SlideShare a Scribd company logo
ส่งเสริมการอ่าน คิด วิเคราะห์สู่ความสาเร็จ ครูผู้สอน นางพัชราพร นิยะบุญ 
ประเภทวิชาการ 
ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ ) 
“ข้าพเจ้าได้เห็นโลกมาถึง ๓ ทวีปแล้วสาหรับในยุโรป ข้าพเจ้าได้เคย ประจาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส อังกฤษ และสวิตเซอร์แลนด์เป็นเวลานาน ทั้งได้เคยถูกใช้ในราชการพิเศษในประเทศเยอรมนี และเคยเดิน ทางผ่านประเทศเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ ได้เคยเสวนากับคนชั้นสูงสุด ถึงขั้นต่าที่สุด และสาหรับชีวิตของตนเอง ก็ได้เคยผ่านมาแล้วทั้งที่ รื่นรมย์และที่ขมขื่น แต่ยิ่งเห็นโลกมากเข้าเพียงไร และยิ่งรู้จักชีวิตมาก ขึ้นเพียงใดก็ยิ่งรู้จักมากขึ้นเพียงนั้นว่า คนเราจะต้องมีธรรมเป็นเครื่อง เกาะ เป็นเครื่องนาทางเป็นแน่แท้ ถ้าปราศจากธรรมแล้วชีวิตมนุษย์ก็ จะเป็นเสมือนหนึ่งว่ายน้าในทะเลหลวง ซึ่งในที่สุดจะต้องเป็น ภักษาหารแห่งฝูงปลาร้าย “ 
นี้คือข้อความจาก “ วิชาแปดประการ “ 
ในบททางสู้ชีวิตนี้ จะได้กล่าวถึงชีวิตของหลวงวิจิตรวาทการนอก ประเทศไทยกล่าวคือตั้งแต่เริ่มออกไปเป็น ผู้ช่วยเลขานุการสถาน 
ทูตในประเทศฝรั่งเศส จนถึงเลขานุการสถานทูตไทยในประเทศอังกฤษ 
เหตุการณ์ช่วงนี้ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๖๓ ถึง พ.ศ. ๒๔๗0 
เป็นเหตุการณ์ในฝรั่งเศสเสีย ๖ ปี และในอังกฤษอีก ๖ ปี 
หลวงวิจิตร ฯ ได้ไปนอกครั้งนี้โดยการผ่านการสอบคัดเลือก 
หลวงวิจิตรวาทการไปถึงยุโรปในเดือนตุลาคม ซึ่งพอดีกับ อากาศเริ่มหนาวจัด เมื่อได้ถูกนาตัวเข้าไปเฝ้าท่านอัครราชทูต ก็ได้เห็น ท่านก่อไฟลุกโพลงอยู่ในเตา อันที่จริงสถานทูตปารีสมีไออุ่นสาหรับ ทาความอบอุ่นอยู่แล้ว แต่ท่านอัครราชทูต คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ทรงนิยมแบบอังกฤษ แม้จะมีไออุ่นอยู่ ทั่วห้องตามแบบฝรั่งเศสแล้ว ยังต้องจุดไฟฟืนให้ลุกโพลงตามแบบ อังกฤษไว้ด้วย 
ในสถานทูตไทยประจากรุงปารีสนั้น ส่วนใหญ่ผู้ที่ทางานอยู่เป็น
ชาวยุโรปมากกว่าเป็นคนไทย มีผู้ชายซึ่งเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ถึง ๔ คน ๓ คนเป็นที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงยุติธรรมอยู่ก่อน คือ เมอร์ซิเออร์ ชาร์ล เลเวกส์ ซึ่งกล่าวนามมาแล้ว เมอร์ซิเออร์ ปราแตร์ นิเกต์ ที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวเคยทรงใช้ให้แปลบทละครของพระองค์เป็นภาษาฝรั่งเศส และเมซิเออร์ เลดิแกร์ อาจารย์ของหลวงวิจิตรวาทการเองเมื่อครั้งเรียน กฎหมายอยู่ในกรุงเทพ ฯ 
๓ คนนี้เป็นคนที่มีความสามารถอย่างยิ่งด้วยกันทั้งนั้นอีก - 
คนหนึ่งเป็นผู้ดูแลนักเรียนไทยและเป็นผู้อยู่ในตระกูลสูง ชื่อ วิกเดอ คารกุเจต์ รวมเป็นชายชาวฝรั่งเศส ๔ คน และมีเสมียนพิมพ์ที่ เป็นหญิงชาวฝรั่งเศสอีก ๓ คน รวมเป็นคนชาวฝรั่งเศสถึง ๗ คน ส่วนคนไทยในขณะที่หลวงวิจิตรวาทการไปถึงนั้น มีเพียง ๕ คนเท่านั้นเอง 
แต่อย่างไรก็ตาม หลวงวิจิตรวาทการ ก็มีส่วนได้เปรียบคนอื่น โดยที่เป็นคนรู้ภาษาไทยดีกว่าคนอื่น ๆ ในสถานทูตนั้นเป็นธรรมดาของ ข้าราชการในสถานทูตในต่างประเทศ ย่อมจะหาคนรู้ภาษาไทยดีได้ยาก เต็มทนมักจะรู้ดีกันแต่ภาษาพื้นเมืองของประเทศที่เช้าไปอยู่ เช่นใน สถานทูตปารีสก็หาคนรู้ภาษาฝรั่งเศสได้ง่าย แต่ 
ไม่ค่อยมีคนรู้ภาษาไทย ถึงกับจะเขียนหนังสือได้ดี 
ในทันทีที่เดินทางไปถึง งานร่างใบบอกก็ตกเป็นหน้าที่ของหลวงวิจิตรฯ ทันที เรื่องรู้ภาษาไทยดีกว่าคนอื่นนี่เอง ที่ช่วยให้ได้งานทาอย่างขว้าง ขวาง ไม่ต้องทางานประจาที่เหมือนกันไปทุกวัน โดยที่เขียนใบบอก ส่งกระทรวงเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกพระทัยของท่านต่ออัครราชทูต ได้รับหน้าที่ตามเสด็จไปในการประชุมหรือในการเจรจาทุก ๆ แห่ง ที่ จาเป็นต้องทารายงานส่งเข้ามายังกรุงเทพ ฯ เป็นภษาไทย 
นอกจากนั้น ความรู้ภาษาไทยดี และรู้หนังสือมาก ได้ กลายเป็นความเด่นความสาคัญขึ้น เพราะเหตุว่านักเรียนไทยหลายคน ในประเทศฝรั่งเศสมีเป็นอันมาก ที่ถูกส่งไปตั้งแต่ยังตอนเล็ก ๆ มีหลาย คนที่เขียนหนังสือไทยไม่ได้ รู้เรื่องเกี่ยวกับไทยน้อยเต็มที เพียงแต่ หลวงวิจิตร ฯ พูดให้ฟังเรื่องที่เกี่ยวกับวรรณคดีไทย เช่น เรื่องขุนช้าง ขุนแผน สังข์ทอง ก็มาห้อมล้อมฟังและมานับถือเป็นครูอาจารย์
งานชิ้นหนึ่งที่หลวงวิจิตร ฯ จะต้องท้เป็นประจา คือ แต่ง จดหมาย ขอเงิน ไม่ใช่ขอสาหรับตัวเอง แต่นักเรียนที่เขียนหนังสือไทย ไม่ได้หรือเขียนได้ไม่ไพเราะ มาขอให้เขียนขอเงินจากผู้ปกครองเพื่อมา ใช้เพิ่มเติมจากค่าเล่าเรียนหลวงที่ได้อยู่แล้วเป็นประจา ซึ่งปรากฎว่า ส่วนมากได้รับผลสาเร็จ 
บุคคลที่ใช้หลวงวิจิตร ฯ ในเรื่องนี้มากกว่าใคร ๆ คือ เจ้ากา - วิ ลวงศ์ ณ เชียงใหม่ ซึ่งเขียนหนังสือไทยไม่ได้เลย และมักจะขอเงิน จากป้า คือ เจ้าดารารัศมีบ่อยๆ ของหลวงวิจิตร ฯ รับหน้าที่เป็น 
คนเขียนพรรณนาให้สงสาร ให้เห็นความจาเป็น และจดหมายเหล่านี้ ไม่เคยไร้ผล เขียนมาคราวไรก็ได้ทุกที เรื่องนี้จึงจัดเป็นงานอดิเรกของ หลวงวิจิตร ฯ ในสมัยอยู่ปารีส 
หลวงวิจิตร ฯ มีห้องอยู่ในสถานทูต แต่ท่านอัครราชทูต 
มีตาสั่งว่า สาหรับการปรับประทานอาหารนั้นให้ไปรับประทานที่บ้าน 
สุภาพสตรีผู้หนึ่งซึ่งเป็นชาวฝรั่งเศส ชื่อ มาดาม กียแมง อยู่ใกล้กับ 
สถานทูต หลวงวิจิตร ฯ จึงได้เรียนภาษาฝรั่งเศสกับมาดามผู้นี้อีกโสด 
หนึ่ง 
“ อันที่จริง ถ้าจะพูดว่าโชคช่วยข้าพเจ้ามากที่ก็พูดได้ 
แต่โชคที่มีมาช่วยนั้น เป็นโชคที่ช่วยให้ทางานตามความสามารถของ 
ตัว ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนบาลี และไม่เคยนึกฝันว่าความรู้ทางภาษาไทย 
จะมีประโยชน์อะไรอีกต่อไป ในเมื่อเข้าไปอยู่ในกระทรวงต่างประเทศ ซึ่งเป็นงานคนละทิศคนละทาง แต่ถึงกระนั้นก็มีงานแปลกประหสาด ขึ้น เมื่อข้าพเจ้ามาอยู่ปารีสได้เล็กน้อย ท่านเอกอัครราชทูตได้เสด็จ 
เดินทางไปเบอร์ลิน โดยราชการเกี่ยวกับเรื่องปฏิกรรมสงคราม พอเสด็จ ถึงเบอร์ลินได้ ๒ - ๓ วัน ก็ทรงมีโทรเลขมายังสถานทูตให้ข้าพเจ้า 
เดินทางไปเบอร์ลิน โดยมีราชการพิเศษที่จะให้ข้าพเจ้าทา “ หลวงวิจิตรวาทการได้เล่าเหตุการณ์ในเบอร์ลินใน 
ขณะนั้นว่า 
“ช้าพเจ้าเดินทางจากปารีสไปเบอร์ลินด้วยความ 
ตื่นเต้น เบอร์นี่ แพ้สงครามโลกครั้งที่ ๑ ก็จริง แต่มิได้ประสบความ
ความพินาศย่อยยับในประเทศของตน เพราะสนามรบไม่ได้เข้ามา 
อยู่ในประเทศเยอรมนีเหมือนสงครามโลกครั้งที่ ๒ บ้านเมืองถนนทาง 
ยังเรียบร้อย โรงงานทั้งหลายทางานได้เป็นปกติ ข้าพเจ้ามีความพิศวง 
ที่ได้แลเห็นปล่องโรงงานสูง ๆ ในประเทศเยอรมนี เรื่องปล่องโรงงาน 
สูง ๆ นั้น ก็ดูไม่เป็นของแปลกอะไร เพราะในเมืองของเราก็มีปล่อง 
โรงสีไฟ แต่สิ่งที่ข้าพเจ้าพิศวงในประเทศเยอรมนีนั้น ทั้ง ๆ ที่ปล่อง 
โรงงานสูงมาก ก็ยังมีเปลวไฟพลุ่งขึ้นบนเหนือปล่อง ในเมืองเราเคย 
เห็นแต่ควันไฟพลุ่งขึ้นมา แต่โรงงานในประเทศเยอรมนีนั้นมีเปลวไฟ 
พลุ่งขึ้นมาทีเดียว” 
ตลอดเวลาที่เดินทาง หลวงวิจิตรวาทการต้อง 
สงสัยอยู่ในใจตลอดเวลาว่า ท่านอัครราชทูตมีงานพิเศษอะไรให้ 
ทาแน่ ถึงกับเรียกตัวให้เดินทางมาด่วน 
เมื่อได้พบกับคุณพระบริภัณฑ์ยุทธกิจแล้ว จึง 
ได้ทราบแน่นอนว่า งานที่ถูกเรียกตัวมาทาโดยจาเพราะเจาะจง 
ครั้งนี้ คืองานทางภาษาบาลี 
หลวงวิจิตร ฯ ไม่เคยนึกฝันมาก่อนว่า ความรู้ 
ทางบาลีที่จะต้องถูกนามาใช้ราชการที่นี่ 
เรื่องมีอยู่ว่า เมื่อก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๑ 
หอสมุดของเราได้ส่งหนังสือเก่า ๆ ราวทั้งหนังสือบาลีที่เขียนเป็น 
อักษรขอมลงทองล่องชาด และบางฉบับก็เป็นตัวหนังสือลงใน 
แผ่นผ้า กล่าวอย่างง่าย ๆ ว่า บรรดาหนังสือเก่าซึ่งสวยงามที่สุดที่มีอยู่ ในหอสมุดแห่งชาติของเราเวลานี้ได้ถูกส่งออกไปยังประเทศเยอรมนี 
ในการแสดงพิพิธภัณฑ์หนังสือเก่า ซึ่งไทยได้รับการเชื้อเชิญให้เข้าร่วม แสดงด้วย ครั้นเมื่อเกิดสงครามและประเทศไทยประกาศสงครามกับ ประเทศเยอรมนี รัฐบาลเยอรมนีก็ยึดสิ่งเหล่านี้ไว้อย่างเป็นทรัพย์สิน ของศัตรู บัดนี้ถึงเวลาที่รัฐบาลเยอรมนีจะคืนหนังสือเหล่านั้นให้หลวง วิจิตร ฯ จึงมีหน้าที่เป็นผู้ไปตรวจรับเอกสารเหล่านั้น 
“ข้าพเจ้ามาได้คติอย่างหนึ่งในการไปทางานครั้งนี้ คือ คติ ที่ว่า วิชาความรู้นั้นอย่านึกว่ามีอยูเเล้วจะไม่มีทางใช้ ขอให้ท่านมี ความรู้ โชคจะบันดาลให้ท่านมีโอกาสได้ใช้ความรู้อันนั้น ขึ้นชื่อว่า ความรู้นั้นจะเป็นทางใดก็ตามทีขอให้มีไว้ท่านจะใช้ประโยชน์ได้เสมอ”
งานที่หลวงวิจิตร ฯ ต้องทาคราวนี้ ไม่ใช่ในกรุงเบอร์ลิน แต่ต้องไปทาที่เมืองไลป์ซิก โดยที่หลวงวิจิตร ฯ ไม่รู้ภาษาเยอรมันเลย คุณพระบริภัณฑ์ยุทธกิจจึงต้องเดินทางไปด้วย งานตรวจรับหนังสือได้ เสร็จสิ้นในวันเดียว และเดินทางกลับเบอร์ลินในวันนั้น 
การที่หลวงวิจิตร ฯ ได้เดินทางจากปารีสไปเบอร์ลินครั้งนั้น กลายเป็นของแปลกประหลาด เพราะข้าราชการสถานทูตปารีส แม้ที่ อยู่มาก่อนเป็นเวลาถึง ๗ ปี ก็ยังไม่เคยไปเบอร์ลินเนื่องจากอยู่ระหว่าง สงคราม ไม่มีทางที่ปารีสกับเบอร์ลินจะติดต่อกันได้ การที่ไปเบอร์ลิน ในครั้งนี้ จึงกลายเป็นผู้รู้จักเบอร์ลินดีไป และในคราวหลัง ๆ เมื่อท่าน อัครราชทูตจะเสด็จเบอร์ลิน หลวงวิจิตร ฯ จึงกลายเป็นผู้เสด็จตามเสมอ ผู้ที่ได้มีโอกาสตามเสด็จร่วมไปกับหลวงวิจิตร ฯ อีกคนหนึ่งก็ 
คือ พระยาศรีวิสารวาจา ซึ่งเป็นเลขานุการที่อาวุโสสูงกว่าหลวงวิจิตร ฯ 
เป็นอันว่า งานที่หลวงวิจิตร ฯ ในสถานทูตไทยประจากรุงปารีส 
ก็คืองานร่างหนังสือใบบอกฉบับใหญ่ ๆ การร่างนั้นมีอยู่ ๓ อย่างคือ 
๑. ท่านอัครราชทูตเรียกไปบอกความประสงค์ บอก เรื่องราวและเหตุผล ซึ่งบางทีก็ยืดยาวมาก หลวงวิจิตร ฯ ต้องคอย จดคอยจา แล้วก็นามาร่าง โดยมากเป็นที่ถูกต้องตามพระประสงค์ 
๒. ท่านอัครราชทูตร่างเป็นภาษาอังกฤษก่อน แล้วสั่งให้ หลวงวิจิตร ฯ แปลเป็นภาษาไทย ใช้ได้บ้าง ใช้ไม่ได้บ้าง ที่ใช้ ไม่ได้นั้นท่านอัครราชทูตรับสั่งว่า คาแปลของหลวงวิจิตร ฯ ไม่ ตรงกับภาษาอังกฤษของท่านแท้แต่ท่านก็ไม่ทรงทราบว่าจะแก้ไข ได้ อย่างไร ในกรณีเช่นนี้ ท่านอัครราชทูตได้เปลี่ยนรูปของร่างที่ ท่านทานั้น 
ให้เป็นรูปบันทึก แล้วก็ทาเป็นหนังสือนาเป็นใจความย่อ ๆ นาส่ง บันทึกนั้น ๆ เข้ามาทั้ง ๆ ที่เป็นภาษาอังกฤษ 
๓. เก็บความจากเรื่องราวหรือเอกสารปึกโต ๆ เขียนใบ บอกรายงาน ในกระบวนนี้หลวงวิจิตร ฯ ทาได้เรียบร้อยตลอดมา 
ในที่สุด หลวงวิจิตร ฯ ก็ได้พบงานประจาสาหรับตัว นั่นคือ 
งานสันนิบาตชาติ
หลวงวิจิตร ฯ ต้องเป็นคนเขียนรายการตั้งแต่ต้นจนปลาย รายงานการประชุมครั้งหนึ่ง ๆ เป็นหน้ากระดาษพิมพ์ดีดไม่น้อย กว่า ๑oo หน้า ต้องร่างเอง พิมพ์เอง แต่อยู่ในคณะของพระสาร สาสน์ประพันธ์ และพระยาศรีวิสารวาจา ทั้งสองท่านนี้รวบรวม เอาเอกสารมาให้หลวงวิจิตร ฯ บางทีก็ช่วยทาบันทึกให้ แต่ เนื่องจากพระสารสาสน์ประพันธ์และพระยาศรีวิสารวาจาในเวลา นั้นไม่รู้ภาษาไทยพอที่จะเขียนเรื่องยาก ๆ ได้ บันทึกที่ท่านทั้งสอง ทาให้หลวงวิจิตร ฯ นั้นจึงเป็นภาษาฝรั่ง หลวงวิจิตร ฯ ต้องแปล ลงเป็นไทยอีกครั้งหนึ่งแต่ก็ยังช่วยให้เบาแรงได้มา และ ประหยัดเวลาได้มากกว่าที่จะต้องเสียเวลาจะค้นเองจากเอกสารทุก ฉบับ 
ภาษาที่ใช้ในการประชุมมี ๒ ภาษา คือ ภาษาอังกฤษกับ ฝรั่งเศส 
ถ้าใครพูดภาษาอังกฤษก็มีล่ามแปลเป็นภาษาฝรั่งเศส ถ้าใครพูดภาษา - 
ฝรั่งเศสก็มีล่ามแปลเป็นภาษาอังกฤษ แต่หลวงวิจิตรฯ ฟังได้ทั้ง ๒ ภาษาจึงได้เปรียบ เพราะถาฟังไม่ถนัดชัดเจนในอีกภาษาหนึ่ง ก็ อาจจะคอยฟังอีกภาษาหนึ่งได้ 
หลวงวิจิตร ฯ ได้เขียนเล่าชีวิตของตนเองในตอนนี้ว่า 
“โชคชาตาได้ช่วยให้ข้าพเจ้ามีโอกาสเล่าเรียนศึกษาของดีใน สันนิบาตรชาติถึง ๕ ปีเต็ม และศึกษาครบถ้วนตามแบบที่โบราณ เรากล่าวไว้ คือ สุ . จิ . ปุ . ลิ . หรือ ฟัง คิด ถาม เขียน ข้าพเจ้า ฟังคาประชุมอย่างนี้ตลอดสมัยการประชุมทุกสมัย เป็นเวลา ๕ ปี มีความจาเป็นต้องเก็บเอามาคิด และเมื่อสงสัยผู้ใดก็ไตร่ถามผู้รู้ ยิ่งกว่านั้นข้าพเจ้ายังได้เขียน คือ เขียนรายงานการประชุมเช่นนี้ แต่ผู้เดียวทุก ๆ ครั้ง ครั้งหนึ่ง ๆ ไม่น้อยกว่า ๑00 หน้า กระดาษพิมพ์ มีน้อยคนที่จะได้ทางานอย่างข้าพเจ้าเลขานุการคน อื่น ๆ มักจะได้แต่เพียง สุ . จิ . ปุ . เท่านั้น ไม่มี ลิ คือไม่ได้เขียน “ 
นอกจากงานเข้าประชุมและงานหนังสือดังกล่าวแล้วข้างต้น ยังมีงาน สาคัญอีก 
ประการหนึ่ง คืองานสังคม เพราะการสังคมย่อมถือเป็นงานสาคัญอันหนึ่ง ในทาง
การทูต และมีความสาคัญเท่า ๆ กับงานหนังสือเอง เลขานุการทุกคนต้องมี หน้าที่ 
ทางสังคมกับสังคมชั้นเดียวกับตัว หมายความว่า พวกเลขานุการสถานทูต ไทยจะ 
ต้องคบหาสมาคมกับเลขานุการคณะทูตอาจจะเป็นการสังคมที่เล็กน้อย ไม่มี ความ 
สาคัญมากนักในเวลานั้นแต่อาจจะมีความสาคัญในภายภาคหน้าเป็นอันมาก เพราะ 
พวกเลขานุการในบัดนั้น คืออัครราชทูตหรือเอกอัครราชทูตในภายภาคหน้า 
มีเลขานุการคณะทูตญี่ปุ่นอย่างน้อย ๒ คน ที่หลวงวิจิตร ฯ รู้จักมักคุ้นในที่ประชุมสันนิบาตชาติ ได้เป็นถึงอัครราชทูตประจา กระทรวง เมื่อหลวงวิจิตร ฯ ได้ไปเป็นเอกอัครราชทูตประจา กรุงโตเกียว ความรู้จักมักคุ้นที่มีมาตั้งแต่หนุ่มด้วยกัน ทาให้ สะดวกในการทางานกับญี่ปุ่นเป็นอันมาก 
ในฐานที่เป็นเลขานุการอาวุโสน้อยที่สุด หลวงวิจิตร ฯ จึงมีงานอีกอย่างหนึ่ง คือ ต้องจัดการดูแลเลี้ยงรับรองแขก แต่ แทนที่จะบ่นว่าเป็นงานหนัก หลวงวิจิตร ฯ กลับพอใจในงานชิ้นนี้ เพราะถือว่างานทุกอย่างเป็นความรู้ และความรู้ทุกอย่างต้องเรียน งานเลี้ยงแขกซึ่งจัดโต๊ะและจัดที่นั่ง ก็มีความสาคัญอันหนึ่งใน ทางการทูต 
“ การเป็นเลขานุการอาวุโสน้อยที่สุด มีงานแปลก ๆ ให้ หลายอย่าง เช่น ในการเดินทางจากปารีสไปเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ซึ่งเป็นที่ตั้งสันนิบาตชาตินั้น พวกเลขานุการที่มี อาวุโสมากกว่าข้าพเจ้ามักจะได้เดินทางโดยรถยนต์ไปกับท่านอัคร
ราชทูต ส่วนข้าพเจ้าซึ่งเป็นเลขานุการเด็กที่สุด ต้องไปทางรถไฟ หมายความว่าต้องเป็นคนคุมหีบของต่าง ๆ ไปคนเดียว “ 
ด่านศุลกากรของสวิตเซอร์แลนด์มีวิธีแปลกประหลาด อันหนึ่ง คือ 
ถึงแม้ผู้เดินทางจะมีหนังสือเดินทางทูต และไม่จาเป็นต้องเสียภาษี เมื่อถึงสถานีที่เป็นพรมแดน ก็ถูกบังคับให้เอาของทุกชิ้นลงจาก รถไฟไปวางเรียงรายไว้ในห้องตรวจ เจ้าหน้าที่มาตรวจโดยไม่ บังคับให้เปิด ถามเพียงแต่ว่า หีบใดบ้างเป็นของเรา แล้วเอาชอล์ก ขีดกากบาท แล้วบอกให้ขนกลับไปบนรถไฟอีก การที่ทาเช่นนี้ ในเมื่อมีผู้โดยสารมากนั้น เป็นการฉุกละหุกและลาบากอย่างยิ่ง สาหรับบุคคลตัวคนเดียวเช่น หลวงวิจิตร ฯ 
ครั้งหนึ่งในการเดินทางไปประชุมสันนิบาตชาตินี้ ทูลกระหม่อมฟ้าหญิง(เจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีฯ)เสด็จไปด้วยเพื่อ ประพาสประเทศสวิตเซอร์แลนด์และทอดพระเนตรการประชุม สันนิบาตชาติ หีบของเครื่องแต่งพระองค์และเครื่องใช้ทั้งของ พระองค์เองและของผู้ตามเสด็จ มีไม่น้อยกว่า ๒0 หีบ นอกจากนี้ ยังมีหีบของเครื่องใช้ของอัครราชทูต ของเลขานุการอื่น ๆ และ ของราชการ รวมทั้งหมดราว ๑๕ หีบ 
หลวงวิจิตร ฯ ต้องคุมหีบของที่กล่าวข้างต้นนี้ราว ๓๕ หีบ และต้องพาพระโอรส และ พระธิดาองค์เล็ก ๆ ของท่านอัคร ราชทูตไปด้วย ( หีบ ๓๕ หีบ กับเด็กเล็ก ๆ อีก ๒ คน ) เป็นความ ยุ่งยากอย่างยิ่ง เมื่อไปถึงสถานีพรมแดนสวิส ถึงกับหลวงวิจิตร ฯ พูดไว้ว่า 
“ ทาให้ข้าพเจ้านึกอยู่เสมอว่า เมื่อไรข้าพเจ้าจะพ้นกับ การเป็นเลขานุการน้อยเสียที แต่ข้าพเจ้าก็ไม่เคยหมดหน้าที่อันนี้ ตลอดเวลาที่ประจาอยู่ในสถานทูตปารีส “ 
สาเหตุที่หลวงวิจิตรวาทการยอมรับว่างานที่สถานทูต ไทยประจากรุงปารีสในสมัยนั้นหนักหนาเป็นอย่างยิ่ง ก็เพราะว่า หน้าที่เกือบทุกอย่างในภาคพื้นยุโรป มาทับถมกันอยู่ที่ปารีสเกือบ ทั้งสิ้น จึงทาให้งานหนักขึ้นหลายเท่าตัว
งานดังกล่าวนี้ คือ งานปฎิกรรมสงคราม งานชาระบัญชี ชนชาติศัตรูงานสันนิบาตชาติ ซึ่งงานเหล่านี้เป็นผลเนื่องมาจาก การที่ฝ่ายอักษะแพ้สงครามโลกครั้งที่ ๑ และรัฐบาลไทยได้มอบ งานเหล่านี้ให้แก่พระองค์เจ้า จรูญศักดิ์กฤดากร อัครราชทูตไทย ประจากรุงปารีส เป็นผู้เจรจากับประเทศทุกประเทศบนภาคพื้น ยุโรป 
“ สิ่งที่เคราะห์ร้ายสาหรับเจ้านายผู้สามารถพระองค์นี้ คือ พระโสตตึงไม่สามารถจะทรงได้ยินได้ฟังอะไรตามปกติ ต้องใช้ เครื่องมืออันหนึ่งใส่พระโสต แล้วยื่นปากกระบอกไปฟังจากปาก คนที่พูดด้วย เป็นการถ่วงสมรรถภาพอย่างร้ายแรง แต่การที่พระ โสตตึงนี้ เป็นการแสดงความสามารถของพระองค์อย่างอัศจรรย์ เพราะทั้ง ๆ ที่พระโสตตึงก็ยังสามารถเจรจาได้อย่างยอดเยี่ยม “ 
หลวงวิจิตร ฯ เล่าว่า เนื่องจากเจ้านายพระองค์นี้ทรง ทางานไม่เป็นเวลา เช่นเวลาราชการปกติสิ้นลงราว ๕ โมงเย็น แต่ท่านอัครราชทูตไม่ยอมหยุดงาน มักจะส่งร่างโทรเลขอย่างยาว ๆ มาให้ และตามระเบียบของกระทรวงต่างประเทศนั้น งานโทร เลขเป็นงานที่ต้องทาทันที จะทิ้งไว้ไม่ได้ โทรเลขเหล่านั้นต้องเข้า โคด การเข้าโคตโทรเลขเป็นงานที่เปลืองเวลาอย่างยิ่ง 
และโดยมากท่านอัครราชทูตจะส่งงานชิ้นนี้มาให้ในเวลาราว ๔ โมงเย็น เป็นเหตุให้ข้าราชการต้องปฎิบัติงานกันจนเวลาค่าคืน เรื่องนี้เป็นเรื่องเบื่อหน่ายของข้าราชการที่นั่น เพราะเมื่อนึกว่า หมดเวลางาน และเตรียมตัวจะออกเที่ยวเตร่ตามวิสัยของผู้อยู่ ปารีส ก็ถูกกีดขวางด้วยการทางานไม่เป็นเวลาของท่านอัครราชทูต 
“ สาหรับตัวข้าพเจ้า ถ้าหากจะเรียกว่าเคราะห์กรรม ข้าพเจ้าก็ดูเหมือนกับว่ารับเคราะห์กรรมหนักกว่าผู้อื่น เพราะข้พ เจ้าเป็นเลขานุการที่เด็กที่สุดในบรรดาเลขานุการทั้งหลาย จึงเป็น คนที่ถูกเรียกใช้มากที่สุด ในห้องนอนของข้าพเจ้ามีโทรศัพท์ติด อยู่เป็นโทรศัพท์ที่ใช้เฉพาะห้องนอนท่านอัครราชทูตกับห้องนอย ของข้าพเจ้าเท่านั้น ความลาบากร้ายแรงนั้นคือว่าโดยทางโทรศัพท์ นั้น ท่านอัครราชทูตเป็นฝ่ายที่พูดได้ข้างเดียว ข้าพเจ้าไม่สามารถ ทูลตอบอะไรทางโทรศัพท์ได้ เมื่อรับสั่งถามอะไรมา ข้าพเจ้าต้อง
วิ่งไปทูลตอบด้วยวาจา เพราะต้องพูดอย่างดัง ๆ ที่ใกล้พระโสต ไม่สามารถทูลตอบโดยทาง 
โทรศัพท์ได้ “ 
สถานทูตไทยที่ปารีสเป็นตึก ๒ หลัง การเดินทางจากตึก ข้าราชการไปตึกอัครราชทูต ต้องผ่านที่ว่างซึ่งถ้าเป็นฤดูหนาวก็ เป็นความทารุณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อถูกเรียกในเวลากลางคืน และกาลังนอนหลับในเตียงที่อบอุ่น แล้วต้องลุกขึ้นฝ่าความหนาว ไปทูลเรื่องที่ต้องพระประสงค์จะทรงทราบ หรือค้นเรื่องราวที่ต้อง พระประสงค์ไปถวาย เพราะอาจทรงทางานไม่ว่าเวลาใด 
บางครั้ง ๒ ยามล่วงแล้วก็ยังทรงเรียกเอาเรื่องราว เพราะ ทรงอยาก ทางานขึ้นในเวลานั้น 
“ ข้าพเจ้าต้องทนสภาพการอย่างนี้เป็นเวลาราว ๖ ปี และ รู้สึกความชมชื่นแรงร้าย ถึงกับเกลียดชังท่านอัครราชทูตทีเดียว แต่มาถึงเวลานี้ 
รู้สึกขอบพระคุณเป็นอันมากเพราะในการที่ต้องทาหน้าที่อย่างนั้น ได้สร้าง 
ผลงานอันหนึ่งในตัวข้าพเจ้า คือความ “ ทนงาน “ นิสัยทนงาน ของข้าพเจ้า 
ได้สร้างขึ้นจากการเป็นเลขานุการของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า จรูญศักดิ์ 
กฤดากร “ 
ราวปีละ ๓ เดือน หลวงวิจิคร ฯ จะต้องตามเสด็จไป ประเทศ 
สวิสเชอร์แลนด์ เนื่องจากการประชุมครั้งใหญ่ของสันนิบาตชาติ ดังกล่าว 
มาแล้ว นอกจานี้ยังมีการประชุมพิเศษอื่น ๆ อีกรวมกันรวม ประมาณปีละ
๓ เดือน 
เนื่องจากโต๊ะประชุมเป็นโต๊ะที่กว้างใหญ่ เป็นที่นั่งของ ผู้เข้า 
ประชุมมากกว่า ๕๐ คน ไม่สามารถจะยื่นเครื่องฟังไปไว้ใกล้ปาก ของคนทุกคนได้จึงเป็นหน้าที่ของเลขานุการจะต้องนั่งอยู่ข้าง ๆ คอยฟังและคอยเขียนข้อความ ย่อ ถวายทอดพระเนตร จึงทรงรู้ เรื่องราวที่พูดกันในที่ประชุมได้ ก็โดยอาศัยข้อความย่อที่ เลขานุการเขียนเถวายเอาไว้ 
การที่ต้องฟังไปต้องเขียนไปเป็นความเหน็ดเหนื่อย อย่างร้ายแรงแต่ก็เป็นประโยขน์อย่างยิ่งสาหรับเลขานุการนั่นเอง เพราะเป็นการหัดฝึกงานอย่างดีวิเศษ และบางทีจะเป็นด้วยการ ฝึกหัดนี้ ที่ทาให้บุคคลเคยรับตาแหน่งเลขานุการของพระวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ในที่ประชุมเช่นนี้ เป็น คนทางานได้ การเป็นเลขานุการของท่านอัครราชทูต ผู้นี้ เป็น การฝึกฝนอย่างแรงมาก 
พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจรูญศึกดิ์กฤดากรทรงรู้ ภาษาไทยน้อยและโดยมากแม้แต่ หลวงวิจิตร ฯ ก็มักจะรับสั่งเป็น ภาษาอังกฤษ ทรงเขียน 
ภาษาไทยไม่ได้ คือเขียนได้แต่ข้อความง่าย ๆ รายงานหรือใบบอกที่ สาคัญทรงร่างเอง แต่ทรงร่างเป็นภาษาอังกฤษ แล้วเลขานุกการ ต้องแปลเป็นไทยอีกต่อหนึ่ง 
ในสมัยที่หลวงวิจิตร ฯ เป็นเลขานุการ งานแปลนี้ ตกเป็น 
หน้าที่ของหลวงวิจิตร ฯ ในบางครั้งงานแปลไม่ถูกพระทัย เลยต้อง เปลี่ยนรูป 
ใบบอกนั้นเป็นบันทึก ส่งเข้ามาในกระทรวงการต่างประเทศเป็น ภาษาอังกฤษมีภาษาไทยเป็นแต่เฉพาะหนังสือบันทึกเข้ามา 
อันที่จริงท่านอัครราชทูตทรงเขียนหนังสือด้วย พระหัตถ์น้อยเต็มทีแม้แต่จะต่างโทรเลขด้วยพระองค์เองก็ยังร่าง ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด มี
เครื่องพิมพ์ประจาพระองค์อยู่เสมอและพิมพ์ด้วยพระองค์เองอย่าง แคล่วคล่อง หนังสือกราบบังคมทูลซึ่งเป็นเรื่องลับที่สุดนั้น ทรงพิมพ์เองผนึกซองตีตราเองแล้วเสด็จเดินทางไปทาการ ไปรษณีย์ซึ่งอยู่ใกล้สถานทูต ทรงส่งหนังสือนั้น 
ด้วยพระองค์เองโดยไม่ไว้ใจใครเลยแม้แต่เลขานุการที่ใช้อยู่ใกล้ชิด 
หลวงวิจิตร ฯ ได้เล่าถึงท่านอัครราชทูตพระองค์ นี้ต่อไปว่า 
“ หนังสือทุกเรื่องที่นาเสนอ แม้แต่เป็นปึกใหญ่ แฟ้มโตสักเพียงใด ก็ทรงอ่านตลอด ที่รู้ว่าทรงอ่านตลอดนั้นก็เพราะเหตุว่าได้เห็น รอยชีดและบางทีก็เครื่องหมายคาถามไว้เป็นแห่ง ๆ 
งานเกี่ยวกับปฏิกรรมสงครามนั้น ฝรั่งซึ่งเป็นที่ ปรึกษา 
สถานทูตเป็นผู้นาเสนอเอง พอนาไปเสนอก็รับสั่งให้นั่งอยู่ข้าง ๆ ทรงอ่านไป 
ซักถามไป ข้าพเจ้าเคยเห็นหลายครั้งที่ฝรั่งที่ปรึกษาสถานทูตเข้า ไปเสนองานแล้วถูกซักถาม ต้องถวายคาชี้แจงมากมาย ถูกไล่ ถูกซัก จนกระทั่ง 
เหงื่อเต็มหน้าและเดินออกจากห้องด้วยอาการโซเซ แสดงให้เห็น ความละเอียดลออในกิจการงานทุกสิ่งทุกอย่าง “ 
พระวงศ์เธอ พระองศ์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรทรง อ่านหนังสือมากแม้ในการเดินทางโดยรถไฟก็ทรงอ่านนวนิยาย ตลอดเวลา 
ทั้ง ๆ ที่พระโสตตึงก็สามารถอย่างยิ่งในการ รับแขก ทรงเป็น 
เจ้านายที่รูปงามองค์หนึ่งโดยเฉพาะเวลาแค่งเครื่องราตรี ท่าทางที่ รับแขกเป็น 
ท่าทางที่งามสง่า การพูดจาสนทนาแสดงว่าเป็นทูตโดยกาเนิดชน ต่างชาติที่ได้ 
พบปะสนทนาด้วยก็พากันติดกันติดใจเลี่อมใส 
แต่การสนทนาซึ่งทาได้จริง มีเพียงภาษาเดียวคือ ภาษา
อังกฤษซึ่งถึงแม้ว่าจะสมเป็นอัครราชทูตประจาอยู่ในกรุงปารีสถึง ๑๔ ปีแต่ทรง 
ภาษาฝรั่งเศสได้เพียงเล็กน้อยส่วนภาษาไทยนั้นไม่กล้ารับสั่งนัก เพราะบางทีก็ 
ทรงใช้คาผิด ๆ ไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเจ้านายของพระองค์เสด็จ จากกรุงเทพ ฯ ไปประทับที่ปารีสก็มักจะถูกเจ้านายหัวเราะเยาะใน การใช้ภาษาไทย 
ที่ผิด ๆ จนไม่ทรงกล้าที่จะใช้ภาษาไทยอีก 
หลวงวิจิตรวาทการก็มีปมด้อย คือเป็นบุคคล ประเภทที่ 
เรียกว่าติดอ่าง แต่ในการพูดปาฐกถากลับปรากฏว่าหลวงวิจิตร ฯ ทา ได้อย่าง 
คล่องแคล่วน่าอัศจรรย์ใจ 
เรื่องนี้หลวงวิจิตร ฯ คงจะใช้หลักการเดียวกับที่ เดมอส 
เทนีส นักพูดเอกของกรีกที่ทาได้สาเร็จมาแล้ว 
ตลอดเวลาที่อยู่ในฝรั่งเศส หลวงวิจิตร ฯ พยายาม สังเกตดูนิสัย 
ใจคอ ความดี ความเด่น ในด้านการงานของงานของบุคคลแทบ ทุกคนที่ 
ตนได้มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด พยายามจดจาเอาแง่ดีของบุคคล เหล่านั้นมาเป็นตัวอย่างของชีวิตของตน 
หลวงวิจิตร ฯ เป็นคนมีอุดมการณ์ อยู่ในใจว่า “ จะต้อง มองแง่ดีของคนและพยายามที่จะไม่มองแง่ร้ายของใคร “ 
ในฝรั่งเศสหลวงวิจิตร ฯ ได้เล่าถึงบุคคลสาคัญคน หนึ่งที่ชอบมองคนในแง่ร้าย หรือเป็นนักค้านตัวยงว่า : 
“ เมื่อข้าพเจ้าอยู่ในฝรั่งเศส ได้เห็นนักการเมือง คน สาคัญ 
คนหนึ่งซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคโซเชียลิสต์ ทาหน้าที่เป็นฝ่ายค้านใน สภามาตลอดกาล แต่ไม่มีพรรคพวกพอที่จะตั้งเป็นรัฐบาลได้ จึง ทาหน้าที่แต่ทางค้านเรื่อยมาไม่ว่ารัฐบาลไหนขึ้นมา และไม่ว่าจะ
ทาอะไร คนผู้นี้ค้านหมด คาค้านของเขาเป็นคาที่คมคาย ฟังดู ทั่วไปก็น่าเลื่อมใส ข้าพเจ้าคิดคานึงอยู่เสมอว่า 
ถ้าบุคคลผู้นี้ได้เสียงข้างมากในสภา ถึงกับได้เป็นนายกรัฐมนตรีสัก ครั้งหนึ่ง 
ประเทศฝรั่งเศสคงจะเลิศลอยเพราะความรู้ความสามารถของคนผู้นี้ 
เมื่อข้าพจ้ากลับจากกรุงเทพ ฯ แล้วสัก ๒ - ๓ ปี จึงมี ข่าวว่า 
พรรคโซเขียลิสต์ได้เสียงข้างมากในการเลือกตั้ง และบุคคลที่ ข้าพเจ้าได้มุ่งมองอยู่นั้นได้ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรี ข้าพเจ้าก็คอย ดูว่าบุคคลผู้นี้จะสร้างสรรค์ 
ความดีอะไรวิเศษขึ้นมา 
ตรงกันข้ามกับที่ข้าพเจ้าคิด คณะรัฐบาลของท่านผู้ นี้อยู่ได้ 
ไม่ถึงปีและใช้ชั่วเวลาไม่ถึงปีนั้น ก็ได้สร้างความเสื่อมโทรม เสียหายไว้แก่ 
ประเทศฝรั่งเศส จนรัฐบาลที่เข้ามาทีหลังต้องเวลาและความ พยายามมากมายเพื่อแก้ไขความเสียหายที่บุคคลผู้นี้ทาไว้ แล้ว บุคคลผู้นี้ก็ทาความเสียหายไว้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตผลทาง อุตสาหกรรม ในโรงงานฝรั่งเศส 
เกือบทุกแห่งลดปริมาณลงไป รายได้จากสินค้าเข้าออกตกต่าลง อย่างน่าใจหาย และต้องใช้เวลาตั้งหลายปีสาหรับการแก้ไข้ สถานการณ์ที่บุคคลผู้นี้มาก่อไว้ “ 
ตลอดเวลา ๖ ปี ที่อยู่ในฝรั่งเศส หลวงวิจิตร ฯ พยายามใช้ 
ความอุตสาหะวิริยะของตนอย่างใหญ่หลวง ในการศึกษาวิชาการ ต่าง ๆ ให้ มากที่สุดเท่าที่จะสามารถศึกษาได้ ไม่ว่าจะเป็น การศึกษาจากบุคคล สถาบัน หรือจากหนังสือ บางอย่างก็เป็นผล พลอยได้ เช่น ความรู้ด้านภาษาฝรั่งเศสที่ 
เพิ่มพูนเป็นเงาตามตัวไปด้วย จึงเป็นประโยชน์แก่หลวงวิจิตร ฯ อย่างยิ่ง เพราะภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาของนักการทูต หลวงวิจิตร ฯ ได้เข้าเรียนใน
สถาบัน Pelman Institute ซึ่งเป็นโรงเรียนฝึกฝนสมองที่มีชื่อเสียง แห่งหนึ่ง 
ของโลก ดังได้กล่าวมาแล้ว 
ตอนนี้ขอแทรกเหตุการณ์ในเยอรมนี ซึ่งหลวงวิจิตร ฯ ได้ไปอยู่ใน 
พ.ศ.๒๔๖๕ ไว้สักเล็กน้อย 
“ ใน พ.ศ. ๒๔๖๕ ข้าพเจ้าอยู่ในเยอรมนี เป็นเวลาทา สัญญาใหม่ ระหว่างไทยกับเยอรมัน ภายหลังที่สัญญาเก่าได้ถูก เพิกถอนไปโดย 
บัญญัตแห่งสัญญาแวร์ซายส์ เยอรมนี เป็นส่วนของต่างชาติ เพราะ เงินมาร์ก 
กาลังลดค่า ท่านอัครราชทูตของข้าพเจ้าซึ่งไม่เคยชอบของเยอรมนี ยังตกลงใจ 
ซื้อรถเยอรมัน คันหนึ่ง แต่รูปร่างของรถในตอนท้ายไม่น่าดูเอา เสียเลย ถ้าเอาเข้ามาในปารีส คงจะถูกหัวเราะเยาะแน่นอน ข้าพเจ้าได้เสนอความเห็นแด่อัครราชทูต ให้ขอให้โรงงานเปลี่ยน รูปตัวถังตอนท้ายเสียใหม่ 
…. ในสมัยนั้น ข้าราชการสถานทูตไทยรับเงินเดือนเป็น ปอนด์ 
อังกฤษ เบอร์ลิน จึงเป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เช่นเดียวกับชาว ต่างประเทศทั้งหลาย ด้วยเงินปอนด์อังกฤษ เพียงปอนด์เดียว ๑๑ บาท ข้าพเจ้าสามารถซื้อหีบเสียงอย่างดี พอใช้ กับแผ่นเสียงอีกครึ่ง โหล ซึ่งเป็นแผ่นเสียงเมืองไทย ร้อง 
โดย หม่อม ส้มจีน เสียด้วย 
นับวันเงินยิ่งตกลงไป ข้าพเจ้าทางานเกี่ยวกับการ ชาระบัญชีทรัพย์สมบัติของคนไทยที่ถูกเยอรมันยึดไว้เมื่อคราว สงครามครั้งโน้น และได้ความรู้ว่าการที่เงินมาร์กตกลงไปทุกวัน นั้นเป็นผลร้ายแก่เพื่อนไทยหลายคน “ 
ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ที่หลวงวิจิตร ฯ ได้รับในตอนเป็น เลขานุการสถานทูตอยู่ปารีสนี่เอง ทาให้หลวงวิจิตร ฯสามารถ กลับมาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้อีกสมัยหนึ่ง
หลวงวิจิตรวาทการอยู่ในฝรั่งเศส ๖ ปี ก็ย้ายไปเป็น 
เลขานุการสถานทูตไทยประจา กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ 
“ งานในสถานทูตลอนดอนมีลักษณะคนละอย่างต่างกัน 
ไกลกับงานในสถานทูตปารีส งานในสถานทูตปารีสเป็นงาน 
การเมือง แต่งานในสถานทูตลอนดอนเป็นงานการเงิน เพราะเงิน 
ทองของเราในเวลานั้นสะสมไว้ในลอนดอนเกือบทั้งสิ้น 
บรรยากาศของมหานครทั้ง ๒ นี้ก็ต่างไกลกัน ปารีสเป็นเมือง 
แห่งความสนุกสนาน ลอนดอนเป็นเมืองแห่งธุรกิจ อันที่จริงดู 
เหมือนข้าพเจ้าจะชอบชีวิตในลอนดอนมากกว่าในปารีส “ 
ข้อที่หลวงวิจิตร ฯ พูดว่าชอบชีวิตในลอนดอนมากกว่าใน 
ปารีส ก็ไม่ 
เป็นของแปลกอะไร เพราะในเมื่อชีวิตของหลวงวิจิตร ฯ เองเป็น 
ชีวิตของคนทา งาน ไม่ใช่ชีวิตแบบสา รวย และลอนดอนก็มี 
ชื่อเสียงในด้านธุรกิจนับตั้งแต่ควันไฟที่ฟุ้งตลบเมืองไปจนถึงความ 
ขยันขันแข็งต่อชาวเมือง ต่างกับปารีสซึ่งเป็นนครแห่งความ 
หรูหราอ่าโอ่ ชีวิตชาวเมืองก็เต็มไปด้วยความผาสุข ความฝัน 
และความสารวย 
หลวงวิจิตรวาทการเป็นนักเลงหนังสือ แต่เดิมก็ชอบ 
วรรณคดีฝรั่งเศส นักเขียนหลายคนที่หลวงวิจิตรวาทการพออก 
พอใจ และชอบลีลาการเขียน 
แต่เมื่อมาถึงประเทศอังกฤษ ก็พบว่าในประเทศอังกฤษ 
ไม่ได้ด้อยกว่าประเทศฝรั่งเศสเลยในด้านหนังสือ ไม่ว่าจะเป็นบท 
กวีหรือร้อยแก้ว 
ด้วยเหตุนี้ ในวันเสาร์เกือบทุกเสาร์ตลอดเวลาที่อยู่ใน 
ลอนดอน หลวงวิจิตรวาทการจึงแอบไปใช้ชีวิตอยู่เงียบ ๆ แถว ๆ
ถนนชาริงครอส ซึ่งมีชื่อเสียงในการเป็นถนนหนังสือ พอ ๆ กับ สนามหลวงของไทย 
มีหนังสืออยู่หลายเล่มที่หลวงวิจิตรวาทการ ลงมือเขียน ในลอนดอน เช่น พุทธานุภาพ วิชาแปดประการ และ มันสมอง 
หลวงวิจิตรวาทการ อยู่ในลอนดอนได้ไม่นาน ก็ถูก เรียกกลับเข้ากรุงเทพ ฯ มาปฏิบัติราชการอยู่ในกระทรวงการ ต่างประเทศ 
……………………………………………….. 
แนวคิดและแง่ประโยชน์ที่ได้รับจากเรื่องนี้ 
การนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง 
1. เราควรมีความวิริยะอุตสาหะ ในเรื่องต่าง ๆ ต้องสู้ให้ถึงที่สุด 
2. เราควรมีความขยัน หมั่นเพียร 
3. ควรรักงานที่ทา หรือ งานที่ได้รับมอบหมาย 
4. เมื่อเราทาสิ่งใดเราก็ควรจะพยายามทาให้สาเร็จ 
5. เมื่อท่านอยู่ว่าง ๆ ท่านก็จะเเต่งหนังสือ ท่านจะใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ 
( ท่านเป็นตัวอย่างที่ดี เพราะฉะนั้น เราก็ควรจะทาเป็น แบบอย่าง ) 
6. เราไม่ควรใช้เงินฟุ่มเฟือย ใช้ในสิ่งที่ไม่จาเป็น 
7. ท่านเป็นคนไม่ถือตัว เพราะฉะนั้นเราก็ไม่ควรถือตัว จึงมีแต่ คนรัก 
8. ท่านเป็นคนที่อดทนถึงงานจะหนักแค่ไหนท่นก็จะพยายามทา จนสาเร็จ
ทางสู่ความสาเร็จ ( หลวงวิจิตรวาทการ ) 
……………………………………….

More Related Content

What's hot

เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
Choengchai Rattanachai
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
Choengchai Rattanachai
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
Choengchai Rattanachai
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
Choengchai Rattanachai
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
Kunnai- เบ้
 
สามก๊ก
สามก๊กสามก๊ก
สามก๊กkanchana13
 
01
0101

What's hot (20)

เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
 
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
พันธิวา หารัญดา 5/4
พันธิวา หารัญดา 5/4พันธิวา หารัญดา 5/4
พันธิวา หารัญดา 5/4
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
สามก๊ก
สามก๊กสามก๊ก
สามก๊ก
 
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้  ขุนช้างขุนแผนใบความรู้  ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
เรื่องย่อ สามก๊ก
เรื่องย่อ   สามก๊กเรื่องย่อ   สามก๊ก
เรื่องย่อ สามก๊ก
 
01
0101
01
 

Viewers also liked

โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางพัน พัน
 
การค้นหาลักษณะนิสัย
การค้นหาลักษณะนิสัยการค้นหาลักษณะนิสัย
การค้นหาลักษณะนิสัยพัน พัน
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางพัน พัน
 
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
แผนภูมิเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ(หน้าทับ 2 ไม้ลาว อัตรา 2 ชั้น )
แผนภูมิเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ(หน้าทับ 2 ไม้ลาว อัตรา 2 ชั้น )แผนภูมิเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ(หน้าทับ 2 ไม้ลาว อัตรา 2 ชั้น )
แผนภูมิเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ(หน้าทับ 2 ไม้ลาว อัตรา 2 ชั้น )พัน พัน
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemพัน พัน
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
23ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
23ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา23ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
23ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
พัน พัน
 
17ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตเรา
17ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตเรา17ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตเรา
17ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตเราพัน พัน
 
3ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
3ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา3ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
3ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเราพัน พัน
 
19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเราพัน พัน
 
10ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
10ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา10ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
10ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเราพัน พัน
 

Viewers also liked (19)

สรุปIs1 is2
สรุปIs1 is2สรุปIs1 is2
สรุปIs1 is2
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
 
การค้นหาลักษณะนิสัย
การค้นหาลักษณะนิสัยการค้นหาลักษณะนิสัย
การค้นหาลักษณะนิสัย
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
 
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนภูมิเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ(หน้าทับ 2 ไม้ลาว อัตรา 2 ชั้น )
แผนภูมิเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ(หน้าทับ 2 ไม้ลาว อัตรา 2 ชั้น )แผนภูมิเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ(หน้าทับ 2 ไม้ลาว อัตรา 2 ชั้น )
แผนภูมิเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ(หน้าทับ 2 ไม้ลาว อัตรา 2 ชั้น )
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
พระอภัยมณี
พระอภัยมณีพระอภัยมณี
พระอภัยมณี
 
ระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory system
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
23ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
23ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา23ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
23ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
 
การสมัคร Gmail
การสมัคร Gmailการสมัคร Gmail
การสมัคร Gmail
 
17ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตเรา
17ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตเรา17ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตเรา
17ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตเรา
 
3ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
3ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา3ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
3ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
 
19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
 
10ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
10ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา10ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
10ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )

  • 1. ส่งเสริมการอ่าน คิด วิเคราะห์สู่ความสาเร็จ ครูผู้สอน นางพัชราพร นิยะบุญ ประเภทวิชาการ ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ ) “ข้าพเจ้าได้เห็นโลกมาถึง ๓ ทวีปแล้วสาหรับในยุโรป ข้าพเจ้าได้เคย ประจาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส อังกฤษ และสวิตเซอร์แลนด์เป็นเวลานาน ทั้งได้เคยถูกใช้ในราชการพิเศษในประเทศเยอรมนี และเคยเดิน ทางผ่านประเทศเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ ได้เคยเสวนากับคนชั้นสูงสุด ถึงขั้นต่าที่สุด และสาหรับชีวิตของตนเอง ก็ได้เคยผ่านมาแล้วทั้งที่ รื่นรมย์และที่ขมขื่น แต่ยิ่งเห็นโลกมากเข้าเพียงไร และยิ่งรู้จักชีวิตมาก ขึ้นเพียงใดก็ยิ่งรู้จักมากขึ้นเพียงนั้นว่า คนเราจะต้องมีธรรมเป็นเครื่อง เกาะ เป็นเครื่องนาทางเป็นแน่แท้ ถ้าปราศจากธรรมแล้วชีวิตมนุษย์ก็ จะเป็นเสมือนหนึ่งว่ายน้าในทะเลหลวง ซึ่งในที่สุดจะต้องเป็น ภักษาหารแห่งฝูงปลาร้าย “ นี้คือข้อความจาก “ วิชาแปดประการ “ ในบททางสู้ชีวิตนี้ จะได้กล่าวถึงชีวิตของหลวงวิจิตรวาทการนอก ประเทศไทยกล่าวคือตั้งแต่เริ่มออกไปเป็น ผู้ช่วยเลขานุการสถาน ทูตในประเทศฝรั่งเศส จนถึงเลขานุการสถานทูตไทยในประเทศอังกฤษ เหตุการณ์ช่วงนี้ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๖๓ ถึง พ.ศ. ๒๔๗0 เป็นเหตุการณ์ในฝรั่งเศสเสีย ๖ ปี และในอังกฤษอีก ๖ ปี หลวงวิจิตร ฯ ได้ไปนอกครั้งนี้โดยการผ่านการสอบคัดเลือก หลวงวิจิตรวาทการไปถึงยุโรปในเดือนตุลาคม ซึ่งพอดีกับ อากาศเริ่มหนาวจัด เมื่อได้ถูกนาตัวเข้าไปเฝ้าท่านอัครราชทูต ก็ได้เห็น ท่านก่อไฟลุกโพลงอยู่ในเตา อันที่จริงสถานทูตปารีสมีไออุ่นสาหรับ ทาความอบอุ่นอยู่แล้ว แต่ท่านอัครราชทูต คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ทรงนิยมแบบอังกฤษ แม้จะมีไออุ่นอยู่ ทั่วห้องตามแบบฝรั่งเศสแล้ว ยังต้องจุดไฟฟืนให้ลุกโพลงตามแบบ อังกฤษไว้ด้วย ในสถานทูตไทยประจากรุงปารีสนั้น ส่วนใหญ่ผู้ที่ทางานอยู่เป็น
  • 2. ชาวยุโรปมากกว่าเป็นคนไทย มีผู้ชายซึ่งเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ถึง ๔ คน ๓ คนเป็นที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงยุติธรรมอยู่ก่อน คือ เมอร์ซิเออร์ ชาร์ล เลเวกส์ ซึ่งกล่าวนามมาแล้ว เมอร์ซิเออร์ ปราแตร์ นิเกต์ ที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวเคยทรงใช้ให้แปลบทละครของพระองค์เป็นภาษาฝรั่งเศส และเมซิเออร์ เลดิแกร์ อาจารย์ของหลวงวิจิตรวาทการเองเมื่อครั้งเรียน กฎหมายอยู่ในกรุงเทพ ฯ ๓ คนนี้เป็นคนที่มีความสามารถอย่างยิ่งด้วยกันทั้งนั้นอีก - คนหนึ่งเป็นผู้ดูแลนักเรียนไทยและเป็นผู้อยู่ในตระกูลสูง ชื่อ วิกเดอ คารกุเจต์ รวมเป็นชายชาวฝรั่งเศส ๔ คน และมีเสมียนพิมพ์ที่ เป็นหญิงชาวฝรั่งเศสอีก ๓ คน รวมเป็นคนชาวฝรั่งเศสถึง ๗ คน ส่วนคนไทยในขณะที่หลวงวิจิตรวาทการไปถึงนั้น มีเพียง ๕ คนเท่านั้นเอง แต่อย่างไรก็ตาม หลวงวิจิตรวาทการ ก็มีส่วนได้เปรียบคนอื่น โดยที่เป็นคนรู้ภาษาไทยดีกว่าคนอื่น ๆ ในสถานทูตนั้นเป็นธรรมดาของ ข้าราชการในสถานทูตในต่างประเทศ ย่อมจะหาคนรู้ภาษาไทยดีได้ยาก เต็มทนมักจะรู้ดีกันแต่ภาษาพื้นเมืองของประเทศที่เช้าไปอยู่ เช่นใน สถานทูตปารีสก็หาคนรู้ภาษาฝรั่งเศสได้ง่าย แต่ ไม่ค่อยมีคนรู้ภาษาไทย ถึงกับจะเขียนหนังสือได้ดี ในทันทีที่เดินทางไปถึง งานร่างใบบอกก็ตกเป็นหน้าที่ของหลวงวิจิตรฯ ทันที เรื่องรู้ภาษาไทยดีกว่าคนอื่นนี่เอง ที่ช่วยให้ได้งานทาอย่างขว้าง ขวาง ไม่ต้องทางานประจาที่เหมือนกันไปทุกวัน โดยที่เขียนใบบอก ส่งกระทรวงเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกพระทัยของท่านต่ออัครราชทูต ได้รับหน้าที่ตามเสด็จไปในการประชุมหรือในการเจรจาทุก ๆ แห่ง ที่ จาเป็นต้องทารายงานส่งเข้ามายังกรุงเทพ ฯ เป็นภษาไทย นอกจากนั้น ความรู้ภาษาไทยดี และรู้หนังสือมาก ได้ กลายเป็นความเด่นความสาคัญขึ้น เพราะเหตุว่านักเรียนไทยหลายคน ในประเทศฝรั่งเศสมีเป็นอันมาก ที่ถูกส่งไปตั้งแต่ยังตอนเล็ก ๆ มีหลาย คนที่เขียนหนังสือไทยไม่ได้ รู้เรื่องเกี่ยวกับไทยน้อยเต็มที เพียงแต่ หลวงวิจิตร ฯ พูดให้ฟังเรื่องที่เกี่ยวกับวรรณคดีไทย เช่น เรื่องขุนช้าง ขุนแผน สังข์ทอง ก็มาห้อมล้อมฟังและมานับถือเป็นครูอาจารย์
  • 3. งานชิ้นหนึ่งที่หลวงวิจิตร ฯ จะต้องท้เป็นประจา คือ แต่ง จดหมาย ขอเงิน ไม่ใช่ขอสาหรับตัวเอง แต่นักเรียนที่เขียนหนังสือไทย ไม่ได้หรือเขียนได้ไม่ไพเราะ มาขอให้เขียนขอเงินจากผู้ปกครองเพื่อมา ใช้เพิ่มเติมจากค่าเล่าเรียนหลวงที่ได้อยู่แล้วเป็นประจา ซึ่งปรากฎว่า ส่วนมากได้รับผลสาเร็จ บุคคลที่ใช้หลวงวิจิตร ฯ ในเรื่องนี้มากกว่าใคร ๆ คือ เจ้ากา - วิ ลวงศ์ ณ เชียงใหม่ ซึ่งเขียนหนังสือไทยไม่ได้เลย และมักจะขอเงิน จากป้า คือ เจ้าดารารัศมีบ่อยๆ ของหลวงวิจิตร ฯ รับหน้าที่เป็น คนเขียนพรรณนาให้สงสาร ให้เห็นความจาเป็น และจดหมายเหล่านี้ ไม่เคยไร้ผล เขียนมาคราวไรก็ได้ทุกที เรื่องนี้จึงจัดเป็นงานอดิเรกของ หลวงวิจิตร ฯ ในสมัยอยู่ปารีส หลวงวิจิตร ฯ มีห้องอยู่ในสถานทูต แต่ท่านอัครราชทูต มีตาสั่งว่า สาหรับการปรับประทานอาหารนั้นให้ไปรับประทานที่บ้าน สุภาพสตรีผู้หนึ่งซึ่งเป็นชาวฝรั่งเศส ชื่อ มาดาม กียแมง อยู่ใกล้กับ สถานทูต หลวงวิจิตร ฯ จึงได้เรียนภาษาฝรั่งเศสกับมาดามผู้นี้อีกโสด หนึ่ง “ อันที่จริง ถ้าจะพูดว่าโชคช่วยข้าพเจ้ามากที่ก็พูดได้ แต่โชคที่มีมาช่วยนั้น เป็นโชคที่ช่วยให้ทางานตามความสามารถของ ตัว ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนบาลี และไม่เคยนึกฝันว่าความรู้ทางภาษาไทย จะมีประโยชน์อะไรอีกต่อไป ในเมื่อเข้าไปอยู่ในกระทรวงต่างประเทศ ซึ่งเป็นงานคนละทิศคนละทาง แต่ถึงกระนั้นก็มีงานแปลกประหสาด ขึ้น เมื่อข้าพเจ้ามาอยู่ปารีสได้เล็กน้อย ท่านเอกอัครราชทูตได้เสด็จ เดินทางไปเบอร์ลิน โดยราชการเกี่ยวกับเรื่องปฏิกรรมสงคราม พอเสด็จ ถึงเบอร์ลินได้ ๒ - ๓ วัน ก็ทรงมีโทรเลขมายังสถานทูตให้ข้าพเจ้า เดินทางไปเบอร์ลิน โดยมีราชการพิเศษที่จะให้ข้าพเจ้าทา “ หลวงวิจิตรวาทการได้เล่าเหตุการณ์ในเบอร์ลินใน ขณะนั้นว่า “ช้าพเจ้าเดินทางจากปารีสไปเบอร์ลินด้วยความ ตื่นเต้น เบอร์นี่ แพ้สงครามโลกครั้งที่ ๑ ก็จริง แต่มิได้ประสบความ
  • 4. ความพินาศย่อยยับในประเทศของตน เพราะสนามรบไม่ได้เข้ามา อยู่ในประเทศเยอรมนีเหมือนสงครามโลกครั้งที่ ๒ บ้านเมืองถนนทาง ยังเรียบร้อย โรงงานทั้งหลายทางานได้เป็นปกติ ข้าพเจ้ามีความพิศวง ที่ได้แลเห็นปล่องโรงงานสูง ๆ ในประเทศเยอรมนี เรื่องปล่องโรงงาน สูง ๆ นั้น ก็ดูไม่เป็นของแปลกอะไร เพราะในเมืองของเราก็มีปล่อง โรงสีไฟ แต่สิ่งที่ข้าพเจ้าพิศวงในประเทศเยอรมนีนั้น ทั้ง ๆ ที่ปล่อง โรงงานสูงมาก ก็ยังมีเปลวไฟพลุ่งขึ้นบนเหนือปล่อง ในเมืองเราเคย เห็นแต่ควันไฟพลุ่งขึ้นมา แต่โรงงานในประเทศเยอรมนีนั้นมีเปลวไฟ พลุ่งขึ้นมาทีเดียว” ตลอดเวลาที่เดินทาง หลวงวิจิตรวาทการต้อง สงสัยอยู่ในใจตลอดเวลาว่า ท่านอัครราชทูตมีงานพิเศษอะไรให้ ทาแน่ ถึงกับเรียกตัวให้เดินทางมาด่วน เมื่อได้พบกับคุณพระบริภัณฑ์ยุทธกิจแล้ว จึง ได้ทราบแน่นอนว่า งานที่ถูกเรียกตัวมาทาโดยจาเพราะเจาะจง ครั้งนี้ คืองานทางภาษาบาลี หลวงวิจิตร ฯ ไม่เคยนึกฝันมาก่อนว่า ความรู้ ทางบาลีที่จะต้องถูกนามาใช้ราชการที่นี่ เรื่องมีอยู่ว่า เมื่อก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๑ หอสมุดของเราได้ส่งหนังสือเก่า ๆ ราวทั้งหนังสือบาลีที่เขียนเป็น อักษรขอมลงทองล่องชาด และบางฉบับก็เป็นตัวหนังสือลงใน แผ่นผ้า กล่าวอย่างง่าย ๆ ว่า บรรดาหนังสือเก่าซึ่งสวยงามที่สุดที่มีอยู่ ในหอสมุดแห่งชาติของเราเวลานี้ได้ถูกส่งออกไปยังประเทศเยอรมนี ในการแสดงพิพิธภัณฑ์หนังสือเก่า ซึ่งไทยได้รับการเชื้อเชิญให้เข้าร่วม แสดงด้วย ครั้นเมื่อเกิดสงครามและประเทศไทยประกาศสงครามกับ ประเทศเยอรมนี รัฐบาลเยอรมนีก็ยึดสิ่งเหล่านี้ไว้อย่างเป็นทรัพย์สิน ของศัตรู บัดนี้ถึงเวลาที่รัฐบาลเยอรมนีจะคืนหนังสือเหล่านั้นให้หลวง วิจิตร ฯ จึงมีหน้าที่เป็นผู้ไปตรวจรับเอกสารเหล่านั้น “ข้าพเจ้ามาได้คติอย่างหนึ่งในการไปทางานครั้งนี้ คือ คติ ที่ว่า วิชาความรู้นั้นอย่านึกว่ามีอยูเเล้วจะไม่มีทางใช้ ขอให้ท่านมี ความรู้ โชคจะบันดาลให้ท่านมีโอกาสได้ใช้ความรู้อันนั้น ขึ้นชื่อว่า ความรู้นั้นจะเป็นทางใดก็ตามทีขอให้มีไว้ท่านจะใช้ประโยชน์ได้เสมอ”
  • 5. งานที่หลวงวิจิตร ฯ ต้องทาคราวนี้ ไม่ใช่ในกรุงเบอร์ลิน แต่ต้องไปทาที่เมืองไลป์ซิก โดยที่หลวงวิจิตร ฯ ไม่รู้ภาษาเยอรมันเลย คุณพระบริภัณฑ์ยุทธกิจจึงต้องเดินทางไปด้วย งานตรวจรับหนังสือได้ เสร็จสิ้นในวันเดียว และเดินทางกลับเบอร์ลินในวันนั้น การที่หลวงวิจิตร ฯ ได้เดินทางจากปารีสไปเบอร์ลินครั้งนั้น กลายเป็นของแปลกประหลาด เพราะข้าราชการสถานทูตปารีส แม้ที่ อยู่มาก่อนเป็นเวลาถึง ๗ ปี ก็ยังไม่เคยไปเบอร์ลินเนื่องจากอยู่ระหว่าง สงคราม ไม่มีทางที่ปารีสกับเบอร์ลินจะติดต่อกันได้ การที่ไปเบอร์ลิน ในครั้งนี้ จึงกลายเป็นผู้รู้จักเบอร์ลินดีไป และในคราวหลัง ๆ เมื่อท่าน อัครราชทูตจะเสด็จเบอร์ลิน หลวงวิจิตร ฯ จึงกลายเป็นผู้เสด็จตามเสมอ ผู้ที่ได้มีโอกาสตามเสด็จร่วมไปกับหลวงวิจิตร ฯ อีกคนหนึ่งก็ คือ พระยาศรีวิสารวาจา ซึ่งเป็นเลขานุการที่อาวุโสสูงกว่าหลวงวิจิตร ฯ เป็นอันว่า งานที่หลวงวิจิตร ฯ ในสถานทูตไทยประจากรุงปารีส ก็คืองานร่างหนังสือใบบอกฉบับใหญ่ ๆ การร่างนั้นมีอยู่ ๓ อย่างคือ ๑. ท่านอัครราชทูตเรียกไปบอกความประสงค์ บอก เรื่องราวและเหตุผล ซึ่งบางทีก็ยืดยาวมาก หลวงวิจิตร ฯ ต้องคอย จดคอยจา แล้วก็นามาร่าง โดยมากเป็นที่ถูกต้องตามพระประสงค์ ๒. ท่านอัครราชทูตร่างเป็นภาษาอังกฤษก่อน แล้วสั่งให้ หลวงวิจิตร ฯ แปลเป็นภาษาไทย ใช้ได้บ้าง ใช้ไม่ได้บ้าง ที่ใช้ ไม่ได้นั้นท่านอัครราชทูตรับสั่งว่า คาแปลของหลวงวิจิตร ฯ ไม่ ตรงกับภาษาอังกฤษของท่านแท้แต่ท่านก็ไม่ทรงทราบว่าจะแก้ไข ได้ อย่างไร ในกรณีเช่นนี้ ท่านอัครราชทูตได้เปลี่ยนรูปของร่างที่ ท่านทานั้น ให้เป็นรูปบันทึก แล้วก็ทาเป็นหนังสือนาเป็นใจความย่อ ๆ นาส่ง บันทึกนั้น ๆ เข้ามาทั้ง ๆ ที่เป็นภาษาอังกฤษ ๓. เก็บความจากเรื่องราวหรือเอกสารปึกโต ๆ เขียนใบ บอกรายงาน ในกระบวนนี้หลวงวิจิตร ฯ ทาได้เรียบร้อยตลอดมา ในที่สุด หลวงวิจิตร ฯ ก็ได้พบงานประจาสาหรับตัว นั่นคือ งานสันนิบาตชาติ
  • 6. หลวงวิจิตร ฯ ต้องเป็นคนเขียนรายการตั้งแต่ต้นจนปลาย รายงานการประชุมครั้งหนึ่ง ๆ เป็นหน้ากระดาษพิมพ์ดีดไม่น้อย กว่า ๑oo หน้า ต้องร่างเอง พิมพ์เอง แต่อยู่ในคณะของพระสาร สาสน์ประพันธ์ และพระยาศรีวิสารวาจา ทั้งสองท่านนี้รวบรวม เอาเอกสารมาให้หลวงวิจิตร ฯ บางทีก็ช่วยทาบันทึกให้ แต่ เนื่องจากพระสารสาสน์ประพันธ์และพระยาศรีวิสารวาจาในเวลา นั้นไม่รู้ภาษาไทยพอที่จะเขียนเรื่องยาก ๆ ได้ บันทึกที่ท่านทั้งสอง ทาให้หลวงวิจิตร ฯ นั้นจึงเป็นภาษาฝรั่ง หลวงวิจิตร ฯ ต้องแปล ลงเป็นไทยอีกครั้งหนึ่งแต่ก็ยังช่วยให้เบาแรงได้มา และ ประหยัดเวลาได้มากกว่าที่จะต้องเสียเวลาจะค้นเองจากเอกสารทุก ฉบับ ภาษาที่ใช้ในการประชุมมี ๒ ภาษา คือ ภาษาอังกฤษกับ ฝรั่งเศส ถ้าใครพูดภาษาอังกฤษก็มีล่ามแปลเป็นภาษาฝรั่งเศส ถ้าใครพูดภาษา - ฝรั่งเศสก็มีล่ามแปลเป็นภาษาอังกฤษ แต่หลวงวิจิตรฯ ฟังได้ทั้ง ๒ ภาษาจึงได้เปรียบ เพราะถาฟังไม่ถนัดชัดเจนในอีกภาษาหนึ่ง ก็ อาจจะคอยฟังอีกภาษาหนึ่งได้ หลวงวิจิตร ฯ ได้เขียนเล่าชีวิตของตนเองในตอนนี้ว่า “โชคชาตาได้ช่วยให้ข้าพเจ้ามีโอกาสเล่าเรียนศึกษาของดีใน สันนิบาตรชาติถึง ๕ ปีเต็ม และศึกษาครบถ้วนตามแบบที่โบราณ เรากล่าวไว้ คือ สุ . จิ . ปุ . ลิ . หรือ ฟัง คิด ถาม เขียน ข้าพเจ้า ฟังคาประชุมอย่างนี้ตลอดสมัยการประชุมทุกสมัย เป็นเวลา ๕ ปี มีความจาเป็นต้องเก็บเอามาคิด และเมื่อสงสัยผู้ใดก็ไตร่ถามผู้รู้ ยิ่งกว่านั้นข้าพเจ้ายังได้เขียน คือ เขียนรายงานการประชุมเช่นนี้ แต่ผู้เดียวทุก ๆ ครั้ง ครั้งหนึ่ง ๆ ไม่น้อยกว่า ๑00 หน้า กระดาษพิมพ์ มีน้อยคนที่จะได้ทางานอย่างข้าพเจ้าเลขานุการคน อื่น ๆ มักจะได้แต่เพียง สุ . จิ . ปุ . เท่านั้น ไม่มี ลิ คือไม่ได้เขียน “ นอกจากงานเข้าประชุมและงานหนังสือดังกล่าวแล้วข้างต้น ยังมีงาน สาคัญอีก ประการหนึ่ง คืองานสังคม เพราะการสังคมย่อมถือเป็นงานสาคัญอันหนึ่ง ในทาง
  • 7. การทูต และมีความสาคัญเท่า ๆ กับงานหนังสือเอง เลขานุการทุกคนต้องมี หน้าที่ ทางสังคมกับสังคมชั้นเดียวกับตัว หมายความว่า พวกเลขานุการสถานทูต ไทยจะ ต้องคบหาสมาคมกับเลขานุการคณะทูตอาจจะเป็นการสังคมที่เล็กน้อย ไม่มี ความ สาคัญมากนักในเวลานั้นแต่อาจจะมีความสาคัญในภายภาคหน้าเป็นอันมาก เพราะ พวกเลขานุการในบัดนั้น คืออัครราชทูตหรือเอกอัครราชทูตในภายภาคหน้า มีเลขานุการคณะทูตญี่ปุ่นอย่างน้อย ๒ คน ที่หลวงวิจิตร ฯ รู้จักมักคุ้นในที่ประชุมสันนิบาตชาติ ได้เป็นถึงอัครราชทูตประจา กระทรวง เมื่อหลวงวิจิตร ฯ ได้ไปเป็นเอกอัครราชทูตประจา กรุงโตเกียว ความรู้จักมักคุ้นที่มีมาตั้งแต่หนุ่มด้วยกัน ทาให้ สะดวกในการทางานกับญี่ปุ่นเป็นอันมาก ในฐานที่เป็นเลขานุการอาวุโสน้อยที่สุด หลวงวิจิตร ฯ จึงมีงานอีกอย่างหนึ่ง คือ ต้องจัดการดูแลเลี้ยงรับรองแขก แต่ แทนที่จะบ่นว่าเป็นงานหนัก หลวงวิจิตร ฯ กลับพอใจในงานชิ้นนี้ เพราะถือว่างานทุกอย่างเป็นความรู้ และความรู้ทุกอย่างต้องเรียน งานเลี้ยงแขกซึ่งจัดโต๊ะและจัดที่นั่ง ก็มีความสาคัญอันหนึ่งใน ทางการทูต “ การเป็นเลขานุการอาวุโสน้อยที่สุด มีงานแปลก ๆ ให้ หลายอย่าง เช่น ในการเดินทางจากปารีสไปเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ซึ่งเป็นที่ตั้งสันนิบาตชาตินั้น พวกเลขานุการที่มี อาวุโสมากกว่าข้าพเจ้ามักจะได้เดินทางโดยรถยนต์ไปกับท่านอัคร
  • 8. ราชทูต ส่วนข้าพเจ้าซึ่งเป็นเลขานุการเด็กที่สุด ต้องไปทางรถไฟ หมายความว่าต้องเป็นคนคุมหีบของต่าง ๆ ไปคนเดียว “ ด่านศุลกากรของสวิตเซอร์แลนด์มีวิธีแปลกประหลาด อันหนึ่ง คือ ถึงแม้ผู้เดินทางจะมีหนังสือเดินทางทูต และไม่จาเป็นต้องเสียภาษี เมื่อถึงสถานีที่เป็นพรมแดน ก็ถูกบังคับให้เอาของทุกชิ้นลงจาก รถไฟไปวางเรียงรายไว้ในห้องตรวจ เจ้าหน้าที่มาตรวจโดยไม่ บังคับให้เปิด ถามเพียงแต่ว่า หีบใดบ้างเป็นของเรา แล้วเอาชอล์ก ขีดกากบาท แล้วบอกให้ขนกลับไปบนรถไฟอีก การที่ทาเช่นนี้ ในเมื่อมีผู้โดยสารมากนั้น เป็นการฉุกละหุกและลาบากอย่างยิ่ง สาหรับบุคคลตัวคนเดียวเช่น หลวงวิจิตร ฯ ครั้งหนึ่งในการเดินทางไปประชุมสันนิบาตชาตินี้ ทูลกระหม่อมฟ้าหญิง(เจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีฯ)เสด็จไปด้วยเพื่อ ประพาสประเทศสวิตเซอร์แลนด์และทอดพระเนตรการประชุม สันนิบาตชาติ หีบของเครื่องแต่งพระองค์และเครื่องใช้ทั้งของ พระองค์เองและของผู้ตามเสด็จ มีไม่น้อยกว่า ๒0 หีบ นอกจากนี้ ยังมีหีบของเครื่องใช้ของอัครราชทูต ของเลขานุการอื่น ๆ และ ของราชการ รวมทั้งหมดราว ๑๕ หีบ หลวงวิจิตร ฯ ต้องคุมหีบของที่กล่าวข้างต้นนี้ราว ๓๕ หีบ และต้องพาพระโอรส และ พระธิดาองค์เล็ก ๆ ของท่านอัคร ราชทูตไปด้วย ( หีบ ๓๕ หีบ กับเด็กเล็ก ๆ อีก ๒ คน ) เป็นความ ยุ่งยากอย่างยิ่ง เมื่อไปถึงสถานีพรมแดนสวิส ถึงกับหลวงวิจิตร ฯ พูดไว้ว่า “ ทาให้ข้าพเจ้านึกอยู่เสมอว่า เมื่อไรข้าพเจ้าจะพ้นกับ การเป็นเลขานุการน้อยเสียที แต่ข้าพเจ้าก็ไม่เคยหมดหน้าที่อันนี้ ตลอดเวลาที่ประจาอยู่ในสถานทูตปารีส “ สาเหตุที่หลวงวิจิตรวาทการยอมรับว่างานที่สถานทูต ไทยประจากรุงปารีสในสมัยนั้นหนักหนาเป็นอย่างยิ่ง ก็เพราะว่า หน้าที่เกือบทุกอย่างในภาคพื้นยุโรป มาทับถมกันอยู่ที่ปารีสเกือบ ทั้งสิ้น จึงทาให้งานหนักขึ้นหลายเท่าตัว
  • 9. งานดังกล่าวนี้ คือ งานปฎิกรรมสงคราม งานชาระบัญชี ชนชาติศัตรูงานสันนิบาตชาติ ซึ่งงานเหล่านี้เป็นผลเนื่องมาจาก การที่ฝ่ายอักษะแพ้สงครามโลกครั้งที่ ๑ และรัฐบาลไทยได้มอบ งานเหล่านี้ให้แก่พระองค์เจ้า จรูญศักดิ์กฤดากร อัครราชทูตไทย ประจากรุงปารีส เป็นผู้เจรจากับประเทศทุกประเทศบนภาคพื้น ยุโรป “ สิ่งที่เคราะห์ร้ายสาหรับเจ้านายผู้สามารถพระองค์นี้ คือ พระโสตตึงไม่สามารถจะทรงได้ยินได้ฟังอะไรตามปกติ ต้องใช้ เครื่องมืออันหนึ่งใส่พระโสต แล้วยื่นปากกระบอกไปฟังจากปาก คนที่พูดด้วย เป็นการถ่วงสมรรถภาพอย่างร้ายแรง แต่การที่พระ โสตตึงนี้ เป็นการแสดงความสามารถของพระองค์อย่างอัศจรรย์ เพราะทั้ง ๆ ที่พระโสตตึงก็ยังสามารถเจรจาได้อย่างยอดเยี่ยม “ หลวงวิจิตร ฯ เล่าว่า เนื่องจากเจ้านายพระองค์นี้ทรง ทางานไม่เป็นเวลา เช่นเวลาราชการปกติสิ้นลงราว ๕ โมงเย็น แต่ท่านอัครราชทูตไม่ยอมหยุดงาน มักจะส่งร่างโทรเลขอย่างยาว ๆ มาให้ และตามระเบียบของกระทรวงต่างประเทศนั้น งานโทร เลขเป็นงานที่ต้องทาทันที จะทิ้งไว้ไม่ได้ โทรเลขเหล่านั้นต้องเข้า โคด การเข้าโคตโทรเลขเป็นงานที่เปลืองเวลาอย่างยิ่ง และโดยมากท่านอัครราชทูตจะส่งงานชิ้นนี้มาให้ในเวลาราว ๔ โมงเย็น เป็นเหตุให้ข้าราชการต้องปฎิบัติงานกันจนเวลาค่าคืน เรื่องนี้เป็นเรื่องเบื่อหน่ายของข้าราชการที่นั่น เพราะเมื่อนึกว่า หมดเวลางาน และเตรียมตัวจะออกเที่ยวเตร่ตามวิสัยของผู้อยู่ ปารีส ก็ถูกกีดขวางด้วยการทางานไม่เป็นเวลาของท่านอัครราชทูต “ สาหรับตัวข้าพเจ้า ถ้าหากจะเรียกว่าเคราะห์กรรม ข้าพเจ้าก็ดูเหมือนกับว่ารับเคราะห์กรรมหนักกว่าผู้อื่น เพราะข้พ เจ้าเป็นเลขานุการที่เด็กที่สุดในบรรดาเลขานุการทั้งหลาย จึงเป็น คนที่ถูกเรียกใช้มากที่สุด ในห้องนอนของข้าพเจ้ามีโทรศัพท์ติด อยู่เป็นโทรศัพท์ที่ใช้เฉพาะห้องนอนท่านอัครราชทูตกับห้องนอย ของข้าพเจ้าเท่านั้น ความลาบากร้ายแรงนั้นคือว่าโดยทางโทรศัพท์ นั้น ท่านอัครราชทูตเป็นฝ่ายที่พูดได้ข้างเดียว ข้าพเจ้าไม่สามารถ ทูลตอบอะไรทางโทรศัพท์ได้ เมื่อรับสั่งถามอะไรมา ข้าพเจ้าต้อง
  • 10. วิ่งไปทูลตอบด้วยวาจา เพราะต้องพูดอย่างดัง ๆ ที่ใกล้พระโสต ไม่สามารถทูลตอบโดยทาง โทรศัพท์ได้ “ สถานทูตไทยที่ปารีสเป็นตึก ๒ หลัง การเดินทางจากตึก ข้าราชการไปตึกอัครราชทูต ต้องผ่านที่ว่างซึ่งถ้าเป็นฤดูหนาวก็ เป็นความทารุณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อถูกเรียกในเวลากลางคืน และกาลังนอนหลับในเตียงที่อบอุ่น แล้วต้องลุกขึ้นฝ่าความหนาว ไปทูลเรื่องที่ต้องพระประสงค์จะทรงทราบ หรือค้นเรื่องราวที่ต้อง พระประสงค์ไปถวาย เพราะอาจทรงทางานไม่ว่าเวลาใด บางครั้ง ๒ ยามล่วงแล้วก็ยังทรงเรียกเอาเรื่องราว เพราะ ทรงอยาก ทางานขึ้นในเวลานั้น “ ข้าพเจ้าต้องทนสภาพการอย่างนี้เป็นเวลาราว ๖ ปี และ รู้สึกความชมชื่นแรงร้าย ถึงกับเกลียดชังท่านอัครราชทูตทีเดียว แต่มาถึงเวลานี้ รู้สึกขอบพระคุณเป็นอันมากเพราะในการที่ต้องทาหน้าที่อย่างนั้น ได้สร้าง ผลงานอันหนึ่งในตัวข้าพเจ้า คือความ “ ทนงาน “ นิสัยทนงาน ของข้าพเจ้า ได้สร้างขึ้นจากการเป็นเลขานุการของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า จรูญศักดิ์ กฤดากร “ ราวปีละ ๓ เดือน หลวงวิจิคร ฯ จะต้องตามเสด็จไป ประเทศ สวิสเชอร์แลนด์ เนื่องจากการประชุมครั้งใหญ่ของสันนิบาตชาติ ดังกล่าว มาแล้ว นอกจานี้ยังมีการประชุมพิเศษอื่น ๆ อีกรวมกันรวม ประมาณปีละ
  • 11. ๓ เดือน เนื่องจากโต๊ะประชุมเป็นโต๊ะที่กว้างใหญ่ เป็นที่นั่งของ ผู้เข้า ประชุมมากกว่า ๕๐ คน ไม่สามารถจะยื่นเครื่องฟังไปไว้ใกล้ปาก ของคนทุกคนได้จึงเป็นหน้าที่ของเลขานุการจะต้องนั่งอยู่ข้าง ๆ คอยฟังและคอยเขียนข้อความ ย่อ ถวายทอดพระเนตร จึงทรงรู้ เรื่องราวที่พูดกันในที่ประชุมได้ ก็โดยอาศัยข้อความย่อที่ เลขานุการเขียนเถวายเอาไว้ การที่ต้องฟังไปต้องเขียนไปเป็นความเหน็ดเหนื่อย อย่างร้ายแรงแต่ก็เป็นประโยขน์อย่างยิ่งสาหรับเลขานุการนั่นเอง เพราะเป็นการหัดฝึกงานอย่างดีวิเศษ และบางทีจะเป็นด้วยการ ฝึกหัดนี้ ที่ทาให้บุคคลเคยรับตาแหน่งเลขานุการของพระวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ในที่ประชุมเช่นนี้ เป็น คนทางานได้ การเป็นเลขานุการของท่านอัครราชทูต ผู้นี้ เป็น การฝึกฝนอย่างแรงมาก พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจรูญศึกดิ์กฤดากรทรงรู้ ภาษาไทยน้อยและโดยมากแม้แต่ หลวงวิจิตร ฯ ก็มักจะรับสั่งเป็น ภาษาอังกฤษ ทรงเขียน ภาษาไทยไม่ได้ คือเขียนได้แต่ข้อความง่าย ๆ รายงานหรือใบบอกที่ สาคัญทรงร่างเอง แต่ทรงร่างเป็นภาษาอังกฤษ แล้วเลขานุกการ ต้องแปลเป็นไทยอีกต่อหนึ่ง ในสมัยที่หลวงวิจิตร ฯ เป็นเลขานุการ งานแปลนี้ ตกเป็น หน้าที่ของหลวงวิจิตร ฯ ในบางครั้งงานแปลไม่ถูกพระทัย เลยต้อง เปลี่ยนรูป ใบบอกนั้นเป็นบันทึก ส่งเข้ามาในกระทรวงการต่างประเทศเป็น ภาษาอังกฤษมีภาษาไทยเป็นแต่เฉพาะหนังสือบันทึกเข้ามา อันที่จริงท่านอัครราชทูตทรงเขียนหนังสือด้วย พระหัตถ์น้อยเต็มทีแม้แต่จะต่างโทรเลขด้วยพระองค์เองก็ยังร่าง ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด มี
  • 12. เครื่องพิมพ์ประจาพระองค์อยู่เสมอและพิมพ์ด้วยพระองค์เองอย่าง แคล่วคล่อง หนังสือกราบบังคมทูลซึ่งเป็นเรื่องลับที่สุดนั้น ทรงพิมพ์เองผนึกซองตีตราเองแล้วเสด็จเดินทางไปทาการ ไปรษณีย์ซึ่งอยู่ใกล้สถานทูต ทรงส่งหนังสือนั้น ด้วยพระองค์เองโดยไม่ไว้ใจใครเลยแม้แต่เลขานุการที่ใช้อยู่ใกล้ชิด หลวงวิจิตร ฯ ได้เล่าถึงท่านอัครราชทูตพระองค์ นี้ต่อไปว่า “ หนังสือทุกเรื่องที่นาเสนอ แม้แต่เป็นปึกใหญ่ แฟ้มโตสักเพียงใด ก็ทรงอ่านตลอด ที่รู้ว่าทรงอ่านตลอดนั้นก็เพราะเหตุว่าได้เห็น รอยชีดและบางทีก็เครื่องหมายคาถามไว้เป็นแห่ง ๆ งานเกี่ยวกับปฏิกรรมสงครามนั้น ฝรั่งซึ่งเป็นที่ ปรึกษา สถานทูตเป็นผู้นาเสนอเอง พอนาไปเสนอก็รับสั่งให้นั่งอยู่ข้าง ๆ ทรงอ่านไป ซักถามไป ข้าพเจ้าเคยเห็นหลายครั้งที่ฝรั่งที่ปรึกษาสถานทูตเข้า ไปเสนองานแล้วถูกซักถาม ต้องถวายคาชี้แจงมากมาย ถูกไล่ ถูกซัก จนกระทั่ง เหงื่อเต็มหน้าและเดินออกจากห้องด้วยอาการโซเซ แสดงให้เห็น ความละเอียดลออในกิจการงานทุกสิ่งทุกอย่าง “ พระวงศ์เธอ พระองศ์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรทรง อ่านหนังสือมากแม้ในการเดินทางโดยรถไฟก็ทรงอ่านนวนิยาย ตลอดเวลา ทั้ง ๆ ที่พระโสตตึงก็สามารถอย่างยิ่งในการ รับแขก ทรงเป็น เจ้านายที่รูปงามองค์หนึ่งโดยเฉพาะเวลาแค่งเครื่องราตรี ท่าทางที่ รับแขกเป็น ท่าทางที่งามสง่า การพูดจาสนทนาแสดงว่าเป็นทูตโดยกาเนิดชน ต่างชาติที่ได้ พบปะสนทนาด้วยก็พากันติดกันติดใจเลี่อมใส แต่การสนทนาซึ่งทาได้จริง มีเพียงภาษาเดียวคือ ภาษา
  • 13. อังกฤษซึ่งถึงแม้ว่าจะสมเป็นอัครราชทูตประจาอยู่ในกรุงปารีสถึง ๑๔ ปีแต่ทรง ภาษาฝรั่งเศสได้เพียงเล็กน้อยส่วนภาษาไทยนั้นไม่กล้ารับสั่งนัก เพราะบางทีก็ ทรงใช้คาผิด ๆ ไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเจ้านายของพระองค์เสด็จ จากกรุงเทพ ฯ ไปประทับที่ปารีสก็มักจะถูกเจ้านายหัวเราะเยาะใน การใช้ภาษาไทย ที่ผิด ๆ จนไม่ทรงกล้าที่จะใช้ภาษาไทยอีก หลวงวิจิตรวาทการก็มีปมด้อย คือเป็นบุคคล ประเภทที่ เรียกว่าติดอ่าง แต่ในการพูดปาฐกถากลับปรากฏว่าหลวงวิจิตร ฯ ทา ได้อย่าง คล่องแคล่วน่าอัศจรรย์ใจ เรื่องนี้หลวงวิจิตร ฯ คงจะใช้หลักการเดียวกับที่ เดมอส เทนีส นักพูดเอกของกรีกที่ทาได้สาเร็จมาแล้ว ตลอดเวลาที่อยู่ในฝรั่งเศส หลวงวิจิตร ฯ พยายาม สังเกตดูนิสัย ใจคอ ความดี ความเด่น ในด้านการงานของงานของบุคคลแทบ ทุกคนที่ ตนได้มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด พยายามจดจาเอาแง่ดีของบุคคล เหล่านั้นมาเป็นตัวอย่างของชีวิตของตน หลวงวิจิตร ฯ เป็นคนมีอุดมการณ์ อยู่ในใจว่า “ จะต้อง มองแง่ดีของคนและพยายามที่จะไม่มองแง่ร้ายของใคร “ ในฝรั่งเศสหลวงวิจิตร ฯ ได้เล่าถึงบุคคลสาคัญคน หนึ่งที่ชอบมองคนในแง่ร้าย หรือเป็นนักค้านตัวยงว่า : “ เมื่อข้าพเจ้าอยู่ในฝรั่งเศส ได้เห็นนักการเมือง คน สาคัญ คนหนึ่งซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคโซเชียลิสต์ ทาหน้าที่เป็นฝ่ายค้านใน สภามาตลอดกาล แต่ไม่มีพรรคพวกพอที่จะตั้งเป็นรัฐบาลได้ จึง ทาหน้าที่แต่ทางค้านเรื่อยมาไม่ว่ารัฐบาลไหนขึ้นมา และไม่ว่าจะ
  • 14. ทาอะไร คนผู้นี้ค้านหมด คาค้านของเขาเป็นคาที่คมคาย ฟังดู ทั่วไปก็น่าเลื่อมใส ข้าพเจ้าคิดคานึงอยู่เสมอว่า ถ้าบุคคลผู้นี้ได้เสียงข้างมากในสภา ถึงกับได้เป็นนายกรัฐมนตรีสัก ครั้งหนึ่ง ประเทศฝรั่งเศสคงจะเลิศลอยเพราะความรู้ความสามารถของคนผู้นี้ เมื่อข้าพจ้ากลับจากกรุงเทพ ฯ แล้วสัก ๒ - ๓ ปี จึงมี ข่าวว่า พรรคโซเขียลิสต์ได้เสียงข้างมากในการเลือกตั้ง และบุคคลที่ ข้าพเจ้าได้มุ่งมองอยู่นั้นได้ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรี ข้าพเจ้าก็คอย ดูว่าบุคคลผู้นี้จะสร้างสรรค์ ความดีอะไรวิเศษขึ้นมา ตรงกันข้ามกับที่ข้าพเจ้าคิด คณะรัฐบาลของท่านผู้ นี้อยู่ได้ ไม่ถึงปีและใช้ชั่วเวลาไม่ถึงปีนั้น ก็ได้สร้างความเสื่อมโทรม เสียหายไว้แก่ ประเทศฝรั่งเศส จนรัฐบาลที่เข้ามาทีหลังต้องเวลาและความ พยายามมากมายเพื่อแก้ไขความเสียหายที่บุคคลผู้นี้ทาไว้ แล้ว บุคคลผู้นี้ก็ทาความเสียหายไว้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตผลทาง อุตสาหกรรม ในโรงงานฝรั่งเศส เกือบทุกแห่งลดปริมาณลงไป รายได้จากสินค้าเข้าออกตกต่าลง อย่างน่าใจหาย และต้องใช้เวลาตั้งหลายปีสาหรับการแก้ไข้ สถานการณ์ที่บุคคลผู้นี้มาก่อไว้ “ ตลอดเวลา ๖ ปี ที่อยู่ในฝรั่งเศส หลวงวิจิตร ฯ พยายามใช้ ความอุตสาหะวิริยะของตนอย่างใหญ่หลวง ในการศึกษาวิชาการ ต่าง ๆ ให้ มากที่สุดเท่าที่จะสามารถศึกษาได้ ไม่ว่าจะเป็น การศึกษาจากบุคคล สถาบัน หรือจากหนังสือ บางอย่างก็เป็นผล พลอยได้ เช่น ความรู้ด้านภาษาฝรั่งเศสที่ เพิ่มพูนเป็นเงาตามตัวไปด้วย จึงเป็นประโยชน์แก่หลวงวิจิตร ฯ อย่างยิ่ง เพราะภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาของนักการทูต หลวงวิจิตร ฯ ได้เข้าเรียนใน
  • 15. สถาบัน Pelman Institute ซึ่งเป็นโรงเรียนฝึกฝนสมองที่มีชื่อเสียง แห่งหนึ่ง ของโลก ดังได้กล่าวมาแล้ว ตอนนี้ขอแทรกเหตุการณ์ในเยอรมนี ซึ่งหลวงวิจิตร ฯ ได้ไปอยู่ใน พ.ศ.๒๔๖๕ ไว้สักเล็กน้อย “ ใน พ.ศ. ๒๔๖๕ ข้าพเจ้าอยู่ในเยอรมนี เป็นเวลาทา สัญญาใหม่ ระหว่างไทยกับเยอรมัน ภายหลังที่สัญญาเก่าได้ถูก เพิกถอนไปโดย บัญญัตแห่งสัญญาแวร์ซายส์ เยอรมนี เป็นส่วนของต่างชาติ เพราะ เงินมาร์ก กาลังลดค่า ท่านอัครราชทูตของข้าพเจ้าซึ่งไม่เคยชอบของเยอรมนี ยังตกลงใจ ซื้อรถเยอรมัน คันหนึ่ง แต่รูปร่างของรถในตอนท้ายไม่น่าดูเอา เสียเลย ถ้าเอาเข้ามาในปารีส คงจะถูกหัวเราะเยาะแน่นอน ข้าพเจ้าได้เสนอความเห็นแด่อัครราชทูต ให้ขอให้โรงงานเปลี่ยน รูปตัวถังตอนท้ายเสียใหม่ …. ในสมัยนั้น ข้าราชการสถานทูตไทยรับเงินเดือนเป็น ปอนด์ อังกฤษ เบอร์ลิน จึงเป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เช่นเดียวกับชาว ต่างประเทศทั้งหลาย ด้วยเงินปอนด์อังกฤษ เพียงปอนด์เดียว ๑๑ บาท ข้าพเจ้าสามารถซื้อหีบเสียงอย่างดี พอใช้ กับแผ่นเสียงอีกครึ่ง โหล ซึ่งเป็นแผ่นเสียงเมืองไทย ร้อง โดย หม่อม ส้มจีน เสียด้วย นับวันเงินยิ่งตกลงไป ข้าพเจ้าทางานเกี่ยวกับการ ชาระบัญชีทรัพย์สมบัติของคนไทยที่ถูกเยอรมันยึดไว้เมื่อคราว สงครามครั้งโน้น และได้ความรู้ว่าการที่เงินมาร์กตกลงไปทุกวัน นั้นเป็นผลร้ายแก่เพื่อนไทยหลายคน “ ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ที่หลวงวิจิตร ฯ ได้รับในตอนเป็น เลขานุการสถานทูตอยู่ปารีสนี่เอง ทาให้หลวงวิจิตร ฯสามารถ กลับมาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้อีกสมัยหนึ่ง
  • 16. หลวงวิจิตรวาทการอยู่ในฝรั่งเศส ๖ ปี ก็ย้ายไปเป็น เลขานุการสถานทูตไทยประจา กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ “ งานในสถานทูตลอนดอนมีลักษณะคนละอย่างต่างกัน ไกลกับงานในสถานทูตปารีส งานในสถานทูตปารีสเป็นงาน การเมือง แต่งานในสถานทูตลอนดอนเป็นงานการเงิน เพราะเงิน ทองของเราในเวลานั้นสะสมไว้ในลอนดอนเกือบทั้งสิ้น บรรยากาศของมหานครทั้ง ๒ นี้ก็ต่างไกลกัน ปารีสเป็นเมือง แห่งความสนุกสนาน ลอนดอนเป็นเมืองแห่งธุรกิจ อันที่จริงดู เหมือนข้าพเจ้าจะชอบชีวิตในลอนดอนมากกว่าในปารีส “ ข้อที่หลวงวิจิตร ฯ พูดว่าชอบชีวิตในลอนดอนมากกว่าใน ปารีส ก็ไม่ เป็นของแปลกอะไร เพราะในเมื่อชีวิตของหลวงวิจิตร ฯ เองเป็น ชีวิตของคนทา งาน ไม่ใช่ชีวิตแบบสา รวย และลอนดอนก็มี ชื่อเสียงในด้านธุรกิจนับตั้งแต่ควันไฟที่ฟุ้งตลบเมืองไปจนถึงความ ขยันขันแข็งต่อชาวเมือง ต่างกับปารีสซึ่งเป็นนครแห่งความ หรูหราอ่าโอ่ ชีวิตชาวเมืองก็เต็มไปด้วยความผาสุข ความฝัน และความสารวย หลวงวิจิตรวาทการเป็นนักเลงหนังสือ แต่เดิมก็ชอบ วรรณคดีฝรั่งเศส นักเขียนหลายคนที่หลวงวิจิตรวาทการพออก พอใจ และชอบลีลาการเขียน แต่เมื่อมาถึงประเทศอังกฤษ ก็พบว่าในประเทศอังกฤษ ไม่ได้ด้อยกว่าประเทศฝรั่งเศสเลยในด้านหนังสือ ไม่ว่าจะเป็นบท กวีหรือร้อยแก้ว ด้วยเหตุนี้ ในวันเสาร์เกือบทุกเสาร์ตลอดเวลาที่อยู่ใน ลอนดอน หลวงวิจิตรวาทการจึงแอบไปใช้ชีวิตอยู่เงียบ ๆ แถว ๆ
  • 17. ถนนชาริงครอส ซึ่งมีชื่อเสียงในการเป็นถนนหนังสือ พอ ๆ กับ สนามหลวงของไทย มีหนังสืออยู่หลายเล่มที่หลวงวิจิตรวาทการ ลงมือเขียน ในลอนดอน เช่น พุทธานุภาพ วิชาแปดประการ และ มันสมอง หลวงวิจิตรวาทการ อยู่ในลอนดอนได้ไม่นาน ก็ถูก เรียกกลับเข้ากรุงเทพ ฯ มาปฏิบัติราชการอยู่ในกระทรวงการ ต่างประเทศ ……………………………………………….. แนวคิดและแง่ประโยชน์ที่ได้รับจากเรื่องนี้ การนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง 1. เราควรมีความวิริยะอุตสาหะ ในเรื่องต่าง ๆ ต้องสู้ให้ถึงที่สุด 2. เราควรมีความขยัน หมั่นเพียร 3. ควรรักงานที่ทา หรือ งานที่ได้รับมอบหมาย 4. เมื่อเราทาสิ่งใดเราก็ควรจะพยายามทาให้สาเร็จ 5. เมื่อท่านอยู่ว่าง ๆ ท่านก็จะเเต่งหนังสือ ท่านจะใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ ( ท่านเป็นตัวอย่างที่ดี เพราะฉะนั้น เราก็ควรจะทาเป็น แบบอย่าง ) 6. เราไม่ควรใช้เงินฟุ่มเฟือย ใช้ในสิ่งที่ไม่จาเป็น 7. ท่านเป็นคนไม่ถือตัว เพราะฉะนั้นเราก็ไม่ควรถือตัว จึงมีแต่ คนรัก 8. ท่านเป็นคนที่อดทนถึงงานจะหนักแค่ไหนท่นก็จะพยายามทา จนสาเร็จ