SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
รายงาน
เรื่อง อินเตอร์เน็ตและความสำาคัญ
จัดทำาโดย
นางสาว อมรรัตน์ บุญเสนอ รหัสนิสิต 51010513530 EC
นางสาว ชโลทร จันทะสิม รหัสนิสิต 51010514005 SED
นางสาว บุหงา คงราช รหัสนิสิต 51010512014 SO
นางสาว พลอยวรินทร์ ดอนทะนาม รหัสนิสิต 51010513515 EC
นางสาวจุฑาทิพย์ ธรรมสิริวัฒน์ รหัสนิสิต 51010513505 EC
นางสาว พรพรรณ ศรีสร้อย รหัสนิสิต 51010513584 EC
นางสาว มญชรัศม์ สังหมื่นเหม้า รหัสนิสิต 51010513579 EC
นางสาว ธัญชนก บูรวัฒน์ รหัสนิสิต 51010513559 EC
นางสาว นิภาวรรณ อุปลี รหัสนิสิต 51010114010 JAP
นางสาว รัตนา มีศรี รหัสนิสิต 51010114049 JAP
นางสาว สุมิตรา มาลัยศรี รหัสนิสิต 51010114057 JAP
นายณัฐกิตติ์ วงศาจันทร์ รหัสนิสิต 51010125006 JAP
นายอธิวัฒน์ วงชารี รหัสนิสิต 51010101151 JAP
นางสาว เจียมจิตร นุกูลวงศ์ รหัสนิสิต 51011011144 HOS
นางสาว สกุณตลา ปิดตาทะโน รหัสนิสิต 51011311195 PO
นางสาว มนัชชา สังเสวี รหัสนิสิต 51011311142 PO
นางสาว ภัทิรา ประวันเณย์ รหัสนิสิต 51010114516 FR
นางสาว อรวีร์ จันขุนทด รหัสนิสิต 51011311239 PO
นางสาว นิตยา ภูแข่งหมอก รหัสนิสิต 51011311281 PO
นางสาว ธันยาภรณ์ ไชยสอน รหัสนิสิต 50011010338 HOS
นาย จิรพงศ์ เรืองแหล่ รหัสนิสิต 50011314289 PO
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา
อินเตอร์เน็ตและการสื่อสารในชีวิตประจำาวัน
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ภาคเรียนที่ 1/2553
คำานำา
รายงานเรื่อง อินเตอร์เน็ตและความสำาคัญ เป็นส่วนหนึ่งของ
การศึกษารายวิชา 0012006 อินเตอร์เน็ตและการสื่อสารในชีวิต
ประจำาวัน ได้มีการสืบค้นข้อมูลและรวบรวมเกี่ยวกับ ประวัติความเป็น
มาของอินเตอร์เน็ต ความหมาย ความสำาคัญของอินเตอร์เน็ต
ประโยชน์และโทษของอินเตอร์เน็ต โดยมุ่งที่จะให้ผู้อ่านรายงาน
เรื่อง อินเตอร์เน็ตและความสำาคัญ มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ
อินเตอร์เน็ตมากขึ้น
คณะผู้จัดทำาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็น
ประโยชน์แก่ท่านในการนำาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน หากมีข้อ
บกพร่องประการใด ก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทำา
สารบัญ
เรื่อง
ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
ความหมายอินเทอร์เน็ต
ความสำาคัญของอินเทอร์เน็ต
การถ่ายโอนข้อมูลของอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย
ประโยชน์และโทษของอินเทอร์เน็ต
บรรณานุกรม
ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตกำาเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ
พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า
ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้
คิดค้นระบบขึ้นมา มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่มีวัน
ตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูกทำาลาย หรือตัดขาด แต่ระบบ
เครือข่ายแบบนี้ยังทำางานได้ซึ่งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลใน
รูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวริ์ก
ขึ้นมา เรียกว่า ARPAnet ย่อมาจากคำาว่า Advance Research
Project Agency net ซึ่งประสบความสำาเร็จและได้รับความนิยมใน
หมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ
เป็นอย่างมาก
ระบบเครือข่ายแบบเดิม
ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ
การเชื่อมต่อในภาพแรกแบบเดิม ถ้าระบบเครือข่ายถูกตัดขาด
ระบบก็จะเสียหายและทำาให้การเชื่อมต่อขาดออกจากกัน แต่ในเครือ
ข่ายแบบใหม่ แม้ว่าระบบเครือข่ายหนึ่งถูกตัดขาด เครือข่ายก็ยัง
ดำาเนินไปได้ไม่เสียหาย เพราะโดยตัวระบบก็หาช่องทางอื่นเชื่อมโยง
กันจนได้
ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสำาเร็จ ก็มีองค์กร
มหาวิทยาลัยต่างๆ ให้ความสนใจเข้ามาร่วมในโครงข่ายมากขึ้น โดย
เน้นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail ) ระหว่าง
กันเป็นหลัก ต่อมาก็ได้ขยายการบริการไปถึงการส่งแฟ้มข้อมูล
ข่าวสารและส่งข่าวสารความรู้ทั่วไป แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เน้น
การให้บริการด้านวิชาการเป็นหลัก
ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการนำา
อินเทอร์เน็ตมาใช้ในเชิงพาณิชย์ มีการทำาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท
ห้างร้านต่างๆ ก็เข้าร่วมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ใน
ลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์
เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
หาดใหญ่
( Prince of Songkla University ) และสถาบันเทคโนโลยีแห่ง
เอเชียหรือสถาบันเอไอที ( AIT ) ภายใต้โครงการความร่วมมือ
ระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงการ IDP ) ซึ่งเป็นการ
ติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่
อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ต
Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเตอร์เน็ตแห่งแรกของ
ประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC ( Thailand ) จำากัดได้
ขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภายในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่
อินเตอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คำา “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน
( Domain ) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใน
ประเทศไทย โดยย่อมาจากคำาว่า Thailand กล่าวได้ว่าการใช้งาน
อินเตอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้น
เป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทย
บริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 9600
บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่
อินเตอร์เน็ตที่บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี ( UUNET Technologies )
ประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงานที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ตผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน
ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT ) มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ โดย
เรียกเครือข่ายนี้ว่าเครือข่าย “ไทยเน็ต” ( THAInet ) ซึ่งนับเป็นเครือ
ข่ายที่มี “ เกตเวย์ “ ( Gateway ) หรือประตูสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เป็นแห่งแรกของประเทศไทย
ปัจจุบันได้มีผู้รู้จักและใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโต
มากกว่า 100 % สมาชิกของอินเตอร์เน็ตขยายจากอาจารย์และนิสิต
นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป
ความหมายอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วย
กัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ ( Cyberspace ) คำา
เต็มของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเวิร์กกิง
( Internetworking ) ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่า อินเทอร์เน็ต
หรือ เน็ต
อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN
แต่มีโครงสร้างการทำางานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจาก
ระบบ WAN เป็นเครือข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรือกลุ่ม
องค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิด
ชอบแน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่าง
คอมพิวเตอร์นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ถาวรขึ้นอยู่กับเวลานั้นๆ ว่าใคร
ต้องการเล่นอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึงทำาให้
ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ
ระบบอินเทอร์เน็ต ช่วยให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจากที่
หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ โดยไม่จำากัดระยะทาง และสามารถส่งข้อมูลได้
หลายรูปแบบ ทั้งข้อความ ตัวหนังสือ ภาพ และเสียง โดยอาศัยเครือ
ข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อม
โยงเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol /
Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ต
สามารถสื่อสารระหว่างกันได้
ระบบการสื่อสารกับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ความสำาคัญของอินเทอร์เน็ต
ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสำาคัญต่อชีวิต
ประจำาวันของคนเราเป็นอย่างมาก เพราะทำาให้วิถีชีวิตเราทันสมัย
และทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการเสนอข้อมูล
ข่าวปัจจุบัน และสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุก
วัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อ
สนองความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึง
เป็นแหล่งสารสนเทศสำาคัญสำาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่งที่ตน
สนใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด
หรือแม้แต่การรับรู้ข่าวสารทั่วโลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์เน็ตจาก
เว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสือพิมพ์
ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงมีความสำาคัญกับวิถีชีวิตของคนเราในปัจจุบัน
เป็นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลที่อยู่ในวงการธุรกิจ
การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น
1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีความสำาคัญ ดังนี้
1. สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะ
เป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และ
อื่น ๆ ที่น่าสนใจ
2. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำาหน้าที่เปรียบ
เสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
3. นักเรียนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กำาลังศึกษาอยู่ได้
ทั้งที่ข้อมูลที่เป็นข้อความเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ
2. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีความสำาคัญ
ดังนี้
1. ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทาง
ธุรกิจ
2. สามารถซื้อขายสินค้า ทำาธุรกรรมผ่านระบบเครือ
ข่าย
3. เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณา
สินค้า ติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ
4. ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถ
เปิดให้บริการ และสนับสนุนลูกค้าของตนผ่านระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คำาแนะนำา สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่
ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจก
ฟรี (Freeware)
3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์เน็ตมีความสำาคัญดังนี้
1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การ
ค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า
Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพ
ประกอบที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสือทั่ว ๆ ไป
2. สามารถฟังวิทยุหรือดูรายการโทรทัศน์ผ่านระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
3. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดู
ได้
การถ่ายโอนข้อมูลของอินเทอร์เน็ต
การส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ไม่ได้ส่งข้อมูลเป็นชุดยาวๆ หากแต่ส่งไปเป็นชิ้นๆ เป็นชุดๆ หรือเรียก
กันทั่วไปว่า แพ็กเกต (Packet) แพ็กเกตจะถูกส่งไปตามสายเคเบิล
เมื่อไปถึงผู้รับแล้ว แพ็กเกตจะมารวมกันเป็นข้อความยาวๆ เหมือนเดิม
แต่ถ้าแพ็กเกตใดขาดหายหรือตกหล่น คอมพิวเตอร์ก็จะตรวจสอบ
และส่งแพ็กเกตมาใหม่ จนข้อมูลครบเหมือนเดิม
การที่ข้อมูลจะถูกส่งถ่ายเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์หลากหลาย
ชนิดที่เชื่อมต่อกันในระบบเครือข่ายนั้น จะมีปัญหาและอุปสรรคใน
การสื่อสาร ทำาให้ไม่อาจส่งถ่ายข้อมูลได้สะดวก จึงได้มีการพัฒนา
ภาษากลางสำาหรับสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ขึ้นมา เพื่อให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกชนิดสามารถสื่อสารกันได้ ภาษาดังกล่าวเรียกว่า
TCP/IP ย่อมาจากคำาว่า Transmission Control
Protocol/Internet Protocol
การวิ่งไป-มาของข้อมูลจะผ่านเส้นทางหลักที่เรียกว่า แบ็กโบน
(Backbone) ผ่านทางเร้าเตอร์ (Router) ซึ่งเปรียบเสมือนบริษัท
ตัวการเส้นทางให้ข้อมูลเดินทางไป-มาได้สะดวกและรวดเร็ว ถึงจุด
หมายปลายทางได้อย่างสะดวกปลอดภัย
บริการต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตมีหลายประเภท เพื่ออำานวยความสะดวก
ให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ซึ่งในที่นี้จะยก
ตัวอย่างบริการบนอินเทอร์เน็ตที่สำาคัญดังนี้
1.บริการด้านการสื่อสาร
1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์(electronic mail)
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าอีเมล์ (E-
mail) ถือได้ว่าเป็นกิจกรรมประจำาวันของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งการส่ง
และรับจดหมาย หรือข้อความถึงกันได้ทั่วโลกนี้จำาเป็นจะต้องมีที่อยู่
อีเมล์ (e-mail address หรือ e-mail account) เพื่อใช้เป็นกล่องรับ
จดหมาย ที่อยู่ของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสำาคัญ 2 ส่วน
คือ ชื่อผู้ใช้ (User name) และชื่อโดเมน(Domain name) ซึ่งเป็น
ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผู้ใช้อีเมล์ โดยชื่อผู้ใช้และชื่อ
โดเมนจะคั่นด้วยเครื่องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท) เช่น
Sriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมีผู้ใช้อีเมล์ชื่อ Sriprai ที่มี
อยู่อีเมล์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ sukhothai ของมหาวิทยาลัย
สยาม(siamu) ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th)
ในการรับ-ส่งจดหมาย โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น ได้มี
การพัฒนาโปรแกรมที่ใช้สำาหรับอีเมล์อยู่หลายโปรแกรม เช่น
โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม Netscape
Mail เป็นต้น นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยู่
อีเมล์ได้ฟรีจากเว็บไซต์ที่ให้บริการที่อยู่อีเมล์ฟรี เว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จัก
และนิยม ได้แก่ www.hotmail.com, www.chaiyo.com,
www.thaimail.com
โดยทั่วไปแล้ว ส่วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วย
ส่วนหัว (header) และส่วนข้อความ (message)
1.2 รายชื่อกลุ่มสนทนา (mailing lists)
mailing lists เป็นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มี
การติดต่อสื่อสารและการส่งข่าวสารให้กับสมาชิกตามรายชื่อและที่อยู่
ของสมาชิกที่มีอยู่ ในรายการซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่ม mailing lists ที่
แตกต่างกันตามความสนใจจำานวนมาก การเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม
สนทนาประเภทนี้ ผู้ใช้จะต้อง สมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความ
ประสงค์และส่งชื่อและที่อยู่เพื่อการลงทะเบียบไปยัง subscription
address ของ mailing lists ตัวอย่าง mailing list เช่น ทัวร์
ออนไลน์ (tourbus@listserv.aol.com)กลุ่มสนทนาเรื่องตลก
(dailyjoke@lists.ivllage.com)
1.3 กระดานข่าว (usenet)
ยูสเน็ต (usenet หรือ user network) เป็นการรวบรวมของ
กลุ่มข่าวหรือ newsgroup ซึ่งเป็นกลุ่มผู้สนใจที่ต้องการจะติดต่อและ
แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ
newsgroup ในปัจจุบันมีมากกว่า 10,000 กลุ่มที่มีความสนใจใน
หัวข้อที่แตกต่างกัน เช่น กลุ่มผู้สนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้
ชื่นชอบภาพยนต์ เป็นต้น
การส่งและรับแหล่งข่าวจาก usenet จะใช้โปรแกรมสำาหรับ
อ่านข่าวเพื่อไปดึงชื่อของกลุ่มข่าวหรือหัวข้อจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่
ผู้ใช้เข้าไปขอใช้บริการเช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าว
จะมีการตั้งชื่อเพื่อใช้เป็นแบบมาตรฐาน ซึ่งชื่อกลุ่มจะประกอบด้วย
ส่วนประกอบหลัก ๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อ
กลุ่มข่าวย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division
of subtopic) ตัวอย่างเช่น
1.4 การสนทนาออนไลน์(On-line chat)
การสนทนาออนไลน์ เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้
ใช้สามารถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่น ๆ ได้ในเวลาเดียวกัน (real-
time) การสนทนาหรือ chat (Internet Relay Chat หรือ IRC)ได้มี
การพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันการสนทนาระหว่างบุคคลหรือ
กลุ่มบุคคลสามารถใช้
ภาพกราฟิก ภาพการ์ตูนหรือภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผู้สนทนา
ได้ นอกจากการสนทนาแล้ว ผู้ใช้ยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและ
ไฟล์ได้อีกด้วย
การใช้งาน IRC ผู้ใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่องที่เป็นไออาร์ซี
เซิร์ฟเวอร์ (IRC server) ที่มีการแบ่งห้องสนทนาเป็นกลุ่ม ๆ ที่เรียกว่า
แชนแนล (channel) โดยผู้ใช้จะต้องมีโปรแกรมเพื่อใช้สำาหรับการ
สนทนา (ซึ่งสามารถดาวน์โหลดฟรีจากอินเทอร์เน็ต) เมื่อผู้ใช้ติดต่อ
กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้แล้ว ก็จะเลือกกลุ่มสนทนาหรือหัวข้อสนทนาที่
สนใจ และเริ่มสนทนาได้ตามความต้องการ ตัวอย่าง โปรแกรมสนทนา
ออนไลน์ที่นิยมใช้กัน ในปัจจุบัน เช่น ICQ(I Seek You) และ mIRC
การสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ในปัจจุบันผู้ใช้สามารถใช้สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย
เสียงพูด และภาพเคลื่อนไหว โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ไมโครโฟน
ลำาโพง กล้องวีดีโอ และอื่น ๆ เพื่ออำานวยความสะดวกและเพื่อ
ประสิทธิภาพของการสนทนา ให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของโปรแกรม ได้มี
การพัฒนาโปรแกรมเพื่อการสนทนาออนไลน์ที่มีคุณภาพ เช่น
โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สามารถสนทนากันไปพร้อม ๆ
กับมองเห็นภาพของคู่สนทนาได้ด้วย
1.5 เทลเน็ต (telnet)
เทลเน็ตเป็นบริการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ระยะไกล โดยจะใช้การจำาลองเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่กำาลังใช้งานอยู่ ให้เป็นจอภาพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล
เครื่องนั้น การทำางานในลักษณะนี้ จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้
จ่ายในกรณีที่ต้องเดินทางไปใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล การ
ใช้งานเทลเน็ตจะเป็นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดย
ปกติการเข้าไปใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกล จำาเป็นต้องมี
รายชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน แต่ก็มีบางหน่วยงานที่อนุญาติให้เข้าใช้
บริการโดยไม่ต้องระบุรหัสผ่านเพื่อ เป็นการให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้า
ทั่ว ๆ ไป
2.บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ
2.1 การขนถ่ายไฟล์(file transfer protocol)
การขนถ่ายไฟล์ หรือที่เรียกสั้น ๆว่า เอฟทีพี (FTP) เป็นบริการ
ที่ใช้สำาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ทาง
อินเตอร์เน็ต เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการไฟล์จะเรียกว่า เอฟทีพี
เซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site)
ข้อมูลที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะมีลักษณะหลายรูปแบบ ได้แก่
ข้อมูลสถิติ งานวิจัย บทความ เพลง ข่าวสารทั่วไป หรือโปรแกรมฟรี
แวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้โปรแกรมฟรี
ในบางครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะให้
บริการเฉพาะบุคคลที่มีบัญชีรายชื่ออยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น
แต่ก้ฒีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จำานวนมากอนุญาต
ให้ผู้ใช้ทั่วไปได้เข้าไปใช้บริการ ถึงแม้ว่าในบางครั้งจะไม่อนุญาต ให้
ขนถ่ายไฟล์ทั้งหมดก็ตาม
2.2 โกเฟอร์ (gopher)
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริการข้อมูลในลักษณะของการ
ค้นหาจากเมนู(menu-based search) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้
บริการข้อมูล โปรแกรมโกเฟอร์พัฒนาโดยมหาวิทยาลัย Minnesota
ในปี ค.ศ. 1991 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการฐานข้อมูลจะเป็น
ลักษณะของเมนูลำาดับชั้น (hierarchy) เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่ง
ข้อมูลอื่น ๆ ที่กระจายกันอยู่หลายแหล่งได้
2.3 อาร์ซี (archie)
อาร์ซี เป็นการเข้าใช้บริการค้นหาข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายที่เป็น
อาร์ซีเซิร์ฟเวอร์ (archie sever ) ซึ่งเป็นแหล่งที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหา
สถานที่ของข้อมูล จากนั้นก็จะไปค้นข้อมูลโดยตรงจากสถานที่นั้นต่อ
ไป
2.4 WAIS (Wide Area Information Severs)
WAIS เป็นบริการค้นหาข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลที่อยู่บน
อินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวมข้อมูลและดรรชนีสำาหรับสืบค้นข้อมูลจากฐาน
ข้อมูลต่างๆ เพื่ออำานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้เพื่อสามารถเข้าไปยัง
ข้อมูลที่ต้องการและสามารถเชื่อมโยงไปยังศูนย์ข้อมูล WAIS อื่นๆ ได้
ด้วย
2.5 veronica
veronica ย่อมาจาก very easy rodent-oriented net-
wide index to computerized archives เป็นบริการที่รวบรวม
ข้อมูลเพื่อช่วยอำานวย ความสะดวกในการค้นหาสิ่งที่ต้องการได้อย่าง
รวดเร็ว
2.6 การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์
อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายใยแมงมุมที่มีการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูล
ที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลก การค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ถ้าผู้ใช้ไม่
ทราบที่อยู่ของเว็บไซต์ ก็สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริการ
ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาแล้วปัจจุบันการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
เป็นเรื่อง ที่กระทำาได้สะดวกและรวดเร็ว การพัฒนาเว็บไซต์ที่ช่วย
สืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เครื่องค้นหา (search engine) ช่วย
ให้การค้นหาทั้งในรูปของ ข้อความและกราฟิกกระทำาได้โดยง่าย
เว็บไซต์ที่ช่วยสำาหรับการสืบค้นข้อมูลที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
ได้แก่ yahoo.com, altavista.com, lycos.com, excite.com,
ask.com, infoseek.ccom
อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย
วิโรจน์ อรุณมานะกุล
1. ความเป็นมา
ยุคปัจจุบันนอกจากจะเป็นยุคโลกาภิวัฒน์แล้ว ยังเป็นยุคแห่ง
สารสนเทศไร้พรมแดนด้วย และเป็นยุค ที่เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
เริ่มก้าวเข้ามามีบทบาทสำาคัญทั้งในภาคธุรกิจและในภาคการศึกษา
ดังจะเห็นได้จาก การที่ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ประกาศนโยบายที่จะ
ให้ทุกห้องเรียนสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้ภายในปี ค.ศ.
2000 และนักเรียนทุกคนต้องได้รับการศึกษาด้านเทคโนโลยีนี้ ใน
ประเทศไทยเอง ถึงแม้จะไม่มีการประกาศแผนนโยบายด้านนี้ชัดเจน
อินเตอร์เน็ตก็เริ่มก้าวเข้ามาสู่สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ระดับอุดมศึกษา ดังจะเห็นได้จากการที่มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ลงทุน
ติดตั้งระบบเครือข่าย network ภายในและต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพื่อ
ให้อาจารย์และนิสิตนักศึกษาได้ใช้อินเตอร์เน็ตกัน
การนำาอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เป็นการนำา
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ต่อ
การศึกษา ซึ่งในเรื่องนี้ มีผู้ที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันเป็น 2 กลุ่ม
คือ กลุ่มที่มอง เห็นข้อดีของการใช้ประโยชน์จากสื่อนี้เพื่อการศึกษา
เพราะมองว่าอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่ช่วยให้ผู้รับสารเข้าถึงข้อ มูลได้
อย่างมากมายและสะดวกรวดเร็วช่วยให้มีการเรียนรู้แบบ self center
มากขึ้น ขณะที่อีกกลุ่มจะมองการนำาเทคโนโลยีนี้มาใช้ในเชิงลบ คือ
มองถึงผลกระทบของสื่อนี้ต่อระบบการศึกษาว่า จะส่งผลให้เกิดการ
ปรับ เปลี่ยนโครงสร้างการศึกษาไปจนถึงล้มล้างระบบและสถาบันการ
ศึกษาที่มีมากว่า 2500 ปี
2. ทำาไมต้องนำาสื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามาในมหาวิทยาลัย
มีเหตุผลและปัจจัยหลายอย่างที่ทำาให้หลายๆคนเชื่อว่าการนำา
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบ การศึกษาแทบจะเป็นสิ่งที่
หลีกเลี่ยงไม่ได้ เหตุผลหลักสำาคัญอันหนึ่ง คือความจำาเป็นทาง
เศรษฐกิจ Prowse (1995) ได้ชี้ให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายของการศึกษา
ที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ ค่าใช้จ่ายของหน่วยกิตในมหาวิทยาลัยใน
สหรัฐอเมริกาได้เพิ่มขึ้น 174% ภายใน 10 ปี มากกว่าอัตราขยายตัว
ของ consumer price ถึง 3 เท่า van Vught (1997) กล่าวว่าค่า
ใช้จ่ายในการเข้าเรียนมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาได้เพิ่มจาก 9%
ของรายได้ครัวเรือน (median family income) ในปี 1979 ไป
เป็น 15% ในปี 1994 หากเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ค่าใช้จ่ายจะเพิ่ม
มากยิ่งขึ้น (20% ในปี 1979 และ 40% ในปี 1994) การเพิ่มของค่า
ใช้จ่ายด้านการศึกษานี้เกิดขึ้นทั้งในยุโรปและในกลุ่มประเทศด้อย
พัฒนาด้วย การที่จะลดค่าใช้จ่ายลง จำาเป็นต้องนำาเทคโนโลยีใหม่ๆ
เข้ามาใช้ โดย van Vught (1997) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นว่า ค่าใช้
จ่ายต่อหัวของการเรียนในมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกานั้น สูงถึง
US$12,500 ส่วนในอังกฤษสูงถึง US$10,000 แต่ค่าใช้จ่ายต่อหัว
ของการเรียนในแบบ distant learning (คำานวณจาก 11
มหาวิทยาลัยใน China, France, India, Indonesia, Iran,
Korea, South Africa, Spain, Thailand, Turkey and the
UK) นั้นไม่ถึง US$350 เขาจึงเชื่อว่า การนำาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
มาใช้ในการสอนแบบ distant learning จะเป็นรูปแบบของ
มหาวิทยาลัยในอนาคต เพราะรูปแบบมหาวิทยาลัยแบบที่เป็นอยู่ไม่
เหมาะสมกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพราะมีแต่จะทำาให้ค่า
ใช้จ่ายด้านการศึกษาเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในขณะที่การสนับสนุนจาก
ภาครัฐและเอกชนจะเริ่มลดลง
อีกปัจจัยหนึ่งเป็นเรื่องของการเติบโตอย่างรวดเร็วของศาสตร์
แต่ละศาสตร์ Noam (1995) ได้ยกตัวอย่าง วารสารวิชาการ
Chemical Abstracts ซึ่งต้องใช้เวลาถึง 31 ปีเพื่อตีพิมพ์บทคัดย่อ
งานวิจัยออกมา 1 ล้านชิ้น และใช้เวลาอีก 18 ปีต่อมาสำาหรับตีพิมพ์
บทคัดย่ออีก 1 ล้านชิ้น แต่ปัจจุบันในใช้เวลาไม่ถึง 2 ปีก็สามารถตี
พิมพ์บทคัดย่อออกมาได้กว่า 1 ล้านชิ้น ความเติบโตนี้เองที่ทำาให้มี
การแตกแขนงของสาขาวิชาต่างๆมากมายทำาให้มหาวิทยาลัยไม่
afford ที่จะมีผู้เชี่ยวชาญในทุกๆสาขา แม้แต่ในภาควิชาเดียวกัน ก็
ยังมีการแยกย่อยสาขาจนแทบหาผู้เชี่ยวชาญในสาขาเดียวกันเพื่อที่
จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในมหาวิทยาลัยได้ยากการใช้
อินเตอร์เน็ตช่วยแก้ไขปัญหานี้เพราะทำาให้เกิด virtual community
ของผู้ที่มีความสนใจร่วมกันแต่อยู่ห่างไกลกันได้ ทำาให้สามารถแลก
เปลี่ยนความคิดเห็นกันได้ นอกจากนี้ในเรื่องของ การสะสมสิ่งตีพิมพ์
ก็เป็นไปได้
ยากที่มหาวิทยาลัยจะทำาให้ได้ครอบคลุมสมบูรณ์แบบเหมือนเดิม
เพราะค่าใช้จ่ายที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ โดย Noam ยกตัวอย่างของ
วารสาร Chemical Abstracts ซึ่งค่าสมาชิกรายปี ได้เพิ่มจาก $12
ในปี 1940 เป็น $3,700 ในปี 1977 และเป็น $17,400 ในปี
1995 ในปัจจุบัน จึงมีแนวโน้มที่จะลดค่าใช้จ่ายด้านนี้ เริ่มมีการ
จัดพิมพ์วารสาร online หรือเปิดให้บริการเป็นสมาชิกวารสารผ่าน
ทางอินเตอร์เน็ตมากขึ้น
นอกจากปัจจัยทางเศรษฐกิจแล้ว ปัจจัยทางสังคมก็เป็นอีก
เหตุผลหนึ่งที่ทำาให้การนำาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ามาใน
มหาวิทยาลัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก การเติบโตและการเป็นที่
ยอมรับของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ และการแพร่หลายของการใช้
อินเตอร์เน็ต ทำาให้เกิดการคาดหวังจากสังคมว่า มหาวิทยาลัยจำาเป็น
ต้องมีเทคโนโลยีด้านนี้พร้อมเพื่อรองรับความต้องการของนิสิต ขณะ
เดียวกันก็เป็นการสร้างภาพว่ามหาวิทยาลัยได้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง
ทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น
3. ผลกระทบของอินเตอร์เน็ตต่อระบบการศึกษา
แม้ว่าผู้คนจะยอมรับอินเตอร์เน็ตว่ามีประโยชน์ต่อการทำาวิจัย
เพราะช่วยในการค้นหาข้อมูลต่างๆ ได้สะดวกรวดเร็ว แต่ก็มีผู้ที่มอง
ว่าอินเตอร์เน็ตจะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่อระบบการ
ศึกษาในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะอินเตอร์เน็ตทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ด้านการควบคุมความรู้ (knowledge) หรือข่าวสาร (information)
ซึ่งจะส่งผลให้รูปแบบสถาบันการศึกษาอ่อนแอลงและเปลี่ยนแปลงไป
ในที่สุด Noam (1995) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง
ของ information flow ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ โดยกล่าวว่า ใน
ยุคแรก นักบวชจะเป็นผู้ครอบครองและถ่ายทอด information โดย
การท่องจำา ต่อมาเมื่อมีระบบการเขียน จึงมีการจัดเก็บข้อมูล มีห้อง
สมุดขึ้น เช่น Great Library of Alexandria ซึ่งมีการจัดระบบ
ข้อมูลความรู้และกระบวนการ
หาความรู้คล้ายๆกับการมีภาควิชาต่างๆในปัจจุบัน ลักษณะแบบนี้
เป็นการรวมศูนย์ความรู้ไว้ที่หนึ่ง ผู้สนใจจะต้องเดินทางเข้ามาเพื่อรับ
การถ่ายทอดความรู้นั้นจากผู้ที่ได้รับการยอมรับว่าทรงคุณวุฒิ รูป
แบบการศึกษาแบบนี้คงอยู่มาเป็นเวลา 2500 ปี แต่ปัจจุบันทิศทาง
ของ information flow กำาลังเปลี่ยนไป ผู้เรียนไม่จำาเป็นต้องเข้ามา
หาความรู้ แต่สามารถใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อเรียกดูข้อมูลความรู้ให้มาหา
ตนได้ เมื่อเป็นดังนี้ มหาวิทยาลัยซึ่งมีหน้าที่หลักสองอย่างคือ เป็น
authority ในการ transfer information และเป็นแหล่งรวบรวม
information ก็จะค่อยๆสูญเสียความสำาคัญของบทบาททั้งสองลงใน
ที่สุด
Noam (1995) ยังกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นนี้
แตกต่างจากเมื่อคราวที่เริ่มมีสื่อวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในตอนนั้นหลายคน
เชื่อกันว่าสื่อวิทยุโทรทัศน์จะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา
อย่างมากแต่ท้ายที่สุดก็ไม่ได้เป็นไปเช่นที่ทำานาย จึงมีผู้วิจารณ์ว่าสื่อ
อินเตอร์เน็ตก็จะเป็นเช่นเดียวกัน แต่ Noam แย้งว่าสื่ออินเตอร์เน็ตมี
ลักษณะที่ต่างไป เพราะการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้เป็นการเปลี่ยนของ
information flow ในขณะที่การนำาสื่อวิทยุโทรทัศน์มาใช้ไม่ได้ก่อ
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จุดนี้ นอกจากนี้สื่อวิทยุโทรทัศน์ยังเป็นสื่อที่
ถูกควบคุมด้วยคนจำานวนน้อยซึ่งเป็นชนชั้นนำาในสังคมได้ง่าย ใน
ขณะที่สื่ออินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่เสรีและไม่สามารถถูกควบคุมด้วยคน
จำานวนน้อยได้ Baldino (1996) มองว่า การควบคุม information
มีความสำาคัญต่อกลุ่มชนที่เป็นชนชั้นนำาในสังคม ประวัติศาสตร์ที่
ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าชนชั้นนำาดำารงบทบาทตัวเองอยู่ได้โดย
อาศัยการควบคุม information คือกำาหนดว่าใครควรจะรู้ และควรจะ
รู้อะไร ผ่านสถาบันการศึกษาซึ่งทำาหน้าที่สืบทอดอุดมการณ์ต่างๆ
(ideological values) ของชนชั้นนำา สถาบันการศึกษาจึงมีบทบาท
เพื่อสนับสนุนโครงสร้างของสังคม โดยการ "make sure that
whoever has access to knowledge only knows what we
want them to know, and make sure that they think just
like we want them to think" จึงไม่แปลกอย่างไรที่สื่อวิทยุ
โทรทัศน์เมื่อถูกนำาเข้ามาในสังคมจึงถูกควบคุมโดยชนชั้นนำาเพื่อ
สืบทอดอุดมการณ์เดิมไว้ ทั้งนี้เพราะสื่อวิทยุโทรทัศน์มีธรรมชาติที่
เป็นการกระจายเสียงและภาพจากสถานีแม่ข่าย จึงถูกควบคุมได้ง่าย
กว่า ต่างจากสื่ออินเตอร์เน็ตซึ่งใครก็สามารถทำาหน้าที่ให้ข้อมูลก็ได้
ขอเพียงมีแค่คอมพิวเตอร์ส่วนตัวสักเครื่อง ก็สามารถสร้าง web site
เพื่อให้ข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆได้
นอกจากความคิดที่ว่า สื่ออินเตอร์เน็ตจะลดบทบาทความ
สำาคัญของสถาบันการศึกษา ผลกระทบที่เห็นได้ชัดกว่า คือ การ
เปลี่ยนแปลงด้านรูปแบบการเรียนการสอน ทั้งนี้เพราะสื่ออินเตอร์เน็ต
จะทำาให้เรื่องของสถานที่และเวลาลดความสำาคัญลง เพราะผู้เรียนไม่
จำาเป็นต้องมารวมกันในห้องเรียน ไม่จำาเป็นต้องมาเรียนในชั่วโมง
เดียวกัน แต่สามารถเข้าเรียนจากที่ไหนก็ได้ที่มีอินเตอร์เน็ต access
จะเข้าเรียนเวลาใดก็ได้ตามสะดวกนอกจากนี้ ผู้เรียนยังสามารถเปรียบ
เทียบรายวิชาที่ตัวเองเรียนกับรายวิชาที่เปิดสอนในที่อื่นๆได้ด้วย
บทบาทของอาจารย์จึงไม่ใช่ผู้ที่รู้ดีที่สุดในชั้นเรียนอีกต่อไป นักเรียน
สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้จากแหล่งอื่นและนำามาเปรียบเทียบได้
ในบริบทใหม่นี้ อาจารย์จึงเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ถ่ายทอด
ความรู้โดยตรงในแบบเดิมมาเป็นพี่เลี้ยงในการเรียนรู้ของผู้เรียน
มากกว่า ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่แสวงหาความรู้ด้วยตัวเองเป็นหลักโดย
อาศัยคำาแนะนำาจากอาจารย์ รูปแบบการเรียนการสอนจึงเปลี่ยนจาก
การบรรยายความรู้มาเป็น problem solving oriented และเป็น
team-based
4. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา
อีกกลุ่มเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงจะไม่ส่งผลกระทบในทางลบ
ขนาดนั้น แต่กลับมองว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะใช้ประโยชน์จาก
อินเตอร์เน็ตเพื่อขยายขอบเขตของมหาวิทยาลัยสู่กลุ่มคนที่ใหญ่ขึ้นได้
van Vught (1997) เชื่อว่า information technology จะเข้ามา
ช่วยให้การเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่จะไม่สามารถ
เข้ามาแทนที่การมีโรงเรียนและมหาวิทยาลัยได้ โรงเรียนและ
มหาวิทยาลัยจะยังคงมีอยู่ในระบบการศึกษาแต่ก็ยอมรับกันว่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างมาก จากเดิมที่เป็นห้องเรียนมีผนังล้อมรอบก็จะเป็น
school without wall และเปลี่ยนจากการเรียนการสอนแบบ
บรรยายในชั้นเรียนมาเป็นแนวการเรียนการสอนแบบกระตุ้นให้เรียน
และค้นคว้าเป็นทีม (stimulate team-based learning)
ประโยชน์ที่ชัดเจนที่สุดของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา คือการ
เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การค้นหาข่าวสารข้อมูลต่างๆเป็นไปได้อย่าง
สะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ปัจจุบัน มี web site ต่างๆเกิดขึ้น
มากมาย แต่ละ web site ก็ให้ข้อมูลข่าวสารในเรื่องต่างๆ รูปแบบ
ระบบห้องสมุดก็มีแนวโน้มว่าจะเปลี่ยนเป็น digital library ที่มี
หนังสือในเรื่องต่างๆเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ให้อ่านและค้นคว้าได้
online การใช้ email ช่วยให้การติดต่อข่าวสารระหว่างนัก
วิชาการเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ไม่ล่าช้าเหมือนแต่ก่อน ช่วยให้การ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิชาการในสาขาเดียวกันทั่วโลก
เป็นไปได้ การเรียนแบบ online ยังช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนได้
ตามขีด
ความสามารถของตนเอง ใครมีความสามารถมากก็เรียนได้เร็วกว่า
นักเรียนที่ไม่กล้าแสดงความคิดเห็นในห้องก็สามารถแสดงความคิด
เห็นได้มากขึ้นผ่านการใช้ email หรือ discussion group
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วทั้งโลก
สามารถนำามาใช้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางและต้นทุนตำ่ากว่า
ช่องทางอื่น ทำาให้มีการปรับใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็นการส่ง
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ส่งจะต้องส่ง
ข้อความไปยังที่อยู่ของผู้รับ ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่ง
เขียนจดหมาย 1 ฉบับ แล้วส่งไปยังที่อยู่นั้น ผู้รับจะได้รับจดหมาย
ภายในเวลาไม่กี่วินาที แม้จะอยู่ห่างกันคนละซีกโลกก็ตาม นอกจากนี้
ยังสามารถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย
2. บริการสื่อสารด้วยข้อความ (Chat, IRC-Internet Relay
chat) เป็นการพูดคุยกันระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ต โดยพิมพ์ข้อความ
ตอบกัน ซึ่งเป็นวิธีการสื่อสารที่ไดัรับความนิยมมากอีกวิธีหนึ่ง การ
สนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนา
เดียวกัน แต่ละคนก็พิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน
แม้จะอยู่คนละซีกโลกก็ตาม
3. บริการสื่อสารด้วยเสียง ภาพ และการประชุมทางไกลผ่าน
จอภาพ (VDO Conference) เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่พัฒนามาก
ขึ้นทำาให้กลายเป็นช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถส่งได้
ทั้งเสียงในรุปแบบโทรศัพท์ หรือส่งเฉพาะภาพคู่สนทนา รวมทั้งการจัด
ประชุมทางไกลผ่านจอภาพที่ได้รับทั้งภาพและเสียง
4. การขอเข้าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) บริการ
อินเน็ตรูปแบบหนึ่งโดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีก
เครื่องหนึ่งที่อยู่ไกล ๆ ได้ด้วยตนเอง โดยให้เครื่องทั้งสองต่อ
อินเทอร์เน็ตไว้ เราสามารถเรียกข้อมูลจากเครื่องที่ต้องการมายังเครื่อง
ส่วนตัวได้
5. การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP)
เป็นบริการอีกรูปแบบหนึ่งของระบบอินเทอร์เน็ต เราสามารถค้นหาและ
เรียกข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาเก็บไว้ในเครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูล
ประเภทตัวหนังสือ รูปภาพและเสียง
6. การสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web)
หมายถึง การใช้เครื่อข่ายอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข่าวสารที่มีอยู่
มากมายแล้วช่วยจัดเรียงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมีระบบ เป็นเมนู
ทำาให้เราหาข็อมูลได้ง่ายหรือสะดวกมากขึ้น ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่เป็น
Search Engine จำานวนมากคอยให้บริการ
7. การเผยแพร่ข้อมูลความสาร ผู้ที่มีความรู้ความชำานาญไม่ว่า
เรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย
เช่น ถ้ามีความชำานาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำาข้อมูล
การสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อม
ต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบ
อย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิด
จากอินเทอร์เน็ต
8. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) ให้
บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและแสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการ
อินเทอร์เน็ตทั่วโลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็นของตน โดยมี
การจัดการผู้ใช้เป็นกลุ่มข่าวหรือนิวกรุ๊ป (Newgroup) แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นกันเป็นหัวข้อต่าง ๆ เช่น เรื่องหนังสือ เรื่องการเลี้ยงสัตว์
ต้นไม้ คอมพิวเตอร์และการเมือง เป็นต้น ปัจจุบันมี Usenet
มากกว่า 15,000 กลุ่ม นับเป็นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคนจากทั่วมุมโลก
แสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง
9. การซื้อขายสินค้าและบริการ (E-Commerce = Eletronic
Commerce) เป็นการจับจ่ายซื้อ - สินค้าและบริการ เช่น ขายหนังสือ
คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยว เป็นต้น ปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตใน
การทำาธุรกิจและให้บริการลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง นับเป็นธุรกรรมและ
การโฆษณาที่มีต้นทุนตำ่าที่สุดอีกด้วย
10. การให้ความบันเทิง (Entertain) อินเทอร์เน็ตมีบริการด้าน
ความบันเทิงในทุกรูปแบบต่า งๆ เช่น เกมส์ เพลง รายการโทรทัศน์
รายการวิทยุ เป็นต้น เราสามารถเลือกใช้บริการเพื่อความบันเทิงได้
ตลอด 24 ชั่วโมงและจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก
11. บริการด้านการศึกษา (E-Learning) และห้องสมุด
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Library) ปัจจุบันการศึกษาได้ขยายโอกาสผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจำานวนมาก ทั้งการศึกษานอกหลักสูตรและใน
หลักสูตร ช่วยให้โอกาสทางการศึกษากระจายไปอย่างทั่วถึง นอกจาก
นี้การศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตยังเปิดโอกาสให้สามารถเลือกสถานศึกษา
จากทั่วทุกมุมโลก อยู่เมืองไทยก็สามารถรับปริญญามหาวิทยาลัยต่าง
ประเทศได้ด้วยการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ต
โทษของอินเทอร์เน็ต
- โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่ง
ข้อมูลที่เสียหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้อขาย
ของผิดกฏหมาย, ขายบริการทางเพศ ที่รวมและกระจายของไวรัส
คอมพิวเตอร์ต่างๆ
- อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำาให้การควบคุม
กระทำาได้ยาก
- มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
- ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทำาให้การค้นหากระทำาได้ไม่ดีเท่า
ที่ควร
- เติบโตเร็วเกินไป
- ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอก
ลวง-กลั่นแกล้งจากเพื่อน
- ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้
- ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ
- ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ (นั่นจะเป็น
เฉพาะการต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Dial up แต่ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ต
ความเร็วสูงจะสามารถใช้งานโทรศัพท์ที่ต่ออินเทอร์เน็ตได้ด้วย)
- เป็นสถานที่ที่ใช้ติดต่อสื่อสาร เพื่อก่อเหตุร้าย เช่น การวาง
ระเบิด หรือล่อลวงผู้อื่นไปกระทำาชำาเรา
- ทำาให้เสียสุขภาพ เวลาที่ใช้อินเตอร์เนตเป็นเวลานานๆ โดย
ไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว
โรคติดอินเทอร์เน็ต
โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอาการทางจิตประเภท
หนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษาและวิเคราะห์
ไว้ว่า บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่
น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต
- รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเข้าระบบ
อินเทอร์เน็ต
- มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้นอยู่เรื่อยๆ ไม่
สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้
- รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้
- คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำาให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น
- ใช้อินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา
- หลอกคนในครอบครัว หรือเพื่อน เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ต
ของตนเอง
- มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่
กระวนกระวาย
ซึ่งอาการดังกล่าว ถ้ามีมากกว่า 4 ประการในช่วง 1 ปี จะถือว่า
เป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต ซึ่งส่งผลเสียต่อระบบร่างกาย
ทั้งการกิน การขับถ่าย และกระทบต่อการเรียน สภาพสังคมของคนๆ
นั้นต่อไป
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำานวยความสะดวกได้มาก
เพียงใดก็ตาม สิ่งที่ต้องยอมรับความจริงก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุด
เด่นและข้อด้อยของตนทั้งสิ้น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจาก
ปัญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย
ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เป็นปัญหาหลักที่นับ
ว่ายิ่งมีความรุนแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี
2002 และแหล่งที่เป็นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต นับว่า
รุนแรงกว่าปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซำ้า
หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นำาไอทีมาใช้งาน จึงต้องตระหนักในปัญหานี้
เป็นอย่างยิ่ง จำาเป็นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความ
เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ที่มี
ประสิทธิภาพ การวางแผน ติดตาม และประเมินผลที่ต้องกระทำาอย่าง
สมำ่าเสมอต่อเนื่อง
แต่ไม่ว่าจะมีการป้องกันดีเพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบ
คอมพิวเตอร์ก็มีอยู่เรื่อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่
- Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลก
ระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่างยิ่ง
- บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไล่พนักงานออกจากงาน
อาจสร้างความไม่พึงพอใจให้กับพนักงานจนมาก่อปัญหา
อาชญากรรมได้เช่นกัน
- Buffer overflow เป็นรูปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทำา
อันตรายให้กับระบบได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะอาศัย
ช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ และขีดจำากัดของทรัพยากรระบบมาใช้
ในการจู่โจม การส่งคำาสั่งให้เครื่องแม่ข่ายเป็นปริมาณมากๆ ในเวลา
เดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความ
จำาไม่เพียงพอ จนกระทั่งเกิดการแฮงค์ของระบบ เช่นการสร้างฟอร์ม
รับส่งเมล์ที่ไม่ได้ป้องกัน ผู้ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์มนั้นในการส่ง
ข้อมูลกระหนำ่าระบบได้
- Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ
Backdoors เพื่อช่วยอำานวยความสะดวกในการทำางาน ซึ่งหาก
อาชญากรรู้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้
เช่นกัน
- CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ที่นิยมมากในการพัฒนา
เว็บเซอร์วิส มักเป็นช่องโหว่รุนแรงอีกทางหนึ่งได้เช่นกัน
- Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้าง
ฟิลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็นช่องทางที่อำานวย
ความสะดวกให้กับอาชญากรได้เป็นอย่างดี โดยการเปิดดูรหัสคำาสั่ง
(Source Code) ก็สามารถตรวจสอบและนำามา
ใช้งานได้ทันที
- Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อ
ให้ผู้ใช้นำาไปปรับปรุงเป็นทางหนึ่งที่อาชญากร นำาไป
จู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของ
เว็บไซต์ หรือระบบ จะทำาการปรับปรุง (Updated) ซอตฟ์แวร์ที่มีช่อง
โหว่นั้น ก็สายเกินไปเสียแล้ว
- Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ต ย่อมหนีไม่พ้น
การส่งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระทั่งรหัสผ่านต่างๆ ซึ่งบราวเซอร์
บางรุ่น หรือรุ่นเก่าๆ ย่อมไม่มีความสามารถในการเข้ารหัส หรือ
ป้องกันการเรียกดูข้อมูล นี่ก็เป็นอีกจุดอ่อนของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ได้เช่นกัน
- Malicious scripts จะมีการเขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์
แล้วผู้ใช้เรียกเว็บไซต์ดูบนเครื่องของตน อย่างมั่นใจ
หรือว่าไม่เจอปัญหาอะไร อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแฝงใน
เอกสารเว็บ เมื่อถูกเรียก โปรแกรมนั้นจะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์
เอ็นต์ และทำางานตามที่กำาหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยที่ผู้ใช้จะไม่ทราบ
ว่าตนเองเป็นผู้สั่งรันโปรแกรมนั้นเอง
- Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูล
ต่างๆ ตามแต่จะกำาหนด จะถูกเรียกทำางานทันทีเมื่อมีการเรียกดู
เว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรม
แฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บันทึกข้อมูลต่างๆ ของผู้ใช้ส่งกลับไปยัง
อาชญากร
- ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสำาหรับหน่วยงานที่ใช้ไอทีตั้งแต่
เริ่มแรก และดำารงอยู่อย่างอมตะตลอดกาล ในปี 2001
พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสียหายได้สูงสุด เป็นมูลค่าถึง
25,400 ล้าบบาท ในทั่วโลก ตามด้วย Code Red, Sircam,
LoveBug, Melissa ตามลำาดับที่ไม่หย่อนกว่ากัน
ปัญหาของโลกไอที มีหลากหลายมาก การทำานายผลกระทบที่
มีข้อมูลอ้างอิงอย่างพอเพียง การมีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การ
วางแผน ติดตาม ประเมินผลอย่างสมำ่าเสมอ คงจะช่วยให้รอดพ้น
ปัญหานี้ได้บ้าง
- อินเตอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำาให้การควบคุมกระทำาได้
ยาก
- มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
- ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี เสี่ยงต่อการละเมิดลิขสิทธิ์
เช่น เพลง หนัง
- เติบโตเร็วเกินไป
-เสี่ยงต่อการโดนจารกรรมข้อมูล การโจมตีจากไวรัส, แฮกเกอร์ และ
จากภัยคุกคามทางไซเบอร์ มัลแวร์
- ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอกลวง
โจมตี โฆษณาชวนเชื่อ กลั่นแกล้งจากเพื่อนใหม่
เช่น การตัดต่อรูปเพื่อการอนาจาร
- ถ้าเล่นอินเตอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้
- ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ
- ขณะที่ใช้อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้
- ใช้สื่อทางอินเตอร์เน็ตเพื่อกล่าวหาและโจมตีคู่แข่ง
ส่วนโทษเฉพาะที่เป็นภัยต่อเด็กมีอยู่ 7 ประการ บนอินเทอร์เน็ต
สามารถจำาแนกออกได้ดังนี้
1. การแพร่สื่อลามก มีทั้งที่เผยแพร่ภาพลามกอนาจาร ภาพการสมสู่
ภาพตัดต่อลามก
2. การล่อลวง โดยปล่อยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปพูดคุยกันใน Chat
จนเกิดการล่อลวงนัดหมายไปข่มขืนหรือทำาในสิ่งที่เลวร้าย
3. การค้าประเวณี มีการโฆษณาเพื่อขายบริการ รวมทั้งชักชวนให้
เข้ามาสมัครขายบริการ
4. การขายสินค้าอันตราย มีตั้งแต่ยาสลบยาปลุกเซ็กซ์ ปืน เครื่องช็อต
ไฟฟ้า
5. การเผยแพร่การทำาระเบิด โดยอธิบายขั้นตอนการทำาอย่างละเอียด
6. การพนัน มีให้เข้าไปเล่นได้ในหลายรูปแบบ
7. การเล่นเกม มีทั้งเกมที่รุนแรงไล่ฆ่าฟันและเกมละเมิดทางเพศ
บรรณานุกรม
ดร.วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์. คู่มือการเข้าสู่อินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ :
เม็ดทรายพริ้นติ้ง, 2539.
บุญลักษณ์ เอี่ยมสำาอางค์ เกื้อกมล พฤกษประมูล และโสภิต
พิทักษ์. ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาและการใช้ภาษา ม.4. พิมพ์
ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
สมนึก คีรีโต. เปิดโลกอินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น,
2538.
http://school.obec.go.th/ckn/network2/new_page_5.ht
m ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
http://school.obec.go.th/ckn/network2/new_page_4.ht
m ความหมายอินเทอร์เน็ต
http://cid-f83c786d9e00c5a7.spaces.live.com/blog/cns!
F83C786D9E00C5A7!180.entry ความสำาคัญของอินเทอร์เน็ต
http://pirun.ku.ac.th/~b5011172/Page_5.html บริการต่าง
ๆ บนอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย
1. Baldino, Eduardo N. (1997) Considerations on the
impact of the อินเตอร์เน็ต on education
http://haas.berkeley.edu/~baldino/ba212/index.html
2. Noam,Eli M. (1995). Electronics and the Dim Future of
the University. In Science Volume 270
(October, 1995) pp. 247-249.
3. Prowse, Michael. (1995). ENDANGERED SPECIES in
America, 20 November 1995 Financial
Times.
4. van Vught, F.A. (1997) Information Technology: The
Next Step in the Development of Academic
Institutions Presented at the 12 May 1997 NUFFIC
Seminar on: Virtual Mobility: New
Technologies and Internationalisation
5. van der Wende, Marijk. (1997) Virtual Mobility: New
Technologies and Internationalisation. In
Ninth Annual Conference of the European Association
for International Education Boundaries
and Bridges in International Education, 20-22 November
1997, Barcelona, Spain.
http://www.it.coj.go.th/internetadventage.html ประโยชน์
ของอินเทอร์เน็ต
http://dek-d.com/board/view.php?id=1300828 โทษของ
อินเทอร์เน็ต
http://blog.eduzones.com/banny/3743

More Related Content

What's hot

Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียนpatmalya
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บprawanya
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsiyabest
 
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...AmIndy Thirawut
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดBas Kit
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง kasetpcc
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์Prachyanun Nilsook
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์พัน พัน
 

What's hot (19)

Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน
 
Learning network1
Learning network1Learning network1
Learning network1
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
 
Handbook2560
Handbook2560Handbook2560
Handbook2560
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographics
 
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
 
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodleคู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
 
Introduction to e-Learning
Introduction to e-LearningIntroduction to e-Learning
Introduction to e-Learning
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Nurturing datadriven culture
Nurturing datadriven cultureNurturing datadriven culture
Nurturing datadriven cultureAjay Koomar
 
IIt and business collaboration
IIt and business collaborationIIt and business collaboration
IIt and business collaborationAjay Koomar
 
Data management best practices
Data management best practicesData management best practices
Data management best practicesAjay Koomar
 
Enterprise application integration
Enterprise application  integrationEnterprise application  integration
Enterprise application integrationAjay Koomar
 
Cognitive analytics
Cognitive analyticsCognitive analytics
Cognitive analyticsAjay Koomar
 

Viewers also liked (6)

C/Etrm gap
C/Etrm gapC/Etrm gap
C/Etrm gap
 
Nurturing datadriven culture
Nurturing datadriven cultureNurturing datadriven culture
Nurturing datadriven culture
 
IIt and business collaboration
IIt and business collaborationIIt and business collaboration
IIt and business collaboration
 
Data management best practices
Data management best practicesData management best practices
Data management best practices
 
Enterprise application integration
Enterprise application  integrationEnterprise application  integration
Enterprise application integration
 
Cognitive analytics
Cognitive analyticsCognitive analytics
Cognitive analytics
 

Similar to Group 1

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsawalee kongyuen
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตpatchu0625
 
onet-Work4-07
onet-Work4-07onet-Work4-07
onet-Work4-07yingjtm
 
it-10-07
it-10-07it-10-07
it-10-07yingjtm
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค ItPrachyanun Nilsook
 
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยRusifer Tangthong
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1SupachaiPenjan
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศAomam Rattiya
 
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร Adirek Yaowong
 

Similar to Group 1 (20)

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
onet-Work4-07
onet-Work4-07onet-Work4-07
onet-Work4-07
 
it-10-07
it-10-07it-10-07
it-10-07
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค It
 
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
 

Group 1

  • 1. รายงาน เรื่อง อินเตอร์เน็ตและความสำาคัญ จัดทำาโดย นางสาว อมรรัตน์ บุญเสนอ รหัสนิสิต 51010513530 EC นางสาว ชโลทร จันทะสิม รหัสนิสิต 51010514005 SED นางสาว บุหงา คงราช รหัสนิสิต 51010512014 SO นางสาว พลอยวรินทร์ ดอนทะนาม รหัสนิสิต 51010513515 EC นางสาวจุฑาทิพย์ ธรรมสิริวัฒน์ รหัสนิสิต 51010513505 EC นางสาว พรพรรณ ศรีสร้อย รหัสนิสิต 51010513584 EC นางสาว มญชรัศม์ สังหมื่นเหม้า รหัสนิสิต 51010513579 EC นางสาว ธัญชนก บูรวัฒน์ รหัสนิสิต 51010513559 EC นางสาว นิภาวรรณ อุปลี รหัสนิสิต 51010114010 JAP นางสาว รัตนา มีศรี รหัสนิสิต 51010114049 JAP นางสาว สุมิตรา มาลัยศรี รหัสนิสิต 51010114057 JAP นายณัฐกิตติ์ วงศาจันทร์ รหัสนิสิต 51010125006 JAP นายอธิวัฒน์ วงชารี รหัสนิสิต 51010101151 JAP นางสาว เจียมจิตร นุกูลวงศ์ รหัสนิสิต 51011011144 HOS นางสาว สกุณตลา ปิดตาทะโน รหัสนิสิต 51011311195 PO นางสาว มนัชชา สังเสวี รหัสนิสิต 51011311142 PO นางสาว ภัทิรา ประวันเณย์ รหัสนิสิต 51010114516 FR นางสาว อรวีร์ จันขุนทด รหัสนิสิต 51011311239 PO นางสาว นิตยา ภูแข่งหมอก รหัสนิสิต 51011311281 PO นางสาว ธันยาภรณ์ ไชยสอน รหัสนิสิต 50011010338 HOS
  • 2. นาย จิรพงศ์ เรืองแหล่ รหัสนิสิต 50011314289 PO รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา อินเตอร์เน็ตและการสื่อสารในชีวิตประจำาวัน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1/2553 คำานำา รายงานเรื่อง อินเตอร์เน็ตและความสำาคัญ เป็นส่วนหนึ่งของ การศึกษารายวิชา 0012006 อินเตอร์เน็ตและการสื่อสารในชีวิต ประจำาวัน ได้มีการสืบค้นข้อมูลและรวบรวมเกี่ยวกับ ประวัติความเป็น มาของอินเตอร์เน็ต ความหมาย ความสำาคัญของอินเตอร์เน็ต ประโยชน์และโทษของอินเตอร์เน็ต โดยมุ่งที่จะให้ผู้อ่านรายงาน เรื่อง อินเตอร์เน็ตและความสำาคัญ มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ อินเตอร์เน็ตมากขึ้น คณะผู้จัดทำาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็น ประโยชน์แก่ท่านในการนำาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน หากมีข้อ บกพร่องประการใด ก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทำา
  • 4. ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตกำาเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้ คิดค้นระบบขึ้นมา มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่มีวัน ตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูกทำาลาย หรือตัดขาด แต่ระบบ เครือข่ายแบบนี้ยังทำางานได้ซึ่งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลใน รูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวริ์ก ขึ้นมา เรียกว่า ARPAnet ย่อมาจากคำาว่า Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสำาเร็จและได้รับความนิยมใน หมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็นอย่างมาก ระบบเครือข่ายแบบเดิม ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ
  • 5. การเชื่อมต่อในภาพแรกแบบเดิม ถ้าระบบเครือข่ายถูกตัดขาด ระบบก็จะเสียหายและทำาให้การเชื่อมต่อขาดออกจากกัน แต่ในเครือ ข่ายแบบใหม่ แม้ว่าระบบเครือข่ายหนึ่งถูกตัดขาด เครือข่ายก็ยัง ดำาเนินไปได้ไม่เสียหาย เพราะโดยตัวระบบก็หาช่องทางอื่นเชื่อมโยง กันจนได้ ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสำาเร็จ ก็มีองค์กร มหาวิทยาลัยต่างๆ ให้ความสนใจเข้ามาร่วมในโครงข่ายมากขึ้น โดย เน้นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail ) ระหว่าง กันเป็นหลัก ต่อมาก็ได้ขยายการบริการไปถึงการส่งแฟ้มข้อมูล ข่าวสารและส่งข่าวสารความรู้ทั่วไป แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เน้น การให้บริการด้านวิชาการเป็นหลัก ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการนำา อินเทอร์เน็ตมาใช้ในเชิงพาณิชย์ มีการทำาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท ห้างร้านต่างๆ ก็เข้าร่วมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึ้น อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ใน ลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์ เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ ( Prince of Songkla University ) และสถาบันเทคโนโลยีแห่ง เอเชียหรือสถาบันเอไอที ( AIT ) ภายใต้โครงการความร่วมมือ ระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงการ IDP ) ซึ่งเป็นการ ติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่ อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเตอร์เน็ตแห่งแรกของ ประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC ( Thailand ) จำากัดได้ ขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภายในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่ อินเตอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คำา “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน ( Domain ) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใน ประเทศไทย โดยย่อมาจากคำาว่า Thailand กล่าวได้ว่าการใช้งาน อินเตอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้น เป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทย บริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 9600
  • 6. บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่ อินเตอร์เน็ตที่บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี ( UUNET Technologies ) ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงานที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือ ข่ายอินเตอร์เน็ตผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT ) มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ โดย เรียกเครือข่ายนี้ว่าเครือข่าย “ไทยเน็ต” ( THAInet ) ซึ่งนับเป็นเครือ ข่ายที่มี “ เกตเวย์ “ ( Gateway ) หรือประตูสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นแห่งแรกของประเทศไทย ปัจจุบันได้มีผู้รู้จักและใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโต มากกว่า 100 % สมาชิกของอินเตอร์เน็ตขยายจากอาจารย์และนิสิต นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป ความหมายอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วย กัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ ( Cyberspace ) คำา เต็มของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเวิร์กกิง ( Internetworking ) ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่า อินเทอร์เน็ต หรือ เน็ต อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการทำางานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจาก ระบบ WAN เป็นเครือข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรือกลุ่ม องค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิด ชอบแน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่าง คอมพิวเตอร์นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ถาวรขึ้นอยู่กับเวลานั้นๆ ว่าใคร ต้องการเล่นอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึงทำาให้ ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ
  • 7. ระบบอินเทอร์เน็ต ช่วยให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจากที่ หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ โดยไม่จำากัดระยะทาง และสามารถส่งข้อมูลได้ หลายรูปแบบ ทั้งข้อความ ตัวหนังสือ ภาพ และเสียง โดยอาศัยเครือ ข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อม โยงเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ต สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ ระบบการสื่อสารกับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ความสำาคัญของอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสำาคัญต่อชีวิต ประจำาวันของคนเราเป็นอย่างมาก เพราะทำาให้วิถีชีวิตเราทันสมัย และทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการเสนอข้อมูล ข่าวปัจจุบัน และสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุก วัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อ สนองความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึง เป็นแหล่งสารสนเทศสำาคัญสำาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่งที่ตน สนใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด
  • 8. หรือแม้แต่การรับรู้ข่าวสารทั่วโลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์เน็ตจาก เว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสือพิมพ์ ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงมีความสำาคัญกับวิถีชีวิตของคนเราในปัจจุบัน เป็นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลที่อยู่ในวงการธุรกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น 1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีความสำาคัญ ดังนี้ 1. สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และ อื่น ๆ ที่น่าสนใจ 2. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำาหน้าที่เปรียบ เสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ 3. นักเรียนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับ มหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กำาลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็นข้อความเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ 2. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีความสำาคัญ ดังนี้ 1. ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทาง ธุรกิจ 2. สามารถซื้อขายสินค้า ทำาธุรกรรมผ่านระบบเครือ ข่าย 3. เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณา สินค้า ติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ 4. ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถ เปิดให้บริการ และสนับสนุนลูกค้าของตนผ่านระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คำาแนะนำา สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจก ฟรี (Freeware) 3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์เน็ตมีความสำาคัญดังนี้
  • 9. 1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การ ค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพ ประกอบที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสือทั่ว ๆ ไป 2. สามารถฟังวิทยุหรือดูรายการโทรทัศน์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ 3. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดู ได้ การถ่ายโอนข้อมูลของอินเทอร์เน็ต การส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ไม่ได้ส่งข้อมูลเป็นชุดยาวๆ หากแต่ส่งไปเป็นชิ้นๆ เป็นชุดๆ หรือเรียก กันทั่วไปว่า แพ็กเกต (Packet) แพ็กเกตจะถูกส่งไปตามสายเคเบิล เมื่อไปถึงผู้รับแล้ว แพ็กเกตจะมารวมกันเป็นข้อความยาวๆ เหมือนเดิม แต่ถ้าแพ็กเกตใดขาดหายหรือตกหล่น คอมพิวเตอร์ก็จะตรวจสอบ และส่งแพ็กเกตมาใหม่ จนข้อมูลครบเหมือนเดิม การที่ข้อมูลจะถูกส่งถ่ายเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์หลากหลาย ชนิดที่เชื่อมต่อกันในระบบเครือข่ายนั้น จะมีปัญหาและอุปสรรคใน การสื่อสาร ทำาให้ไม่อาจส่งถ่ายข้อมูลได้สะดวก จึงได้มีการพัฒนา ภาษากลางสำาหรับสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ขึ้นมา เพื่อให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทุกชนิดสามารถสื่อสารกันได้ ภาษาดังกล่าวเรียกว่า TCP/IP ย่อมาจากคำาว่า Transmission Control Protocol/Internet Protocol
  • 10. การวิ่งไป-มาของข้อมูลจะผ่านเส้นทางหลักที่เรียกว่า แบ็กโบน (Backbone) ผ่านทางเร้าเตอร์ (Router) ซึ่งเปรียบเสมือนบริษัท ตัวการเส้นทางให้ข้อมูลเดินทางไป-มาได้สะดวกและรวดเร็ว ถึงจุด หมายปลายทางได้อย่างสะดวกปลอดภัย บริการต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตมีหลายประเภท เพื่ออำานวยความสะดวก ให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ซึ่งในที่นี้จะยก ตัวอย่างบริการบนอินเทอร์เน็ตที่สำาคัญดังนี้ 1.บริการด้านการสื่อสาร 1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์(electronic mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าอีเมล์ (E- mail) ถือได้ว่าเป็นกิจกรรมประจำาวันของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งการส่ง และรับจดหมาย หรือข้อความถึงกันได้ทั่วโลกนี้จำาเป็นจะต้องมีที่อยู่ อีเมล์ (e-mail address หรือ e-mail account) เพื่อใช้เป็นกล่องรับ จดหมาย ที่อยู่ของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสำาคัญ 2 ส่วน คือ ชื่อผู้ใช้ (User name) และชื่อโดเมน(Domain name) ซึ่งเป็น ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผู้ใช้อีเมล์ โดยชื่อผู้ใช้และชื่อ โดเมนจะคั่นด้วยเครื่องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท) เช่น Sriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมีผู้ใช้อีเมล์ชื่อ Sriprai ที่มี อยู่อีเมล์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ sukhothai ของมหาวิทยาลัย สยาม(siamu) ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th) ในการรับ-ส่งจดหมาย โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น ได้มี การพัฒนาโปรแกรมที่ใช้สำาหรับอีเมล์อยู่หลายโปรแกรม เช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม Netscape Mail เป็นต้น นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยู่ อีเมล์ได้ฟรีจากเว็บไซต์ที่ให้บริการที่อยู่อีเมล์ฟรี เว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จัก และนิยม ได้แก่ www.hotmail.com, www.chaiyo.com, www.thaimail.com โดยทั่วไปแล้ว ส่วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วย ส่วนหัว (header) และส่วนข้อความ (message) 1.2 รายชื่อกลุ่มสนทนา (mailing lists) mailing lists เป็นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มี การติดต่อสื่อสารและการส่งข่าวสารให้กับสมาชิกตามรายชื่อและที่อยู่ ของสมาชิกที่มีอยู่ ในรายการซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่ม mailing lists ที่
  • 11. แตกต่างกันตามความสนใจจำานวนมาก การเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม สนทนาประเภทนี้ ผู้ใช้จะต้อง สมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความ ประสงค์และส่งชื่อและที่อยู่เพื่อการลงทะเบียบไปยัง subscription address ของ mailing lists ตัวอย่าง mailing list เช่น ทัวร์ ออนไลน์ (tourbus@listserv.aol.com)กลุ่มสนทนาเรื่องตลก (dailyjoke@lists.ivllage.com) 1.3 กระดานข่าว (usenet) ยูสเน็ต (usenet หรือ user network) เป็นการรวบรวมของ กลุ่มข่าวหรือ newsgroup ซึ่งเป็นกลุ่มผู้สนใจที่ต้องการจะติดต่อและ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ newsgroup ในปัจจุบันมีมากกว่า 10,000 กลุ่มที่มีความสนใจใน หัวข้อที่แตกต่างกัน เช่น กลุ่มผู้สนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ ชื่นชอบภาพยนต์ เป็นต้น การส่งและรับแหล่งข่าวจาก usenet จะใช้โปรแกรมสำาหรับ อ่านข่าวเพื่อไปดึงชื่อของกลุ่มข่าวหรือหัวข้อจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ ผู้ใช้เข้าไปขอใช้บริการเช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าว จะมีการตั้งชื่อเพื่อใช้เป็นแบบมาตรฐาน ซึ่งชื่อกลุ่มจะประกอบด้วย ส่วนประกอบหลัก ๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อ กลุ่มข่าวย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่างเช่น 1.4 การสนทนาออนไลน์(On-line chat) การสนทนาออนไลน์ เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้ ใช้สามารถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่น ๆ ได้ในเวลาเดียวกัน (real- time) การสนทนาหรือ chat (Internet Relay Chat หรือ IRC)ได้มี การพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันการสนทนาระหว่างบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลสามารถใช้ ภาพกราฟิก ภาพการ์ตูนหรือภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผู้สนทนา ได้ นอกจากการสนทนาแล้ว ผู้ใช้ยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและ ไฟล์ได้อีกด้วย การใช้งาน IRC ผู้ใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่องที่เป็นไออาร์ซี เซิร์ฟเวอร์ (IRC server) ที่มีการแบ่งห้องสนทนาเป็นกลุ่ม ๆ ที่เรียกว่า แชนแนล (channel) โดยผู้ใช้จะต้องมีโปรแกรมเพื่อใช้สำาหรับการ สนทนา (ซึ่งสามารถดาวน์โหลดฟรีจากอินเทอร์เน็ต) เมื่อผู้ใช้ติดต่อ กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้แล้ว ก็จะเลือกกลุ่มสนทนาหรือหัวข้อสนทนาที่ สนใจ และเริ่มสนทนาได้ตามความต้องการ ตัวอย่าง โปรแกรมสนทนา ออนไลน์ที่นิยมใช้กัน ในปัจจุบัน เช่น ICQ(I Seek You) และ mIRC
  • 12. การสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันผู้ใช้สามารถใช้สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย เสียงพูด และภาพเคลื่อนไหว โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ไมโครโฟน ลำาโพง กล้องวีดีโอ และอื่น ๆ เพื่ออำานวยความสะดวกและเพื่อ ประสิทธิภาพของการสนทนา ให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของโปรแกรม ได้มี การพัฒนาโปรแกรมเพื่อการสนทนาออนไลน์ที่มีคุณภาพ เช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สามารถสนทนากันไปพร้อม ๆ กับมองเห็นภาพของคู่สนทนาได้ด้วย 1.5 เทลเน็ต (telnet) เทลเน็ตเป็นบริการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ระยะไกล โดยจะใช้การจำาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่กำาลังใช้งานอยู่ ให้เป็นจอภาพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล เครื่องนั้น การทำางานในลักษณะนี้ จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้ จ่ายในกรณีที่ต้องเดินทางไปใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล การ ใช้งานเทลเน็ตจะเป็นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดย ปกติการเข้าไปใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกล จำาเป็นต้องมี รายชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน แต่ก็มีบางหน่วยงานที่อนุญาติให้เข้าใช้ บริการโดยไม่ต้องระบุรหัสผ่านเพื่อ เป็นการให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้า ทั่ว ๆ ไป 2.บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ 2.1 การขนถ่ายไฟล์(file transfer protocol) การขนถ่ายไฟล์ หรือที่เรียกสั้น ๆว่า เอฟทีพี (FTP) เป็นบริการ ที่ใช้สำาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ทาง อินเตอร์เน็ต เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการไฟล์จะเรียกว่า เอฟทีพี เซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site) ข้อมูลที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะมีลักษณะหลายรูปแบบ ได้แก่ ข้อมูลสถิติ งานวิจัย บทความ เพลง ข่าวสารทั่วไป หรือโปรแกรมฟรี แวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้โปรแกรมฟรี ในบางครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะให้ บริการเฉพาะบุคคลที่มีบัญชีรายชื่ออยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ก้ฒีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จำานวนมากอนุญาต ให้ผู้ใช้ทั่วไปได้เข้าไปใช้บริการ ถึงแม้ว่าในบางครั้งจะไม่อนุญาต ให้ ขนถ่ายไฟล์ทั้งหมดก็ตาม 2.2 โกเฟอร์ (gopher) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริการข้อมูลในลักษณะของการ ค้นหาจากเมนู(menu-based search) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้ บริการข้อมูล โปรแกรมโกเฟอร์พัฒนาโดยมหาวิทยาลัย Minnesota
  • 13. ในปี ค.ศ. 1991 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการฐานข้อมูลจะเป็น ลักษณะของเมนูลำาดับชั้น (hierarchy) เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่ง ข้อมูลอื่น ๆ ที่กระจายกันอยู่หลายแหล่งได้ 2.3 อาร์ซี (archie) อาร์ซี เป็นการเข้าใช้บริการค้นหาข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายที่เป็น อาร์ซีเซิร์ฟเวอร์ (archie sever ) ซึ่งเป็นแหล่งที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหา สถานที่ของข้อมูล จากนั้นก็จะไปค้นข้อมูลโดยตรงจากสถานที่นั้นต่อ ไป 2.4 WAIS (Wide Area Information Severs) WAIS เป็นบริการค้นหาข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลที่อยู่บน อินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวมข้อมูลและดรรชนีสำาหรับสืบค้นข้อมูลจากฐาน ข้อมูลต่างๆ เพื่ออำานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้เพื่อสามารถเข้าไปยัง ข้อมูลที่ต้องการและสามารถเชื่อมโยงไปยังศูนย์ข้อมูล WAIS อื่นๆ ได้ ด้วย 2.5 veronica veronica ย่อมาจาก very easy rodent-oriented net- wide index to computerized archives เป็นบริการที่รวบรวม ข้อมูลเพื่อช่วยอำานวย ความสะดวกในการค้นหาสิ่งที่ต้องการได้อย่าง รวดเร็ว 2.6 การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายใยแมงมุมที่มีการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูล ที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลก การค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ถ้าผู้ใช้ไม่ ทราบที่อยู่ของเว็บไซต์ ก็สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริการ ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาแล้วปัจจุบันการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ เป็นเรื่อง ที่กระทำาได้สะดวกและรวดเร็ว การพัฒนาเว็บไซต์ที่ช่วย สืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เครื่องค้นหา (search engine) ช่วย ให้การค้นหาทั้งในรูปของ ข้อความและกราฟิกกระทำาได้โดยง่าย เว็บไซต์ที่ช่วยสำาหรับการสืบค้นข้อมูลที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ yahoo.com, altavista.com, lycos.com, excite.com, ask.com, infoseek.ccom อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย
  • 14. วิโรจน์ อรุณมานะกุล 1. ความเป็นมา ยุคปัจจุบันนอกจากจะเป็นยุคโลกาภิวัฒน์แล้ว ยังเป็นยุคแห่ง สารสนเทศไร้พรมแดนด้วย และเป็นยุค ที่เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต เริ่มก้าวเข้ามามีบทบาทสำาคัญทั้งในภาคธุรกิจและในภาคการศึกษา ดังจะเห็นได้จาก การที่ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ประกาศนโยบายที่จะ ให้ทุกห้องเรียนสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้ภายในปี ค.ศ. 2000 และนักเรียนทุกคนต้องได้รับการศึกษาด้านเทคโนโลยีนี้ ใน ประเทศไทยเอง ถึงแม้จะไม่มีการประกาศแผนนโยบายด้านนี้ชัดเจน อินเตอร์เน็ตก็เริ่มก้าวเข้ามาสู่สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ระดับอุดมศึกษา ดังจะเห็นได้จากการที่มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ลงทุน ติดตั้งระบบเครือข่าย network ภายในและต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพื่อ ให้อาจารย์และนิสิตนักศึกษาได้ใช้อินเตอร์เน็ตกัน การนำาอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เป็นการนำา สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ต่อ การศึกษา ซึ่งในเรื่องนี้ มีผู้ที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มอง เห็นข้อดีของการใช้ประโยชน์จากสื่อนี้เพื่อการศึกษา เพราะมองว่าอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่ช่วยให้ผู้รับสารเข้าถึงข้อ มูลได้ อย่างมากมายและสะดวกรวดเร็วช่วยให้มีการเรียนรู้แบบ self center มากขึ้น ขณะที่อีกกลุ่มจะมองการนำาเทคโนโลยีนี้มาใช้ในเชิงลบ คือ มองถึงผลกระทบของสื่อนี้ต่อระบบการศึกษาว่า จะส่งผลให้เกิดการ ปรับ เปลี่ยนโครงสร้างการศึกษาไปจนถึงล้มล้างระบบและสถาบันการ ศึกษาที่มีมากว่า 2500 ปี 2. ทำาไมต้องนำาสื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามาในมหาวิทยาลัย มีเหตุผลและปัจจัยหลายอย่างที่ทำาให้หลายๆคนเชื่อว่าการนำา เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบ การศึกษาแทบจะเป็นสิ่งที่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ เหตุผลหลักสำาคัญอันหนึ่ง คือความจำาเป็นทาง เศรษฐกิจ Prowse (1995) ได้ชี้ให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายของการศึกษา ที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ ค่าใช้จ่ายของหน่วยกิตในมหาวิทยาลัยใน สหรัฐอเมริกาได้เพิ่มขึ้น 174% ภายใน 10 ปี มากกว่าอัตราขยายตัว ของ consumer price ถึง 3 เท่า van Vught (1997) กล่าวว่าค่า ใช้จ่ายในการเข้าเรียนมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาได้เพิ่มจาก 9% ของรายได้ครัวเรือน (median family income) ในปี 1979 ไป
  • 15. เป็น 15% ในปี 1994 หากเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ค่าใช้จ่ายจะเพิ่ม มากยิ่งขึ้น (20% ในปี 1979 และ 40% ในปี 1994) การเพิ่มของค่า ใช้จ่ายด้านการศึกษานี้เกิดขึ้นทั้งในยุโรปและในกลุ่มประเทศด้อย พัฒนาด้วย การที่จะลดค่าใช้จ่ายลง จำาเป็นต้องนำาเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ โดย van Vught (1997) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นว่า ค่าใช้ จ่ายต่อหัวของการเรียนในมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกานั้น สูงถึง US$12,500 ส่วนในอังกฤษสูงถึง US$10,000 แต่ค่าใช้จ่ายต่อหัว ของการเรียนในแบบ distant learning (คำานวณจาก 11 มหาวิทยาลัยใน China, France, India, Indonesia, Iran, Korea, South Africa, Spain, Thailand, Turkey and the UK) นั้นไม่ถึง US$350 เขาจึงเชื่อว่า การนำาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต มาใช้ในการสอนแบบ distant learning จะเป็นรูปแบบของ มหาวิทยาลัยในอนาคต เพราะรูปแบบมหาวิทยาลัยแบบที่เป็นอยู่ไม่ เหมาะสมกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพราะมีแต่จะทำาให้ค่า ใช้จ่ายด้านการศึกษาเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในขณะที่การสนับสนุนจาก ภาครัฐและเอกชนจะเริ่มลดลง อีกปัจจัยหนึ่งเป็นเรื่องของการเติบโตอย่างรวดเร็วของศาสตร์ แต่ละศาสตร์ Noam (1995) ได้ยกตัวอย่าง วารสารวิชาการ Chemical Abstracts ซึ่งต้องใช้เวลาถึง 31 ปีเพื่อตีพิมพ์บทคัดย่อ งานวิจัยออกมา 1 ล้านชิ้น และใช้เวลาอีก 18 ปีต่อมาสำาหรับตีพิมพ์ บทคัดย่ออีก 1 ล้านชิ้น แต่ปัจจุบันในใช้เวลาไม่ถึง 2 ปีก็สามารถตี พิมพ์บทคัดย่อออกมาได้กว่า 1 ล้านชิ้น ความเติบโตนี้เองที่ทำาให้มี การแตกแขนงของสาขาวิชาต่างๆมากมายทำาให้มหาวิทยาลัยไม่ afford ที่จะมีผู้เชี่ยวชาญในทุกๆสาขา แม้แต่ในภาควิชาเดียวกัน ก็ ยังมีการแยกย่อยสาขาจนแทบหาผู้เชี่ยวชาญในสาขาเดียวกันเพื่อที่ จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในมหาวิทยาลัยได้ยากการใช้ อินเตอร์เน็ตช่วยแก้ไขปัญหานี้เพราะทำาให้เกิด virtual community ของผู้ที่มีความสนใจร่วมกันแต่อยู่ห่างไกลกันได้ ทำาให้สามารถแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกันได้ นอกจากนี้ในเรื่องของ การสะสมสิ่งตีพิมพ์ ก็เป็นไปได้ ยากที่มหาวิทยาลัยจะทำาให้ได้ครอบคลุมสมบูรณ์แบบเหมือนเดิม เพราะค่าใช้จ่ายที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ โดย Noam ยกตัวอย่างของ วารสาร Chemical Abstracts ซึ่งค่าสมาชิกรายปี ได้เพิ่มจาก $12 ในปี 1940 เป็น $3,700 ในปี 1977 และเป็น $17,400 ในปี 1995 ในปัจจุบัน จึงมีแนวโน้มที่จะลดค่าใช้จ่ายด้านนี้ เริ่มมีการ จัดพิมพ์วารสาร online หรือเปิดให้บริการเป็นสมาชิกวารสารผ่าน ทางอินเตอร์เน็ตมากขึ้น
  • 16. นอกจากปัจจัยทางเศรษฐกิจแล้ว ปัจจัยทางสังคมก็เป็นอีก เหตุผลหนึ่งที่ทำาให้การนำาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ามาใน มหาวิทยาลัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก การเติบโตและการเป็นที่ ยอมรับของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ และการแพร่หลายของการใช้ อินเตอร์เน็ต ทำาให้เกิดการคาดหวังจากสังคมว่า มหาวิทยาลัยจำาเป็น ต้องมีเทคโนโลยีด้านนี้พร้อมเพื่อรองรับความต้องการของนิสิต ขณะ เดียวกันก็เป็นการสร้างภาพว่ามหาวิทยาลัยได้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น 3. ผลกระทบของอินเตอร์เน็ตต่อระบบการศึกษา แม้ว่าผู้คนจะยอมรับอินเตอร์เน็ตว่ามีประโยชน์ต่อการทำาวิจัย เพราะช่วยในการค้นหาข้อมูลต่างๆ ได้สะดวกรวดเร็ว แต่ก็มีผู้ที่มอง ว่าอินเตอร์เน็ตจะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่อระบบการ ศึกษาในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะอินเตอร์เน็ตทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ด้านการควบคุมความรู้ (knowledge) หรือข่าวสาร (information) ซึ่งจะส่งผลให้รูปแบบสถาบันการศึกษาอ่อนแอลงและเปลี่ยนแปลงไป ในที่สุด Noam (1995) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง ของ information flow ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ โดยกล่าวว่า ใน ยุคแรก นักบวชจะเป็นผู้ครอบครองและถ่ายทอด information โดย การท่องจำา ต่อมาเมื่อมีระบบการเขียน จึงมีการจัดเก็บข้อมูล มีห้อง สมุดขึ้น เช่น Great Library of Alexandria ซึ่งมีการจัดระบบ ข้อมูลความรู้และกระบวนการ หาความรู้คล้ายๆกับการมีภาควิชาต่างๆในปัจจุบัน ลักษณะแบบนี้ เป็นการรวมศูนย์ความรู้ไว้ที่หนึ่ง ผู้สนใจจะต้องเดินทางเข้ามาเพื่อรับ การถ่ายทอดความรู้นั้นจากผู้ที่ได้รับการยอมรับว่าทรงคุณวุฒิ รูป แบบการศึกษาแบบนี้คงอยู่มาเป็นเวลา 2500 ปี แต่ปัจจุบันทิศทาง ของ information flow กำาลังเปลี่ยนไป ผู้เรียนไม่จำาเป็นต้องเข้ามา หาความรู้ แต่สามารถใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อเรียกดูข้อมูลความรู้ให้มาหา ตนได้ เมื่อเป็นดังนี้ มหาวิทยาลัยซึ่งมีหน้าที่หลักสองอย่างคือ เป็น authority ในการ transfer information และเป็นแหล่งรวบรวม information ก็จะค่อยๆสูญเสียความสำาคัญของบทบาททั้งสองลงใน ที่สุด Noam (1995) ยังกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นนี้ แตกต่างจากเมื่อคราวที่เริ่มมีสื่อวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในตอนนั้นหลายคน เชื่อกันว่าสื่อวิทยุโทรทัศน์จะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา อย่างมากแต่ท้ายที่สุดก็ไม่ได้เป็นไปเช่นที่ทำานาย จึงมีผู้วิจารณ์ว่าสื่อ
  • 17. อินเตอร์เน็ตก็จะเป็นเช่นเดียวกัน แต่ Noam แย้งว่าสื่ออินเตอร์เน็ตมี ลักษณะที่ต่างไป เพราะการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้เป็นการเปลี่ยนของ information flow ในขณะที่การนำาสื่อวิทยุโทรทัศน์มาใช้ไม่ได้ก่อ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จุดนี้ นอกจากนี้สื่อวิทยุโทรทัศน์ยังเป็นสื่อที่ ถูกควบคุมด้วยคนจำานวนน้อยซึ่งเป็นชนชั้นนำาในสังคมได้ง่าย ใน ขณะที่สื่ออินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่เสรีและไม่สามารถถูกควบคุมด้วยคน จำานวนน้อยได้ Baldino (1996) มองว่า การควบคุม information มีความสำาคัญต่อกลุ่มชนที่เป็นชนชั้นนำาในสังคม ประวัติศาสตร์ที่ ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าชนชั้นนำาดำารงบทบาทตัวเองอยู่ได้โดย อาศัยการควบคุม information คือกำาหนดว่าใครควรจะรู้ และควรจะ รู้อะไร ผ่านสถาบันการศึกษาซึ่งทำาหน้าที่สืบทอดอุดมการณ์ต่างๆ (ideological values) ของชนชั้นนำา สถาบันการศึกษาจึงมีบทบาท เพื่อสนับสนุนโครงสร้างของสังคม โดยการ "make sure that whoever has access to knowledge only knows what we want them to know, and make sure that they think just like we want them to think" จึงไม่แปลกอย่างไรที่สื่อวิทยุ โทรทัศน์เมื่อถูกนำาเข้ามาในสังคมจึงถูกควบคุมโดยชนชั้นนำาเพื่อ สืบทอดอุดมการณ์เดิมไว้ ทั้งนี้เพราะสื่อวิทยุโทรทัศน์มีธรรมชาติที่ เป็นการกระจายเสียงและภาพจากสถานีแม่ข่าย จึงถูกควบคุมได้ง่าย กว่า ต่างจากสื่ออินเตอร์เน็ตซึ่งใครก็สามารถทำาหน้าที่ให้ข้อมูลก็ได้ ขอเพียงมีแค่คอมพิวเตอร์ส่วนตัวสักเครื่อง ก็สามารถสร้าง web site เพื่อให้ข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆได้ นอกจากความคิดที่ว่า สื่ออินเตอร์เน็ตจะลดบทบาทความ สำาคัญของสถาบันการศึกษา ผลกระทบที่เห็นได้ชัดกว่า คือ การ เปลี่ยนแปลงด้านรูปแบบการเรียนการสอน ทั้งนี้เพราะสื่ออินเตอร์เน็ต จะทำาให้เรื่องของสถานที่และเวลาลดความสำาคัญลง เพราะผู้เรียนไม่ จำาเป็นต้องมารวมกันในห้องเรียน ไม่จำาเป็นต้องมาเรียนในชั่วโมง เดียวกัน แต่สามารถเข้าเรียนจากที่ไหนก็ได้ที่มีอินเตอร์เน็ต access จะเข้าเรียนเวลาใดก็ได้ตามสะดวกนอกจากนี้ ผู้เรียนยังสามารถเปรียบ เทียบรายวิชาที่ตัวเองเรียนกับรายวิชาที่เปิดสอนในที่อื่นๆได้ด้วย บทบาทของอาจารย์จึงไม่ใช่ผู้ที่รู้ดีที่สุดในชั้นเรียนอีกต่อไป นักเรียน สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้จากแหล่งอื่นและนำามาเปรียบเทียบได้ ในบริบทใหม่นี้ อาจารย์จึงเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ถ่ายทอด ความรู้โดยตรงในแบบเดิมมาเป็นพี่เลี้ยงในการเรียนรู้ของผู้เรียน มากกว่า ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่แสวงหาความรู้ด้วยตัวเองเป็นหลักโดย อาศัยคำาแนะนำาจากอาจารย์ รูปแบบการเรียนการสอนจึงเปลี่ยนจาก
  • 18. การบรรยายความรู้มาเป็น problem solving oriented และเป็น team-based 4. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา อีกกลุ่มเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงจะไม่ส่งผลกระทบในทางลบ ขนาดนั้น แต่กลับมองว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะใช้ประโยชน์จาก อินเตอร์เน็ตเพื่อขยายขอบเขตของมหาวิทยาลัยสู่กลุ่มคนที่ใหญ่ขึ้นได้ van Vught (1997) เชื่อว่า information technology จะเข้ามา ช่วยให้การเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่จะไม่สามารถ เข้ามาแทนที่การมีโรงเรียนและมหาวิทยาลัยได้ โรงเรียนและ มหาวิทยาลัยจะยังคงมีอยู่ในระบบการศึกษาแต่ก็ยอมรับกันว่าจะมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างมาก จากเดิมที่เป็นห้องเรียนมีผนังล้อมรอบก็จะเป็น school without wall และเปลี่ยนจากการเรียนการสอนแบบ บรรยายในชั้นเรียนมาเป็นแนวการเรียนการสอนแบบกระตุ้นให้เรียน และค้นคว้าเป็นทีม (stimulate team-based learning) ประโยชน์ที่ชัดเจนที่สุดของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา คือการ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การค้นหาข่าวสารข้อมูลต่างๆเป็นไปได้อย่าง สะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ปัจจุบัน มี web site ต่างๆเกิดขึ้น มากมาย แต่ละ web site ก็ให้ข้อมูลข่าวสารในเรื่องต่างๆ รูปแบบ ระบบห้องสมุดก็มีแนวโน้มว่าจะเปลี่ยนเป็น digital library ที่มี หนังสือในเรื่องต่างๆเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ให้อ่านและค้นคว้าได้ online การใช้ email ช่วยให้การติดต่อข่าวสารระหว่างนัก วิชาการเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ไม่ล่าช้าเหมือนแต่ก่อน ช่วยให้การ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิชาการในสาขาเดียวกันทั่วโลก เป็นไปได้ การเรียนแบบ online ยังช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนได้ ตามขีด ความสามารถของตนเอง ใครมีความสามารถมากก็เรียนได้เร็วกว่า นักเรียนที่ไม่กล้าแสดงความคิดเห็นในห้องก็สามารถแสดงความคิด เห็นได้มากขึ้นผ่านการใช้ email หรือ discussion group ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
  • 19. เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วทั้งโลก สามารถนำามาใช้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางและต้นทุนตำ่ากว่า ช่องทางอื่น ทำาให้มีการปรับใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็นการส่ง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ส่งจะต้องส่ง ข้อความไปยังที่อยู่ของผู้รับ ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่ง เขียนจดหมาย 1 ฉบับ แล้วส่งไปยังที่อยู่นั้น ผู้รับจะได้รับจดหมาย ภายในเวลาไม่กี่วินาที แม้จะอยู่ห่างกันคนละซีกโลกก็ตาม นอกจากนี้ ยังสามารถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย 2. บริการสื่อสารด้วยข้อความ (Chat, IRC-Internet Relay chat) เป็นการพูดคุยกันระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ต โดยพิมพ์ข้อความ ตอบกัน ซึ่งเป็นวิธีการสื่อสารที่ไดัรับความนิยมมากอีกวิธีหนึ่ง การ สนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนา เดียวกัน แต่ละคนก็พิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน แม้จะอยู่คนละซีกโลกก็ตาม 3. บริการสื่อสารด้วยเสียง ภาพ และการประชุมทางไกลผ่าน จอภาพ (VDO Conference) เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่พัฒนามาก ขึ้นทำาให้กลายเป็นช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถส่งได้ ทั้งเสียงในรุปแบบโทรศัพท์ หรือส่งเฉพาะภาพคู่สนทนา รวมทั้งการจัด ประชุมทางไกลผ่านจอภาพที่ได้รับทั้งภาพและเสียง 4. การขอเข้าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) บริการ อินเน็ตรูปแบบหนึ่งโดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีก เครื่องหนึ่งที่อยู่ไกล ๆ ได้ด้วยตนเอง โดยให้เครื่องทั้งสองต่อ อินเทอร์เน็ตไว้ เราสามารถเรียกข้อมูลจากเครื่องที่ต้องการมายังเครื่อง ส่วนตัวได้ 5. การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็นบริการอีกรูปแบบหนึ่งของระบบอินเทอร์เน็ต เราสามารถค้นหาและ เรียกข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาเก็บไว้ในเครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูล ประเภทตัวหนังสือ รูปภาพและเสียง 6. การสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web) หมายถึง การใช้เครื่อข่ายอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข่าวสารที่มีอยู่ มากมายแล้วช่วยจัดเรียงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมีระบบ เป็นเมนู ทำาให้เราหาข็อมูลได้ง่ายหรือสะดวกมากขึ้น ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่เป็น Search Engine จำานวนมากคอยให้บริการ 7. การเผยแพร่ข้อมูลความสาร ผู้ที่มีความรู้ความชำานาญไม่ว่า เรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำานาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำาข้อมูล
  • 20. การสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อม ต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบ อย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิด จากอินเทอร์เน็ต 8. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) ให้ บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและแสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการ อินเทอร์เน็ตทั่วโลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็นของตน โดยมี การจัดการผู้ใช้เป็นกลุ่มข่าวหรือนิวกรุ๊ป (Newgroup) แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันเป็นหัวข้อต่าง ๆ เช่น เรื่องหนังสือ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้ คอมพิวเตอร์และการเมือง เป็นต้น ปัจจุบันมี Usenet มากกว่า 15,000 กลุ่ม นับเป็นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคนจากทั่วมุมโลก แสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง 9. การซื้อขายสินค้าและบริการ (E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็นการจับจ่ายซื้อ - สินค้าและบริการ เช่น ขายหนังสือ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยว เป็นต้น ปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตใน การทำาธุรกิจและให้บริการลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง นับเป็นธุรกรรมและ การโฆษณาที่มีต้นทุนตำ่าที่สุดอีกด้วย 10. การให้ความบันเทิง (Entertain) อินเทอร์เน็ตมีบริการด้าน ความบันเทิงในทุกรูปแบบต่า งๆ เช่น เกมส์ เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็นต้น เราสามารถเลือกใช้บริการเพื่อความบันเทิงได้ ตลอด 24 ชั่วโมงและจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก 11. บริการด้านการศึกษา (E-Learning) และห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์ (E-Library) ปัจจุบันการศึกษาได้ขยายโอกาสผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจำานวนมาก ทั้งการศึกษานอกหลักสูตรและใน หลักสูตร ช่วยให้โอกาสทางการศึกษากระจายไปอย่างทั่วถึง นอกจาก นี้การศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตยังเปิดโอกาสให้สามารถเลือกสถานศึกษา จากทั่วทุกมุมโลก อยู่เมืองไทยก็สามารถรับปริญญามหาวิทยาลัยต่าง ประเทศได้ด้วยการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ต
  • 21. โทษของอินเทอร์เน็ต - โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่ง ข้อมูลที่เสียหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้อขาย ของผิดกฏหมาย, ขายบริการทางเพศ ที่รวมและกระจายของไวรัส คอมพิวเตอร์ต่างๆ - อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำาให้การควบคุม กระทำาได้ยาก - มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก - ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทำาให้การค้นหากระทำาได้ไม่ดีเท่า ที่ควร - เติบโตเร็วเกินไป - ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอก ลวง-กลั่นแกล้งจากเพื่อน - ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้ - ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ - ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ (นั่นจะเป็น เฉพาะการต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Dial up แต่ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงจะสามารถใช้งานโทรศัพท์ที่ต่ออินเทอร์เน็ตได้ด้วย) - เป็นสถานที่ที่ใช้ติดต่อสื่อสาร เพื่อก่อเหตุร้าย เช่น การวาง ระเบิด หรือล่อลวงผู้อื่นไปกระทำาชำาเรา - ทำาให้เสียสุขภาพ เวลาที่ใช้อินเตอร์เนตเป็นเวลานานๆ โดย ไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว โรคติดอินเทอร์เน็ต โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอาการทางจิตประเภท หนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษาและวิเคราะห์
  • 22. ไว้ว่า บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่ น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต - รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเข้าระบบ อินเทอร์เน็ต - มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้นอยู่เรื่อยๆ ไม่ สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้ - รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้ - คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำาให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น - ใช้อินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา - หลอกคนในครอบครัว หรือเพื่อน เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ต ของตนเอง - มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย ซึ่งอาการดังกล่าว ถ้ามีมากกว่า 4 ประการในช่วง 1 ปี จะถือว่า เป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต ซึ่งส่งผลเสียต่อระบบร่างกาย ทั้งการกิน การขับถ่าย และกระทบต่อการเรียน สภาพสังคมของคนๆ นั้นต่อไป อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำานวยความสะดวกได้มาก เพียงใดก็ตาม สิ่งที่ต้องยอมรับความจริงก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุด เด่นและข้อด้อยของตนทั้งสิ้น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจาก ปัญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เป็นปัญหาหลักที่นับ ว่ายิ่งมีความรุนแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และแหล่งที่เป็นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต นับว่า รุนแรงกว่าปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซำ้า หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นำาไอทีมาใช้งาน จึงต้องตระหนักในปัญหานี้ เป็นอย่างยิ่ง จำาเป็นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ที่มี ประสิทธิภาพ การวางแผน ติดตาม และประเมินผลที่ต้องกระทำาอย่าง สมำ่าเสมอต่อเนื่อง แต่ไม่ว่าจะมีการป้องกันดีเพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบ คอมพิวเตอร์ก็มีอยู่เรื่อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่ - Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลก ระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่างยิ่ง
  • 23. - บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไล่พนักงานออกจากงาน อาจสร้างความไม่พึงพอใจให้กับพนักงานจนมาก่อปัญหา อาชญากรรมได้เช่นกัน - Buffer overflow เป็นรูปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทำา อันตรายให้กับระบบได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะอาศัย ช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ และขีดจำากัดของทรัพยากรระบบมาใช้ ในการจู่โจม การส่งคำาสั่งให้เครื่องแม่ข่ายเป็นปริมาณมากๆ ในเวลา เดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความ จำาไม่เพียงพอ จนกระทั่งเกิดการแฮงค์ของระบบ เช่นการสร้างฟอร์ม รับส่งเมล์ที่ไม่ได้ป้องกัน ผู้ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์มนั้นในการส่ง ข้อมูลกระหนำ่าระบบได้ - Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ Backdoors เพื่อช่วยอำานวยความสะดวกในการทำางาน ซึ่งหาก อาชญากรรู้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้ เช่นกัน - CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ที่นิยมมากในการพัฒนา เว็บเซอร์วิส มักเป็นช่องโหว่รุนแรงอีกทางหนึ่งได้เช่นกัน - Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้าง ฟิลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็นช่องทางที่อำานวย ความสะดวกให้กับอาชญากรได้เป็นอย่างดี โดยการเปิดดูรหัสคำาสั่ง (Source Code) ก็สามารถตรวจสอบและนำามา ใช้งานได้ทันที - Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อ ให้ผู้ใช้นำาไปปรับปรุงเป็นทางหนึ่งที่อาชญากร นำาไป จู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของ เว็บไซต์ หรือระบบ จะทำาการปรับปรุง (Updated) ซอตฟ์แวร์ที่มีช่อง โหว่นั้น ก็สายเกินไปเสียแล้ว - Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ต ย่อมหนีไม่พ้น การส่งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระทั่งรหัสผ่านต่างๆ ซึ่งบราวเซอร์ บางรุ่น หรือรุ่นเก่าๆ ย่อมไม่มีความสามารถในการเข้ารหัส หรือ ป้องกันการเรียกดูข้อมูล นี่ก็เป็นอีกจุดอ่อนของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ได้เช่นกัน - Malicious scripts จะมีการเขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผู้ใช้เรียกเว็บไซต์ดูบนเครื่องของตน อย่างมั่นใจ หรือว่าไม่เจอปัญหาอะไร อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแฝงใน เอกสารเว็บ เมื่อถูกเรียก โปรแกรมนั้นจะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์
  • 24. เอ็นต์ และทำางานตามที่กำาหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยที่ผู้ใช้จะไม่ทราบ ว่าตนเองเป็นผู้สั่งรันโปรแกรมนั้นเอง - Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูล ต่างๆ ตามแต่จะกำาหนด จะถูกเรียกทำางานทันทีเมื่อมีการเรียกดู เว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรม แฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บันทึกข้อมูลต่างๆ ของผู้ใช้ส่งกลับไปยัง อาชญากร - ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสำาหรับหน่วยงานที่ใช้ไอทีตั้งแต่ เริ่มแรก และดำารงอยู่อย่างอมตะตลอดกาล ในปี 2001 พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสียหายได้สูงสุด เป็นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ในทั่วโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ตามลำาดับที่ไม่หย่อนกว่ากัน ปัญหาของโลกไอที มีหลากหลายมาก การทำานายผลกระทบที่ มีข้อมูลอ้างอิงอย่างพอเพียง การมีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การ วางแผน ติดตาม ประเมินผลอย่างสมำ่าเสมอ คงจะช่วยให้รอดพ้น ปัญหานี้ได้บ้าง - อินเตอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำาให้การควบคุมกระทำาได้ ยาก - มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก - ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี เสี่ยงต่อการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น เพลง หนัง - เติบโตเร็วเกินไป -เสี่ยงต่อการโดนจารกรรมข้อมูล การโจมตีจากไวรัส, แฮกเกอร์ และ จากภัยคุกคามทางไซเบอร์ มัลแวร์ - ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอกลวง โจมตี โฆษณาชวนเชื่อ กลั่นแกล้งจากเพื่อนใหม่ เช่น การตัดต่อรูปเพื่อการอนาจาร - ถ้าเล่นอินเตอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้ - ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ - ขณะที่ใช้อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ - ใช้สื่อทางอินเตอร์เน็ตเพื่อกล่าวหาและโจมตีคู่แข่ง ส่วนโทษเฉพาะที่เป็นภัยต่อเด็กมีอยู่ 7 ประการ บนอินเทอร์เน็ต สามารถจำาแนกออกได้ดังนี้ 1. การแพร่สื่อลามก มีทั้งที่เผยแพร่ภาพลามกอนาจาร ภาพการสมสู่ ภาพตัดต่อลามก 2. การล่อลวง โดยปล่อยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปพูดคุยกันใน Chat จนเกิดการล่อลวงนัดหมายไปข่มขืนหรือทำาในสิ่งที่เลวร้าย
  • 25. 3. การค้าประเวณี มีการโฆษณาเพื่อขายบริการ รวมทั้งชักชวนให้ เข้ามาสมัครขายบริการ 4. การขายสินค้าอันตราย มีตั้งแต่ยาสลบยาปลุกเซ็กซ์ ปืน เครื่องช็อต ไฟฟ้า 5. การเผยแพร่การทำาระเบิด โดยอธิบายขั้นตอนการทำาอย่างละเอียด 6. การพนัน มีให้เข้าไปเล่นได้ในหลายรูปแบบ 7. การเล่นเกม มีทั้งเกมที่รุนแรงไล่ฆ่าฟันและเกมละเมิดทางเพศ บรรณานุกรม ดร.วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์. คู่มือการเข้าสู่อินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : เม็ดทรายพริ้นติ้ง, 2539. บุญลักษณ์ เอี่ยมสำาอางค์ เกื้อกมล พฤกษประมูล และโสภิต พิทักษ์. ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาและการใช้ภาษา ม.4. พิมพ์ ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
  • 26. สมนึก คีรีโต. เปิดโลกอินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2538. http://school.obec.go.th/ckn/network2/new_page_5.ht m ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต http://school.obec.go.th/ckn/network2/new_page_4.ht m ความหมายอินเทอร์เน็ต http://cid-f83c786d9e00c5a7.spaces.live.com/blog/cns! F83C786D9E00C5A7!180.entry ความสำาคัญของอินเทอร์เน็ต http://pirun.ku.ac.th/~b5011172/Page_5.html บริการต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย 1. Baldino, Eduardo N. (1997) Considerations on the impact of the อินเตอร์เน็ต on education http://haas.berkeley.edu/~baldino/ba212/index.html 2. Noam,Eli M. (1995). Electronics and the Dim Future of the University. In Science Volume 270 (October, 1995) pp. 247-249. 3. Prowse, Michael. (1995). ENDANGERED SPECIES in America, 20 November 1995 Financial Times. 4. van Vught, F.A. (1997) Information Technology: The Next Step in the Development of Academic Institutions Presented at the 12 May 1997 NUFFIC Seminar on: Virtual Mobility: New Technologies and Internationalisation 5. van der Wende, Marijk. (1997) Virtual Mobility: New Technologies and Internationalisation. In Ninth Annual Conference of the European Association for International Education Boundaries and Bridges in International Education, 20-22 November 1997, Barcelona, Spain.