ แสดงผลของเว็บ แล้วคลิกเลือกที/รูปแบบเว็บ สุดท้ายคลิกเลือกที/เลือกรูปแบบเว็บ 2.6.20 จากนั6นก็จะออกมาเป็นหน้านี6 แล้วเล/ือนหา Themes ท/ีเราต้องการหรือท/ีเรา Download มาแล้ว อัพโหลดเข้ามาเรียบร้อยแล้ว (ในท/ีนี6เรา Download Themes ท/ีช/ือ Ability to Learn)
  • 69. 64 2.6.21 เมื/อหาเจอแล้วเราอาจจะคลิกเลือกที/แสดงตัวอย่างดูก่อนก็ได้ว่าใช่ Themes ท/ีเราต้องการ อยากจะได้จริง ๆ หรือไม่ ถ้าใช่คลิกเลือกท/ีเลือกได้เลย (ถ้ายังไม่ต้องการให้เลือกเปิดดู Themes ท/ีมีอยู่ในเว็บ หรือไปดาวน์โหลดมาใหม่ก็ได้) 2.6.22 เม/ือทำการเลือกเรียบร้อยแล้ว ก็จะออกมาเป็นบันทึกรูปแบบเว็บแล้ว จากนั6นให้คลิกเลือกท/ีขั6น ต่อไป
  • 70. 65 2.6.23 พอออกมาเป็นแบบนี ก6็ถือว่าเสร็จเรียบร้อย
  • 71. 66 บทที 3 การจัดการกับรายวิชา 3.1 การเพิมประเภทวิชา 3.1.1. เข้าเว็บไซด์ www.cs.ssru.ac.th/เข้าเว็บไซด์ของตนเอง จะปรากฏหน้าเว็บไซด์ดังนี6 3.1.2. ใส่ช/ือผู้ใช้ ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ 2. ใส่ชือผู้ใช้ ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ 1. พิมพ์เข้าเว็บไซด์ ของตนเอง
  • 72. 67 3.1.3. เมื/อเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริมการแก้ไขในหน้านี0 3. เม/ือเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริมการแก้ไขในหน้านี0
  • 73. 68 3.1.4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิก รายวิชาทั0งหมด และคลิก เพมิ/แก้ไขรายวิชา 4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิก รายวิชาทั0งหมด และ คลิก เพิม/แก้ไขรายวิชา
  • 74. 69 3.1.5. พิมพ์ประเภทของรายวิชาในช่องเพิมประเภท 5. พิมพ์ประเภท ของรายวิชาใน ช่องเพิมประเภท
  • 75. 70 3.1.6. แล้วคลิก ปุ่มเพมิประเภท 6. แล้วคลิก ป่มุ เพิมประเภท
  • 76. 71 3.2 การเพิมรายวิชา 3.2.1. พิมพ์ชื/อรายวิชาลงในชองเปลี/่ยนช/ือ แล้วคลิกเพิม/รายวิชา พิมพ์รายชื/อ วิชา คลิกเพิม/รายวิชา
  • 77. 72 3.2.2. จะปรากฏหน้าเว็บไซด์ดังนี6 3.2.2.1 เลือกประเภทรายวิชาลงในช่องประเภท 3.2.2.2 พิมพ์ช/ือรายวิชาลงในช่องช/ือเต็ม 3.2.2.3 พิมพ์ช/ือย่อ พิมพ์รหัสรายวิชา 3.2.2.4 คลิกช่องรูปแบบ กำหนดรูปแบบตามต้องการ 2.1 เลือกประเภท (กลุม่ สาระวิทยาศาสตร์) 2.2 พิมพ์รายชื/อ วิชา 2.3 พิมพ์รหัสวิชา
  • 78. 73 3.2.3. เมื/อกาหนดรูปแบบตามต้องการแล้ว คลิํกบันทึกการเปล/ียนแปลง 3. คลิกบันทึกการ เปลี/ยนแปลง
  • 79. 74 3.3 การเพมิผู้สอน 3.3.1 เข้าเว็บไซด์ www.cs.ssru.ac.th/เข้าเว็บไซด์ของตนเอง จะปรากฏหน้าเว็บไซด์ดังนี6 1.พิมพ์เข้าเว็บไซด์ของตนเอง
  • 80. 75 3.3.2.ใส่ช/ือผู้ใช้ ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ 3.3.3. เม/ือเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริมการแก้ไขในหน้านี0 2.ใส่ช/ือผู้ใช้ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ 3. เม/ือเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริ/มการแก้ไขหน้านี6
  • 81. 76 3.3.4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิก สมาชิก และ คลิก บัญชีผู้ใช้ 4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิกสมาชิก และคลิกบัญชีผู้ใช้ 3.3.5.คลิกทีเพิมสมาชิก 5. คลิกท/ีเพิม/สมาชิก
  • 82. 77 3.3.6. พิมพ์ชือผู้ใช้ และ รหัสผ่านใหม่ ขอให้กำหนดเป็นภาษาอังกฤษเพ/ือความสะดวกในการ Login ขั0นตอนการพิมพ์ ชือ นามสกุล ให้ใส่ช/ือนามสกุลของผู้สอนเป็นภาษาไทย อีเมล์ ต้องใส่อีเมล์ท/ีไม่ซ6ำกับท/ีสมัครไปแล้ว จังหวัด ให้ใส่จังหวัดท/ีเราอยู่ ในท/ีนี6ให้ใส่ กรุงเทพมหานคร เลือกประเทศ ให้ใส่ประเทศท/ีเราอยู่ ในท/ีนี6ให้เลือกเป็น ไทย รายละเอียด ให้พิมพ์ ช/ือ-นามสกุล ลงไปในช่องป้อนข้อมูล รูปภาพ ให้กดปุ่ม Browse เพ/ือเลือกรูปภาพของผู้สอน แล้ว คลิกท/ีปุ่ม อัพเดทประวัติส่วนตัว ท/ีอยู่ด้านล่าง 3.3.6. พิมพ์ชือผู้ใช้ และ รหัสผ่านใหม่ ขั0นตอนการพิมพ์ชือ นามสกุล
  • 83. 78 3.3.7. จากนั6นให้ไปกำหนดรายวิชาให้กับผู้สอนโดยไปท/ี การจัดการระบบ - คลิกทีแก้ไขรายวิชา ไปทีการจัดการระบบ คลิกทีแก้ไขรายวิชา
  • 84. 79 3.3.8.หลังจากนั6นให้ คลิกท ีนาฏศิลป์ไทย 8. คลิกท ีนาฏศิลป์ไทย
  • 85. 80 3.3.9. คลิกที/ ประเภทรายวิชา นาฏศิลป์ไทย 3.3.9.1 คลิกที/ Assign roles 3.3.9.2 คลิกที/ประเภทรายวิชานาฏศิลป์ คลิกที ประเภท รายวิชา นาฏศิลป์ 9.1. คลิกที assign roles
  • 86. 81 3.3.10.จากนั6นเลือกท/ีช/ือของผู้สอนท/ีต้องการแล้วคลิกปุ่ม เพิม/ ช/ือผู้สอนจะไปอยู่ทางซ้ายมือ คลิกท ีปุ่มเพมิ
  • 87. 82 3.4 การเพมิผู้เรียน โดยรูปแบบนำเข้าจากfile 3.4.1. เข้าเว็บไซด์ www.cs.ssru.ac.th/เข้าเว็บไซด์ของตนเอง จะปรากฏหน้าเว็บไซด์ดังนี6 1.พิมพ์เข้าเว็บไซด์ของตนเอง
  • 88. 83 3.4.2.ใส่ช/ือผู้ใช้ ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ 2.ใส่ช/ือผู้ใช้ใส่รหัสผ่าน และคลิกเข้าสู่ระบบ
  • 89. 84 3.4.3. เมื/อเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริมการแก้ไขในหน้านี0 3. เม/ือเข้าสู่ระบบให้คลิกปุ่ม เริ/มการแก้ไขหน้านี6
  • 90. 85 3.4.4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิก สมาชิก และ คลิก บัญชีผู้ใช้ 4. เข้าสู่การจัดการระบบ คลิกสมาชิก และคลิกบัญชีผู้ใช้
  • 91. 86 3.4.5. จากนั6น คลิก อัพโหลดสมาชิก และคลิกทเีครืองหมาย? 5. คลิกอัพโหลดสมาชิก 5.1. คลิกท/ีเคร/ืองหมายนี6
  • 92. 87 3.4.6. หน้าจอจะปรากฏดังนี6 - Dragคลุม เลือกรูปแบบอย่างสั0น และคลิกขวาcopy 6. Dragคลุม เลือกรูปแบบอย่าง สั0น และคลิกขวา copy
  • 93. 88 3.4.7. ไปที/ Start Programs Accessories Notepad และคลิกขวา Paste 7. คลิกขวา pasteตรงส่วนนี0
  • 94. 89 3.4.8. พิมพ์ข้อความตามหัวข้อท/ีกำหนดไว้ 8. พิมพ์รายชื/อผู้เรียนตามหัวข้อ
  • 95. 90 3.4.9. คลิกที File และ คลิก save หน้าจอจะปรากฏดังนี0 - เปลียนลักษณะการ save ตรง Encoding เป็น UTF-8 - และตั0งชือ file ทเีราจะ save 9. คลิกเลือก UTF-8และกด save
  • 96. 91 3.4.10. ขั6นตอนสุดท้ายกด Browse ท/ีหน้าเว็บไซด์ดังท/ีปรากฏอยู่ท/ีขั6นตอนท/ี 5 - แล้วคลิกที/อัพโหลด 10. คลิก browse 10.1. กดอัพโหลด
  • 98. 93 บทที 4 การจัดการเรียนการสอน 4.1 การเพิม Sidebar ในรายวิชา หัวกระดานหรือ ท/ีเรียกว่า Sidebar มีสำหรับให้อาจารย์ ตั6งหัวข้อเพ/ือให้นักศึกษาเข้ามาใช้งานโดย สามารถปรับเปล/ียนได้ดังนี6 1. เข้าไปในบล็อกเลือกเพิม/แหล่งข้อมูล 2. เข้าไปในกิจกรรมเลือกกิจกรรมท/ี ต้องการเพิม/ 1 2 3 4 5 8 9 10 12 14 11 13
  • 99. 94 ประเภทของแหล่งข้อมูล การจัดกิจกรรม Sidebar ในรายวิชา สามารถรองรับประเภทแหล่งข้อมูลท/ีแตกต่าง กัน ซึ/งคุณสามารถแทรกเนื6อหาจากเว็บได้เกือบทุกประเภทเข้าสู่รายวิชาของคุณ ในรายวิชา ประกอบไปด้วย กิจกรรมต่างๆ ท/ีสามารถใช้ในรายวิชาได้ดังต่อไปนี6 Labels (แทรกฉลาก) Label แตกต่างจากแหล่งข้อมูลอ/ืนเล็กน้อย เพราะประกอบไปด้วยข้อความและรูปภาพซึ/ง กำหนดไว้ตายตัวและไม่อาจแก้ไขได้ This is a not a true activity - it is a dummy activity that allows you to insert text and graphics among the other activities on the course page. ส่วนนี6ไม่ใช่กิจกรรมท/ีเกิดขึ6นจริง เป็นเพียง กิจกรรมทดลอง ให้แทรกข้อความและกราฟฟิค สู่กิจกรรมอ/ืนๆ บนหน้ารายวิชา Questionnaire The questionnaire module allows you to construct questionnaires (surveys) using a variety of question types, for the purpose of gathering data from users. It is based on phpESP, and Open Source questionnaire tool (see: http://phpesp.sourceforge.net). SCORM packages โปรแกรม SCORM A SCORM package is a bundle of web content packaged in a way that follows the SCORM standard for learning objects. SCORM เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปท/ีรวมเนื6อหาบนเว็บเข้าไว้ด้วยกัน ซึ/งเขียนให้ใช้งานได้ทันที ตามมาตรฐาน SCORM สำหรับการเรียนออนไลน์ These packages can include web pages, graphics, Javascript programs, Flash presentations and anything else that works in web 1 2 3
  • 100. 95 browsers. The SCORM module allows you to easily upload any standard SCORM package and make it part of your course. โปรแกรมเหล่านี6สามารถรวมเอาเว็บเพจ กราฟฟิค โปรแกรม Javascript พรีเซ็นเตชัน/ท/ีสร้าง จากโปรแกรม Flash และเนื6อหาอ/ืนๆ ท/ีทำงานได้กับ web browser ต่างๆ โมดูล SCORM จะทำ ให้คุณอัพโหลดโปรแกรมมาตรฐานของ SCORM และใช้ประกอบเป็นส่วนหนึ/งของรายวิชาท/ี คุณสอนได้ง่ายกว่าเดิม Wikis ช่วยให้ผู้แต่งสามารถรวบรวม โดยภาษา mark up ท/ีใช้ผ่าน web browser. Wiki wiki เป็นภาษาฮาวายหมายถึง เร็วมาก เพราะด้านหนึ/งของเทคโนโลยี wiki ท/ี ออกแบบมาคือเน้นเร/ืองการสร้างและแก้ไขเอกสารได้อย่างรวดเร็วทันใจ ปกติเวลาสร้างหรือ แก้ไขหน้าเว็บเพจจะไม่มีหน้าตัวอย่างให้เห็นก่อน จะต้องทำการ save ค่า ท/ีทำการสร้างหรือ แก้ไขไปก่อน และระบบจะเปิดให้ทุกคนเข้ามาทำงานได้ ระบบเปิดให้ผู้เก/ียวข้องสามารถมา ทำงานร่วมกันได้ เพ/ือเพิ/ม หรือเปล/ียนแปลงเนื6อหา และเวอร์ชั/นก่อนจะไม่ถูกลบไป และ สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก โมดูลนี6นำมาจากErfurt Wiki. กระดานเสวนา กระดานเสวนาหรือท/ีเรียกว่า Webboard มีสำหรับให้อาจารย์ตั6งหัวข้อเพ/ือให้นักศึกษาเข้ามา แสดงความคิดเห็นหรือแลกเปล/ียนความคิดเห็นกันในหัวข้อนั6นๆ ซึ/งจะอยู่ในส่วนของการเพิ/ม กิจกรรม เท่าท/ีผ่านมา ส่วน กระดานเสวนา นี6เห็นจะเป็นส่วนท/ีสำคัญท/ีสุดเพราะการสนทนา แลกเปล/ียน จะเกิดขึ6นในส่วนนี6 เม/ือท่านเพิ/มส่วน กระดานเสวนา เข้าใน รายวิชา ท่านจะต้อง เลือกชนิดของ กระดานเสวนา ว่าจะให้ กระดานเสวนา นี6เป็น กระดานเสวนา แบบไหน จะเป็น 4 5
  • 101. 96 แบบหัวข้อเดียว (single-topic discussion) แบบเปิด (free-for-all general forum) หรือ แบบหนึ/ง หัวข้อสนทนาต่อหนึ/งสมาชิก (one-discussion-thread-per-user) กระดานเสวนานี6ถือเป็นส่วนท/ีสำคัญท/ีสุด เน/ืองจากเป็นท/ีท/ีมีกิจกรรมเกิดขึ6นมากท/ีสุด การจัด โครงสร้างของกระดานเสวนาสามารถทำได้หลายแบบ สามารถที/จะให้เพื/อนมาให้คะแนน สำหรับการโพสต์ การตั6งกระทู้หรือการตอบกระทู้สามารถถูกจัดในหลายรูปแบบ รวมไปถึง สามารถแนบไฟล์ได้ และด้วยการสมัครเป็นสมาชิกของกระดานเสวนา สมาชิกก็จะได้รับ สำเนาการตอบกระทู้หรือตั6งกระทู้ใหม่โดยทางอีเมล อาจารย์ผู้สอนสามารถเป็นผู้จัดการเร/ือง การสมัครสมาชิกได้เช่นกันหากต้องการเช่นนั6น กิจกรรมในกระดานเสวนา 1. อนุญาตให้ตั6งกระทู้ 2. การแนบไฟล์ 3. ประเภทของกระดานเสวนา 4. ขนาดไฟล์สูงสุดที/อัพโหลดได้ 5. การให้คะแนน 6. จำนวนโพสต์ล่าสุดท/ีต้องการแสดงใน RSS 7. การใช้ RSS ในกระดานเสวนา 8. การสมัครสมาชิก 1. การอนุญาตให้โพสต์ใหม่ ตัวเลือกนี6จะทำให้ คุณสามารถบังคับการโพสต์ข้อความใหม่ ในกระดานสนทนาได้ กระดานสนทนาส่วนมาก ไม่ต้องการบังคับ ให้เลือกตัวเลือกท/ีหนึ/ง จะทำให้นักเรียน สามารถ ตั6งหัวข้อกระทู้และโพสต์คำตอบในหัวข้อของกระทู้แต่ละหัวข้อได้อย่างอิสระ บางครั6ง คุณอาจไม่ต้องการเปิดอิสระ ตัวอย่างเช่น กระดานสนทนาใหม่ท/ีคุณต้องการ ให้ ครูเป็นผู้โพสต์ข้อความ ซึ/งจะไปปรากฎในหน้ากระดานหลักของวิชา ให้เลือกตัวเลือกท/ี สาม ห้ามตั6งกระทู้ ห้ามโพสต์คำตอบ
  • 102. 97 บางครัง คุณอาจต้องการให้ครูเป็นผู้ตังกระทู้เทานัน โดยอนุญาตให้น66่6ักเรียนสามารถ โพสต์ คำตอบได้ (ตัวอย่างดังเห็นในกระดานสนทนาในหน้ากระดานหลัก) กรณีนี6ให้เลือก ตัวเลือกท/ีสอง ห้ามตั6งกระทู้แต่โพสต์คำตอบได้ 2. การแนบไฟล์ คุณสามารถเลือกไฟล์จากคอมพิวเตอร์คุณแนบลงไปในโพสต์ของคุณได้ โดยไฟล์จะถูก อัพโหลดไว้บนเซิร์ฟเวอร์พร้อมกับโพสต์ของคุณ วิธีนี6มีประโยชน์ในกรณีท/ีคุณต้องการ แชร์ภาพ หรือ เอกสาร กับคนอ/ืนๆ สามารถแนบไฟล์ได้ทุกประเภท แต่ควรใช้ไฟล์ท/ีมีนามสกุลสามตัว เช่น .doc .jpg .png เพราะทำให้ง่ายต่อการดาวน์โหลด และสามารถดูได้บน เว็บ บราวเซอร์ ถ้าหากคุณต้องการแก้ไขโพสต์ และ แนบไฟล์ใหม่ ไฟล์เก่าของคุณ จะถูกแทนท/ีด้วยไฟล์ ใหม่นี6 ถ้าหากแก้ไขโพสต์ แต่ไม่ได้แก้ไข ช่องแนบไฟล์ ไฟล์เก่าท/ีคุณแนบไว้ ก็จะยังคงอยู่ 3. ประเภทของกระดานเสวนา ประเภทของกระดานเสวนานั6นมีหลายประเภทให้เลือกระบุ ดังนี6 กระดานหัวข้อเดียวอย่างง่าย เป็นกระทู้ท/ีมีหัวข้อเดียว และเนื6อหาทุกอย่างอยู่ภายในหน้า เดียวกัน กระทู้ประเภทนี6เหมาะสำหรับเร/ืองท/ีส6ันและกระชับ กระดานทัว/ไป เป็นกระดานเสวนาแบบปลายเปิด ซึ/งแต่ละคนท/ีเข้ามาตอบ จะสามารถตั6ง หัวข้อใหม่ได้ กระดานเสวนาประเภทนี6เหมาะท/ีสุดสำหรับกระดานเสวนาท/ีมีวัตถุประสงค์ ทัว/ไป หนึ/งคนหนึ/งกระทู้ ในกระดานเสวนาประเภทนี6 แต่ละคนจะโพสต์กระทู้ในหัวข้อของตน (แต่ทุกคนจะสามารถตอบได้ทุกกระทู้) ฟอรั/มแบบนี6จะเป็นประโยชน์ เม/ือคุณต้องการให้
  • 103. 98 นักเรียนตังกระทู้ของตนและแสดงความเห็นในหัวข้อของแต6่ละสัปดาห์ และทุกคนก็ สามารถตอบแสดงความคิดเห็นในกระทู้นั6นๆได้ (มีการพัฒนาเร/ืองนี6ในมูเดิ6ลเวอร์ชัน/ใหม่) 4. ขนาดของไฟล์สูงสุด ผู้ท/ีตั6งกระดานเสวนาสามารถกำหนดขนาดสูงสุดของไฟล์ท/ีอนุญาตให้แนบได้ บางไฟล์ท/ีมีขนาดใหญ่กว่าท/ีกำหนดคล้ายกับว่าจะอัพโหลดได้ แต่ท/ีจริงแล้วไฟล์ไม่ได้ถูก บันทึกไว้ในโฟลเดอร์ และจะเห็นข้อความผิดพลาดขึ6นมาบอก 5. ข้อความที/โพสต์จะได้รับการจัดอันดับ , 40(9/10), 745-766. ตามทฤษฏีของ separate and connected knowing ทฤษฏีนี6อาจช่วยให้ คุณมองปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ ในรูปแบบใหม่ ซึ/งแบ่งวิธีการประเมินและเรียนรู้ของสิ/งท/ี เห็นและได้ยิน ของมนุษย์ได้สองรูปแบบแต่ละคน จะใช้วิธีทั6งสองในปริมาณและเวลา ท/ี ต่างกัน ตัวอย่างต่อไปนี6 จะแสดงความแตกต่างของคนสองคน คนหนึ/งเป็น separate knower (จิม) และอีกคนหนึ/งเป็น connected knower (แมร/ี) จิมชอบท/ีจะไม่มีอคติ (รักษา ความเป็นรูปธรรม)ให้มากท/ีสุด โดยพยายาม หลีกเล/ียงความรู้สึกส่วนตัว เม/ือมีการถก ปัญหากับคนอ/ืนท/ีคิดไม่เหมือนกัน จิมจะพยายามโต้เถียงยืนยันความคิดของตนเอง โดยใช้ เหตุผลและหาข้อบกพร่อง ในความคิดเห็นของคู่สนทนา เขาจะวิจารณ์ความคิดเห็นใหม่ๆ จนกว่าจะได้ พิสูจน์จากแหล่งข้อมูลท/ีเช/ือถือได้ เช่น ตำรา อาจารย์ท/ีน่านับถือ หรือจาก ประสบการณ์ ของเขาเอง จิมคือ separate knower แมร/ีเป็นคนท/ีมีความรู้สึกไวต่อผู้อ/ืน เธอ มีความสามารถในการใส่ใจรับฟัง และถามปัญหาจนกว่าเธอจะรู้สึกเข้าใจมุมมองของคน อื/น เธอเรียนรู้ด้วยการแลกเปลี/ยน ประสบการณ์และทำให้เธอได้ความรู้จากผู้อื/น ขณะ พูดคุยเธอจะหลีกเล/ียงการเผชิญหน้า และพยายามช่วยเหลือผู้อ/ืนโดยใช้เหตุผลและให้ ข้อแนะนำ แมร/ีคือ connected knower โปรดสังเกตจากตัวอย่างท/ีให้ separate knower เป็น ผู้ชายและ connected knower เป็นผู้หญิง สถิติท/ีได้จากการศึกษาหลายครั6งมีแนวโน้มแบบ กรณีนี6 อย่างไรก็ตาม บุคคลทัว/ไปก็จะอยู่ระหว่างตัวอย่างสุดขั6วทั6งสองนี6 จะเป็นการดีท/ีสุด หากทุกคนจะสามารถใช้วิธีคิดได้ทั6งสองวิธี เพ/ือความสามัคคี และประสิทธิภาพของกลุ่ม
  • 104. 99 ผู้เรียน ในสถานการณ์พิเศษเชนในกระดานสนทนาทางอินเตอร์เน็่ต ข้อความ ท/ีโพสต์โดย บุคลหนึ/งอาจแสดงลักษณะใดลักษณะหนึ/งหรือ ทั6งสองลักษณะก็ได้ บางคนซึ/งปกติเป็น คนท/ีมีสัมพันธ์ดี อาจโพสต์ข้อความท/ีฟังดูแปลกแยก หรืออาจเป็นทางตรงกันข้าม จุดประสงค์ของการจัดอันดับแต่ละข้อความท/ี โพสต์เข้ามา โดยใช้วิธีการวัดแบบนี6 คือ ก) ช่วยให้คิดเก/ียวกับประเด็นต่างๆ เม/ืออ่านข้อความอ/ืนๆ ข) แสดงผลให้ผู้เขียนทราบว่าคนอ/ืนมองว่าผู้เขียนเป็นอย่างไร ผลท/ีได้ ไม่ได้ใช้ใน การประเมินนักเรียน แต่จะช่วยให้นักเรียนพัฒนาการส/ือสาร และการเรียนรู้ เอกสารอ้างอิง ท/ีเป็นต้นแบบพัฒนาแนวความคิดนี6 • Belenky, M.F., Clinchy, B.M., Goldberger, N.R., Tarule, J.M. (1986). Women's ways of knowing: the development of self, voice, and mind. New York, NY: Basic Books. • Clinchy, B.M. (1989a). The development of thoughtfulness in college women: Integrating reason and care. American Behavioural Scientist, 32(6), 647-657. • Clinchy, B.M. (1989b). On critical thinking connected knowing. Liberal education, 75(5), 14-19. • Clinchy, B.M. (1996). Connected and separate knowing; Toward a marriage of two minds. In N.R. Goldberger, Tarule, J.M., Clinchy, B.M. • Belenky, M.F. (Eds.), Knowledge, Difference, and Power; Essays inspired by “Women’s Ways of Knowing” (pp. 205-247). New York, NY: Basic Books. • Galotti, K. M., Clinchy, B. M., Ainsworth, K., Lavin, B., Mansfield, A. F. (1999). A New Way of Assessing Ways of Knowing: The Attitudes Towards Thinking and Learning Survey (ATTLS). Sex Roles
  • 105. 100 • Galotti, K. M., Reimer, R. L., Drebus, D. W. (2001). Ways of knowing as learning styles: Learning MAGIC with a partner. Sex Roles, 44(7/8), 419- 436. 6. จำนวนโพสต์ลา่สุดท/ีต้องการแสดงใน RSS ตัวเลือกนี6อนุญาตให้คุณเลือกจำนวนโพสต์ท/ีจะแสดงผลบนหนึ/งหน้าจอได้ จำนวนโพสต์ ท/ีเหมาะสม ควรอยู่ระหว่าง 5 - 20 คำตอบ ในแต่ละกระดานเสวนา แต่ทั6งนี6คุณสามารถเพ/ิม จำนวนได้หากกระดานเสวนานั6นถูกใช้งานมาก การกำหนดการเล/ือนหน้าจอการป้อนข่าวสาร RSS ในกระดานเสวนานี6 ตัวเลือกนี6อนุญาต ให้คุณสามารถกำหนดการแสดงผลการตอบในกระดานเสวนานี6ได้ คุณสามารถเลือกได้ ระหว่างสองกระดานเสวนานี6 • การตอบกระทู้: เมื/อใช้การตอบกระทู้ การแสดงผลบนหน้าจอจะรวมการ นำเสนอความคิดเห็นใหม่ในกระดานเสวนานั6นไปกับการโพสต์ครั6งแรก • การตั6งกระทู้: เม/ือใช้การตั6งกระทู้ การแสดงผลบนหน้าจอจะแสดงกระทู้ใหม่ ทั6งหมดของกระดานเสวนานั6นๆ 7. การเป็นสมาชิกกระดานเสวนา เม/ือคุณสมัครเป็นสมาชิกกระดานข่าว หมายความว่า คุณจะได้รับสำเนาจากกระดานข่าว ทุกครั6งท/ีมีคนโพสต์ ผ่านทางอีเมล โดยจะมีการส่งประมาณสามสิบนาทีหลังจาก ท/ีมีการ โพสต์ ผู้เข้าชมสามารถเลือกท/ีจะเป็นสมาชิกกระดานข่าวหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าหากผู้สอน บังคับให้ ทุกคนเป็นสมาชิกกระดานข่าว นักเรียนทุกคนท/ีเรียน จะได้รับสำเนาของกระดานข่าวนี6 วิธีนี6เหมาะสำหรับกระดานข่าว ประกาศ โดยเฉพาะอย่างยิง/ก่อนท/ีนักเรียน จะเรียนรู้วิธีการ สมัครเป็นสมาชิกกระดาน
  • 106. 101 แสดงความคิดเห็นหรือแลกเปลี/ยนความคิดเห็นกันในหัวข้อนั6นๆ ซึ/งจะอยู่ในส่วนของการ เพิม/กิจกรรม เท่าท/ีผ่านมา.. ส่วน กระดานเสวนา นี6เห็นจะเป็นส่วนท/ีสำคัญท/ีสุดเพราะการ สนทนาแลกเปล/ียน จะเกิดขึ6นในส่วนนี6 เม/ือท่านเพิม/ส่วน กระดานเสวนา เข้าใน รายวิชา ท่านจะต้องเลือกชนิดของ กระดานเสวนา ว่าจะให้ กระดานเสวนา นี6เป็น กระดานเสวนา แบบไหน จะเป็นแบบหัวข้อเดียว (single-topic discussion) แบบเปิด (free-for-all general forum) หรือ แบบหนึ/งหัวข้อสนทนาต่อหนึ/งสมาชิก (one-discussion-thread-per-user) วิธีการตั6งค่าหน้าจอจะแสดงภาพการตั6งค่าของกระดานเสวนาดังรูป 123456789 1.ชือกระดาน กรอกชือหัวข้อสนทนาลงไปเช่น เสวนาภาษาจีน 3..วิธีใช้/คำชี0แจง ในการใช้กระดาน 2.1 กระดานทัวไป แต่ละคนสามารถตั0งกระทู้ได้หลายกระทู้ เป็นการชี0แจงเกียวกับกระดานว่ามี จุดประสงค์อย่างไร และวิธีการใช้ 4.อนุญาตให้ student โพสต์ในกระดานนี0หรือไม่ มี 3 ลักษณะ คือ 4.1ตั0งกระทู้ได้ ตอบได้ 4.2ตั0งกระทู้ไม่ได้ ตอบได้ 4.3ตั0งกระทู้ไม่ได้ ตอบไม่ได้ 5.ทุกคนต้องเป็นสมาชิกกระดานนี0เท่านั0น? 5.1ใช่ตลอดเวลา ไม่สามารถออกจากการเป็นสมาชิกของกระดานได้ 5.2ใช่ตอนต้นเท่านั0น สามารถออกจากการเป็นสมาชิกของกระดานได้ 6.Read Tracking for this forum? มี 3 ลักษณะ คือ 1.Optional สามารถเปิด/ปิดได้ 7.ขนาดไฟล์สูงสุด ขนาด ของไฟล์สูงสุดทีสามารถ ทำการ upload ได้ 8.ต้องการให้ผู้อ่านให้คะแนนโพสต์นี0หรือไม่ ถ้าต้องการให้ผู้อ่านให้คะแนนโพสต์ ให้ทำการเช็ค เลือกทีช่องใช้คะแนน ซึงมีรายละเอียดดังนี0 คือ 1.เฉพาะอาจารย์เท่านั0นสามารถให้คะแนนโพสต์ กับทุกคนสามารถให้คะแนนโพสต์ 2.นักศึกษาสามารถเห็นคะแนนของตนเอง กับ นักศึกษาสามารถเห็นคะแนนของทุกคน 9.ระบบกล่มุ 1.เรียนรวมกันไม่แบ่งกล่มุ 2.กลุ่มแบบแยกกันอย่างชัดเจน (ศึกษาข้ามกลุ่มไม่ได้)