SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน สติ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายพงศ์พิทักษ์ ปวงคาไหล เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 5
2.นายพงศ์ปณต วชิรวงศ์วรัณ เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
วัตถุประสงค์
ที่มาและความสาคัญ
หลักการและทฤษฎี
หน้าที่ของสติ
ประโยชน์ของสติ
สติกับการดาเนินชีวิต
การเดินจงกรม
การนั่งสมาธิ
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สติ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Consciousness
ประเภทโครงงาน
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายพงศ์พิทักษ์ ปวงคาไหล เลขที่ 7
นายพงศ์ปณต วชิรวงศวรัณ เลขที่ 42
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 8 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันชีวิตของคนเรามีปัญหาเข้ามารุมเร้าไม่เว้นในแต่ละวัน
บางครั้งที่เราเจอปัญหาหรืออะไรก็ตาม มารบกวนใจเรา ก็อาจจะทาให้เรา
ควบคุมจิตใจไม่ได้ ในบางครั้งอาจทาให้เกิดสิ่งที่เราไม่ต้องการ คือ การขาดสติ
ฟุ้งซ่าน วุ่นวาย หรืออาจทาให้เราประมาทได้เกิดขึ้นมาในจิตใจของเรา นั่น
เพราะเราไม่ได้รับการฝึกจิต หรือลองฝึกสมาธิมาก่อน หากคนที่เคยฝึกจิตมาบ้าง
แล้วก็จะทาให้มีสติในการควบคุมอารมณ์ และสามารถควบคุมจิตใจให้คงที่ ทา
ให้ไม่เกิดปัญหาที่เราไม่ต้องการได้
คณะผู้จัดทาจึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการฝึกจิตจึงได้จัดทา
โครงงานเรื่องนี้ขึ้นมาเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการฝึกจิตให้มีสติให้มีสมาธิใน
การดารงชีวิตประจาวันได้อย่างมั่นคง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการฝึกจิตให้มีสติ
2.เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ต้องการจะศึกษาเรื่องการฝึกจิตให้มีสติ
3.เพื่อให้ผู้ที่ศึกษาเรื่องการสร้างสตินามามาใช้ได้อย่างถูกต้อง
หลักการและทฤษฎี
สติคืออะไร
สติ คือ ความระลึกนึกได้ถึงความผิด-ชอบ-ชั่ว-ดี เป็นสิ่งกระตุ้น
เตือนให้คิดพูดทาในสิ่งที่ถูกต้อง ทาให้ไม่ลืมตัว ไม่เผลอตัว ใช้ปัญญา
พิจารณา ใคร่ครวญสิ่งต่างๆ ได้
ธรรมชาติของจิตมีการนึกคิดตลอดเวลา การนึกคิดนี้ถ้าไม่มีสติ
กากับ ก็จะกลายเป็นความคิดฟุ้งซ่านไปตามอารมณ์ต่างๆ ใช้ประโยชน์
อะไรไม่ได้แต่ถ้ามีสติกากับแล้ว จะทาให้ไม่เผลอ ควบคุมความนึกคิดได้
ไม่ปล่อยใจให้เลื่อนลอยไป ไม่ปล่อยอารมณ์ให้เป็นไปตามสิ่งที่มากระทบ
หน้าที่ของสติ
1.สติเป็นเครื่องทาให้เกิดความระมัดระวังตัว ป้องกันภัยที่จะมาถึง
ตัวคือ ระแวงในสิ่งที่ควรระแวง และระวังป้องกันภัยที่จะมาถึงในอนาคต
2.สติเป็นเครื่องยับยั้ง เตือนไม่ให้ตกไปในทางเสื่อม ไม่ให้มัวเมา
ลุ่มหลง ไม่ให้เพลิดเพลินไปในสิ่งที่เป็นทุกข์เป็นโทษต่อตนเอง เช่น เพื่อน
ชวนไปดื่มเหล้า ก็มีสติยับยั้งตัวเองไว้ว่า อย่าไป เพราะเป็นโทษ ต่อตัวเอง
ฯลฯ
3.สติเป็นเครื่องกระตุ้นเตือนให้ขวนขวายในการสร้างความดี ไม่แช
เชือนหยุดอยู่กับที่ไม่ทอดธุระ ไม่เกียจคร้าน ป้องกันโรคนอนบิดติดเสื่อ
งานการเบื่อทาไม่ไหว ข้าวปลากินได้อร่อยดี
4.สติเป็นเครื่องเร่งเร้าให้มีความขะมักเขม้น คือ เมื่อเตือนตัวเองให้
ทาความดี แล้วก็ให้ทาอย่างเอาจริงเอาจัง ไม่อืดอาดยืดยาด ไม่ทาแบบเรื่อยๆ
เฉื่อยๆ
5.สติเป็นเครื่องทาให้เกิดความสานึกในหน้าที่อยู่เสมอ ตระหนักถึง
สิ่งที่ควรทา และไม่ควรทา ตระหนักถึงสิ่งที่ทาแล้ว และยังไม่ได้ทา
6.สติเป็นเครื่องทาให้เกิดความละเอียดรอบคอบในการทางาน ไม่
สะเพร่า ไม่ชะล่าใจว่าสิ่งนั้นๆ เป็นเรื่องเล็กน้อยไม่เป็นไร
คาอุปมาสติ
สติเสมือนเสาหลัก ปักแน่นในอารมณ์ คือ คนที่มีสติเมื่อจะ
ไตร่ตรองคิดในเรื่องใด ใจก็ปักแน่นคิดไตร่ตรองในเรื่องนั้นอย่างละเอียดถี่
ถ้วน ไม่คิด ฟุ้งซ่านไปเรื่องอื่น คิดไตร่ตรองจนเข้าใจแจ่มแจ้ง ทะลุปรุโปร่ง
ท่านจึงเปรียบสติเสมือนเสาหลัก
สติเสมือนนายประตู คือ สติจะทาหน้าที่เสมือนนายประตู คอยเฝ้าดู
สิ่งต่างๆ ที่จะผ่านเข้ามา กระทบใจ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ตลอดจนเฝ้าดูถึง
อารมณ์ที่ใจคิด ถ้าสิ่งใดเกิดขึ้น สติก็จะใคร่ครวญทันที ว่าควรปล่อยให้ผ่าน
ไปหรือไม่ หรือควรหยุดไว้ก่อน ปรับปรุงแก้ไข ให้ดีเสียก่อน
สติเสมือนขุนคลัง เพราะคอยตรวจตราอยู่ทุกเมื่อ ว่าของที่ได้เข้ามา
และใช้ออกไปมีเท่าไร งบบุญงบบาปของเราเป็นอย่างไร ตรวจตราดูอย่าง
ละเอียดถี่ถ้วน ไม่ยอมให้ตัวเองเป็นหนี้บาป
สติเสมือนหางเสือ เพราะสติจะเป็นตัวควบคุมเส้นทางดาเนินชีวิต
ของเราให้มุ่งตรงไปสู่ความสาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้คอยระมัดระวัง
ไม่ให้เรือไปเกยตื้น ไม่ให้ตัวของเราไปทาในสิ่งที่ไม่ควร
ประโยชน์ของสติ
1.ควบคุมรักษาสภาพจิตให้อยู่ในภาวะที่เราต้องการ โดยการตรวจตรา
ความคิด เลือกรับสิ่งที่ต้องการกันสิ่งที่ไม่ต้องการออกไป ตรึงกระแสความคิดให้
เข้าที่ ทาให้จิตเป็นสมาธิได้ง่าย เช่น จะดูหนังสือก็สนใจคิดติดตามไปตลอด ไม่
ฟุ้งซ่าน ไม่คิดเรื่องอื่น จะทาสมาธิใจก็จรดนิ่ง สงบตั้งมั่น ละเอียดอ่อนไป
ตามลาดับ ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่วอกแวก เพราะฉะนั้น เมื่อใดมีสติ เมื่อนั้นมีสมาธิ
เมื่อใดมีสมาธิ เมื่อนั้นมีสติ เสมือน ความร้อนกับแสงสว่างที่มักจะไปคู่กัน
2.ทาให้ร่างกายและจิตใจอยู่ในสภาพเป็นตัวของตัวเอง ไม่เป็นทาสของ
อารมณ์ต่างๆ เช่น ความโกรธเคือง ความลุ่มหลงมัวเมา จึงมีความโปร่งเบา ผ่อน
คลาย เป็นสุขโดยสภาพของมันเอง พร้อมที่จะเผชิญความเป็นไปต่างๆ และ
จัดการกับสิ่งทั้งหลายที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้องเหมาะสม
3.ทาให้ความคิดและการรับรู้ขยายวงกว้างออกไปได้โดยไม่มีสิ้นสุด
เพราะไม่ถูกบีบคั้นด้วยกิเลสต่างๆ จึงทาให้ความคิดเป็นอิสระมีพลัง เพราะมีสติ
ควบคุม เสมือนเรือที่มีหางเสือควบคุมอย่างดี ย่อมสามารถ แล่นตรงไปในทิศทาง
ที่ต้องการได้โดยไม่วกวน
4.ทาให้การพิจารณาสืบค้นด้วยปัญญาดาเนินไปได้เต็มที่ เพราะมี
ความคิดที่เป็นระเบียบ และมีใจซึ่งมีพลังเข้มแข็ง จึงเป็นการเสริมสร้างปัญญาให้
บริบูรณ์
5.ชาระพฤติกรรมทุกอย่าง ทั้งกาย วาจา ใจ ให้บริสุทธิ์ เพราะมีสติจึงไม่
เผลอไปเกลือกกลั้วบาป อกุศลกรรม ทาให้พฤติกรรมต่างๆ เป็นไปด้วยปัญญา
หรือเหตุผลที่บริสุทธิ์
หลักการฝึกสติ
1.กาหนด คือ การเจริญสติอยู่กับปัจจุบัน ไม่คิดถึงอดีตหรือใฝ่ฝัน
ถึงอนาคต เปรียบเสมือนบุรุษผู้ถือหม้อน้ามันเดินมา มีบุรุษคนหนึ่งถือดาบ
เดินตามไปข้างหลัง โดยบอกว่าถ้าทาน้ามันจะตัดศีรษะให้ขาด บุรุษนั้นก็
ต้องคอยระมัดระวังไม่ให้น้ามันไหล มีสติจดจ่อไม่วอกแวก ฉะนั้น
2.จดจ่อ คือ การจับจ้องอารมณ์อย่างแนบแน่น ไม่กาหนดรู้อย่างผิว
เผินเหมือนการเล็งธนูแล้วยิ่งให้พุ่งเข้าไปสู่เป้าด้วยกาลังแรงจนธนูปักตรึง
อยู่กับที่
3.ต่อเนื่อง คือ การมีสติไม่ขาดช่วงในทุกขณะ เหมือนการหมุน
อย่างต่อเนื่องของพัดลมที่ค่อยๆ มีกาลังแรงขึ้น
4.เท่าทัน คือ การกาหนดอารมณ์ทุกอย่างได้ทันท่วงทีในขณะ
ปัจจุบัน ไม่ปล่อยให้เผลอสติ ลืมกาหนดรู้และไม่ปล่อยให้จิตเผลอไผลเลื่อน
ลอยไป
สติกับการดาเนินชีวิต
การฝึกสติเป็นสิ่งที่เราควรฝึกให้มีในทุกการกระทาและในทุก
อิริยาบถ เพราะนอกจากจะทาให้เราสามารถทากิจต่างๆ ได้อย่างสาเร็จด้วยดี
แล้ว ยังเป็นการฝึกให้สติอยู่กับเนื้อกับตัวของเราด้วย พระพุทธเจ้า ได้ตรัส
ไว้ในมหาสติปัฏฐานสูตรว่า
“ เมื่อเดินอยู่ก็รู้ชัดว่า เราเดิน หรือเมื่อยืน ก็รู้ชัดว่า เรายืน หรือเมื่อ
นั่ง ก็รู้ชัดว่าเรานั่ง หรือเมื่อนอน ก็รู้ชัดว่า เรานอน อนึ่งเมื่อเธอนั้น เป็นผู้ตั้ง
กายไว้แล้วอย่างใดๆ ก็ย่อมรู้ชัดอาการกายนั้น อย่างนั้นๆ
เป็นผู้ทาสัมปชัญญะ (ความเป็นผู้รู้พร้อม) ในการก้าวไปข้างหน้า และถอย
กลับมาข้างหลัง ย่อมเป็นผู้ทาสัมปชัญญะ ในการแลไปข้างหน้า แลเหลียวไปข้างซ้ายข้าง
ขวา ย่อมเป็นผู้ทาสัมปชัญญะ ในการคู้อวัยวะเข้า เหยียดอวัยวะออก ย่อมเป็นผู้ทา
สัมปชัญญะในการทรงผ้าสังฆาฏิ บาตร และจีวร ย่อมเป็นผู้ทาสัมปชัญญะ ในการกิน ดื่ม
เคี้ยว และลิ้ม ย่อมเป็นผู้ทาสัมปชัญญะในการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ย่อมเป็นผู้ทา
สัมปชัญญะ ในการเดิน ยืน นั่ง หลับ ตื่น พูด และความเป็นผู้นิ่งอยู่”2)
สติที่เราฝึกในชีวิตประจาวันจะทาให้เราอยู่กับความคิดที่เป็นปัจจุบัน ไม่ตกอยู่
ในภาพของอดีตหรืออนาคตตลอดเวลา เพราะว่าโดยปกติเมื่อมนุษย์รับอารมณ์ที่มา
กระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจแล้ว ก็มักจะใส่ใจต่อทุกสิ่งที่มากระทบ และ
ตอบสนองด้วยอานาจของกิเลสที่ชอบใจหรือไม่ชอบใจ และส่งผล ให้เกิดเป็นความทุกข์
มีความทะยานอยาก เร่าร้อน วิตกกังวลเป็นต้น
สติกับการฝึกสมาธิ
สติที่เราฝึกได้อย่างต่อเนื่องในกิจกรรมต่างๆ จนเป็นมหาสติย่อม
เอื้อต่อการปฏิบัติสมาธิ นั่นคือ ใจของเราจะไม่ฟุ้งซ่าน และถ้าหากเราได้ฝึก
สติในการนึกถึงภาพนิมิต หรือการวางใจไว้ที่ศูนย์กลางกายบ่อยๆ ย่อมจะ
ทาให้ใจของเราหยุดนิ่งอย่างถูกส่วนได้อย่างรวดเร็วขึ้น
สติในการปฏิบัติสมาธิ นี้ เป็นการสังเกตดูสิ่งต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาใน
ความคิด โดยวางใจเป็นกลางๆ ไม่ปรุงแต่งภาพ ความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น
และสตินี้เอง ยังหมายถึง ความสามารถที่จะรักษาภาพนิมิต รักษาอารมณ์เบา
สบายให้ได้อย่างต่อเนื่อง
การเจริญสติ
การเจริญสติ คือ การกาหนดอิริยาบถให้ทันในปัจจุบัน และการ
รับรู้ความรู้สึกตามทวารต่างๆ อย่างสม่าเสมอตลอดเวลาให้มากที่สุด
ความรู้สึกของคนมีทางรู้อยู่ ๖ ทางคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ให้กาหนดรู้ไป
ตามจริงที่ใจรู้ พร้อมกับกิริยาเคลื่อนไหวอื่นๆ ทาอะไรก็ให้มีสติกาหนดรู้ให้
ทันปัจจุบันให้มากที่สุด
อิริยาบถใหญ่ คือ การยืน เดิน นั่ง นอน อิริยาบถย่อย คือ การ
เคลื่อนไหวกายทุกกิริยาท เช่น การรับประทาน ดื่ม เคี้ยว กลืน เหลียว ก้ม
เงย หยิบ ยก ตลอดจนการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ควรพยายามกาหนดให้ได้
มากทุกคน ไม่มีใครกาหนดได้ทุกกิริยา ย่อมมีการพลั้งเผลอก็ให้กาหนดตาม
ความเป็นจริง "เผลอหนอ"
การเดินจงกรม
การเดินจงกรม คือ การเดินเป็นเส้นตรงระยะไม่เกิน ๓ เมตร
กลับไปกลับมา ขณะที่เดินนั้น จะต้องมีสติกาหนดอิริยาบถให้ทันปัจจุบัน
อยู่ตลอดเวลา การกาหนดอิริยาบถให้ทันปัจจุบัน คือการพูดค่อยๆ หรือนึก
ในใจตามกิริยาอาการที่กาลังกระทาอยู่โดยพูด หรือนึกพร้อมกับกิริยา
อาการที่กระทาอยู่ (ไม่พูดก่อนหรือหลังการกระทา) และกาหนดใจให้มั่น
อยู่กับสิ่งที่กาลังกระทาตามสั่งนั้นเป็นช่วงๆ เรียกว่า ขณิกะสมาธิ
ท่าเริ่มเดิน
1. ยืนตัวตรง มือทั้งสองข้างปล่อยตามสบายแนบ ลาตัวเท้าชิดกัน
2. ใบหน้าและลาคอตั้งตรงทอดสายตาลงที่พื้นห่างจากปลายเท้า
ประมาณ ๓-๔ เมตร ไม่ก้มมองปลายเท้าและไม่มองระดับสูงไกลออกไป
เพราะจะทาให้จิตสงบช้า
3. ยกมือซ้ายมาวางที่หน้าท้องเหนือสะดือ แล้วยกมือขวาตามมาวาง
ทับมือซ้าย พร้อมกับเอาสติมาพิจารณากาหนดอิริยาบถการยกมือนั้น ใช้องค์
ภาวนา "ยก.....หนอ, มา.....หนอ, วาง.....หนอ"
4. กาหนดอิริยาบถยืน ใช้องค์กภาวนาว่า "ยืน.....หนอ" (๓ ครั้ง)
โดยตัวยืนอยู่เฉยๆ ใช้สติกาหนด รู้รูป ตั้งแต่ เส้นผมจรดปลายเท้า ลง-ขึ้น
สลับกันไป
5. กาหนดความรู้สึกอยากเดิน ใช้องค์ภาวนาว่า "อยาก.....เดิน.....
หนอ" (๓ ครั้ง) โดยตัวยังคงยืนอยู่เฉย มีสติ กาหนดรู้อยู่ที่ใจ เป็นการเพิ่ม
วิริยะ คือความเพียร
การเดินท่าที่ ๑
องค์ภาวนา คือ ขวา.....ย่าง.....หนอ, ซ้าย.....ย่าง.....หนอ
อธิบาย : พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ขวา" พร้อมกับทากิริยายกเฉพาะส้นเท้าขวาขึ้น
ช้าๆ ประมาณ ๒ นิ้ว จากพื้น ปลายเท้ายังคงแตะพื้น
พูดค่อยๆ กรือนึกในใจว่า "ย่าง" พร้อมกับทากิริยายกปลายเท้าขึ้นช้าๆ พร้อมกับทา
กิริยายกปลายเท้าขึ้นช้าๆ พร้อมกับก้าวเท้าไปข้างหน้า ให้ส้นเท้าขวาเลยนิ้วเท้าซ้ายไปประมาณ
๒ นิ้ว หยุดนิดหนึ่ง จึงกล่าวว่า "หนอ"
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "หนอ" พร้อมกับทากิริยาจรดปลายเท้าขวาลงก่อน ตามด้วย
ส้นเท้าขวาลงแนบพื้น
เมื่อจะก้าวเท้าซ้ายไป ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับเท้าขวา หลังจากเดินไปได้ประมาณ ๓-๔
เมตร จะต้องหยุด แล้วหันหลังกลับเพื่อเดินย้อนกลับทางเก่า โดยปฏิบัติตามวิธีการเดินก้าว
สุดท้ายเมื่อสุดทาง ตลอดเวลามีสติมั่นอยู่กับเท้า ที่เคลื่อนเป็นจังหวะตามปากสั่ง
ก้าวสุดท้ายเมื่อสุดทาง
เมื่อเดินไปได้ประมาณ ๓-๔ เมตร เท้าจะอยู่ในท่าเท้าซ้ายอยู่หน้าเท้าขวา หรือเท้าขวา
อยู่หน้าเท้าซ้าย ก็ตาม จะต้องเอาเท้าที่อยู่ข้างหลังไปเคียงกับเท้าที่อยู่ข้างหน้าองค์ภาวนา คือ "ซ้าย
.....หยุด.....หนอ" หรือ "ขวา.....หยุด.....หนอ" สมมุติว่า ขณะนั้นเท้าขวาอยู่ข้างหน้าเท้าซ้าย
จะต้องยกเท้าซ้ายไปเคียงกับเท้าขวาโดยใช้องค์ภาวนาว่า "ซ้าย.....หยุด.....หนอ"
อธิบาย : พุดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ซ้าย" พร้อมกับทากิริยายกเฉพาะส้นเท้าซ้ายขึ้น
ช้าๆ ประมาณ ๒ นิ้ว จากพื้น ปลายเท้า ยังคงแนบพื้นอยู่
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจ ว่า "หยุด" พร้อมกับทากิริยาก้าวเท้าซ้ายไปเคียงเท้าขวา แต่ยัง
ไม่ลงถูกพื้น หยุดนิดหนึ่ง
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "หนอ" พร้อมกับทากิริยาจรดปลายเท้าเท้าซ้ายลงตามด้วย
ส้นเท้าแนบพื้น
ท่ากลับตัว
กาหนดความรู้สึก "อยาก.....กลับ.....หนอ" (๓ ครั้ง) ที่ในใจค่อยๆ หมุนตัวกลับ โดยไปทางองค์
ภาวนา คือ "กลับ.....หนอ" (๘ ครั้ง)
อธิบาย : พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "กลับ" พร้อมกับกิริยายกปลายเท้าขวาขึ้นส้นเท้ากดพื้นไว้พร้อม
กับหมุนปลายเท้าไปทางขวา ประมาณ ๑ นิ้ว หรือ ๒๐ องศาเศษๆ
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "หนอ" พร้อมกับทากิริยาวางปลายเท้าขวาลงแนบพื้น
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจ ว่า "กลับ"พร้อมกับทากิริยายกเท้าซ้ายขึ้นทั้งเท้าพร้อมกับเคลื่อนเท้าซ้ายไป
เคียงกับเท้าขวาให้สูงเลยตาตุ่มขวาเล็กน้อย แต่ยังไม่วางลงถูกพื้น
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "หนอ" พร้อมกับทากิริยาวางเท้าซ้ายลงแนบพื้น
การกระทานี้นับเป็น ๑ ครั้ง ให้ผู้ปฏิบัติออกเสียงนับว่า "หนึ่ง" หลังคาว่า "หนอ" ในการกลับตัวสู่
ทิศทางเดิมนั้นจะต้องทาการกลับตัวดังกล่าว รวม ๘ ครั้งช้าๆ เมื่อหน้าหันสู่ทิศทางเดิมแล้วให้กาหนดว่า "ยืน.....
หนอ" ( ๓ ครั้ง) แล้วกาหนดว่า "อยาก.....เดิน.....หนอ" (๓ ครั้ง) แล้วจึงเดินต่อตามท่าเดินที่ต้องการ
การเดินท่าที่ ๒
องค์ภาวนา คือ "ยก.....หนอ, เหยียบ.....หนอ"
อธิบาย : พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า"ยก" พร้อมกับทากิริยายกเท้าขวา
ขึ้นทั้งเท้า พ้นพื้นประมาณ ๓ นิ้ว เรียบร้อยแล้วหยุดนิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า "หนอ"
เมื่อสิ้นเสียง "หนอ" ให้ก้าวเท้าขวานั้นต่อไปข้างหน้า เรียบร้อยแล้วค้างไว้นิด
หนึ่ง
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "เหยียบ" พร้อมกับทากิริยาจรดปลายเท้าขวา
ลงตาม ด้วยส้นเท้าลงแนบพื้น เรียบร้อยแล้วหยุดนิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า "หนอ"
เมื่อจะก้าวเท้าซ้ายไปให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับเท้าขวา
ก้าวสุดท้ายเมื่อสุดทาง องค์ภาวนา คือ "ยก.....หนอ, หยุด.....
หนอ"
อธิบาย : พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ยก" พร้อมกับทากิริยา ยกเท้าที่
อยู่ข้างหลังขึ้นทั้งเท้าเรียบร้อยแล้วจึงกล่าวคาว่า "หนอ" เมื่อสิ้นเสียง "หนอ"
ให้ก้าวเท้านั้นไปเคียงกับเท้าที่อยู่ข้างหน้าเรียบร้อยแล้วค้างไว้นิดหนึ่ง
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "หยุด" พร้อมกับทากิริยาจรดปลายเท้า
นั้นลง ตามด้วยส้นเท้าลงแนบพื้น เรียบร้อยแล้วหยุดนิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า
"หนอ"
การเดินท่าที่ ๓
องค์ภาวนา คือ "ยก.....หนอ, ย่าง.....หนอ, เหยียบ.....หนอ"
อธิบาย : พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า"ยก" พร้อมกับทากิริยา ยกเท้าขวาขึ้น
ทั้งเท้าพ้นพื้นประมาณ ๓ นิ้ว เรียบร้อยแล้วค้างไว้นิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า "หนอ"
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ย่าง" พร้อมกับทากิริยา ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า
พอสมควร เรียบร้อยแล้วค้างไว้นิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า "หนอ" (ในกรณีที่เป็นก้าว
สุดท้ายให้ก้าวเท้าที่อยู่ข้างหลังไปเคียงกับเท้าที่อยู่ข้างหน้า)
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "เหยียบ"พร้อมกับทากิริยาจรดปลายเท้าขวาลง
ตามด้วยส้นเท้าลงแนบพื้น เรียบร้อยแล้วหยุดนิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า "หนอ" (ใน
กรณีที่เป็นก้าวสุดท้ายให้นึกในใจว่า "หยุด" แทนคาว่า "เหยียบ") เมื่อจะก้าวเท้าซ้าย
ไปให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับเท้าขวา
ก้าวสุดท้ายเมื่อสุดทาง องค์ภาวนา คือ "ยก.....หนอ, ย่าง.....หนอ, หยุด.....
หนอ"
การเดินท่าที่ ๔
องค์ภาวนา คือ "ยกส้น.....หนอ, ยก.....หนอ, ย่าง.....หนอ,
เหยียบ.....หนอ"
อธิบาย : พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ยกส้น" พร้อมกับทากิริยายกเฉพาะส้นเท้า
ขวาขึ้น ปลายเท้ายังคงแตะพื้น เรียบร้อยแล้วค้างไว้นิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า "หนอ"
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ยก" พร้อมกับทากิริยา ยกปลายเท้าขวาตามส้นเท้าขึ้นมาจาก
พื้นประมาณ ๔ นิ้ว เรียบร้อยแล้วค้างไว้นิดหนึ่งจึงกล่าว คาว่า "หนอ"
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ย่าง" พร้อมกับทากิริยาเหมือนกับการย่างในการเดินท่าที่ ๓
(ในกรณีที่เป็นก้าวสุดท้ายให้ก้าวเท้าที่อยู่ข้างหลังไปเคียงกับเท้าที่อยู่ข้างหน้า)
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "เหยียบ" พร้อมกับทากิริยาเหมือนกับการเหยียบในการเดินท่า
ที่ ๓ (ในกรณีที่เป็นก้าวสุดท้าย ให้นึกในใจว่า "หยุด" แทนคาว่า "เหยียบ")
เมื่อจะก้าวเท้าซ้ายไปให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับเท้าขวา
ก้าวสุดท้ายเมื่อสุดทาง องค์ภาวนา คือ "ยกส้น.....หนอ, ยก.....หนอ, ย่าง.....
หนอ, ลง.....หนอ, ถูก.....หนอ"
การเดินท่าที่ ๕
องค์ภาวนา คือ "ยกส้น.....หนอ, ยก.....หนอ, ย่าง.....หนอ,
ลง.....หนอ, ถูก.....หนอ"
อธิบาย : พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ยกส้น" พร้อมกับทากิริยา เหมือนกับการ "ยกส้น" ในการเดินท่าที่
๔
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ยก" พร้อมกับทากิริยา เหมือนกับการ "ยก" ในการเดินท่าที่ ๔
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ย่าง" พร้อมกับทากิริยา เหมือนกับการ "ย่าง" ในการเดินท่าที่ ๔
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ลง" พร้อมกับทากิริยา ลดเท้าขวาลงพร้อมกันทั้งเท้าประมาณ ๒ นิ้ว
เรียบร้อยแล้วค้างไว้นิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า "หนอ"
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ถูก" พร้อมกับทากิริยาจรดปลายเท้าขวาลง ตามด้วยส้นเท้าลงวางแนบพื้น
เรียบร้อยแล้วหยุดนิดหนึ่งจึงกล่าวคาว่า "หนอ" (ในการที่เป็นก้าวสุดท้ายให้นึกในใจว่า "ถูก.....หนอ" เช่นกัน)
เมื่อจะก้าวเท้าซ้ายไปให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับเท้าขวา
ก้าวสุดท้ายเมื่อสุดทาง องค์ภาวนา คือ "ยกส้น.....หนอ, ยก.....หนอ, ย่าง.....หนอ, ลง.....หนอ, ถูก.....
หนอ"
การเดินท่าที่ ๖
องค์ภาวนา คือ "ยกส้น.....หนอ, ยก.....หนอ, ย่าง.....หนอ,
ลง.....หนอ, ถูก.....หนอ, กด.....หนอ"
• อธิบาย : พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ยกส้น" พร้อมกับทากิริยาเหมือนกับการ "ยกส้น" ในการเดินท่าที่ ๕
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ยก" พร้อมกับทากิริยาเหมือนกับการ "ยก" ในการเดินท่าที่ ๕
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ย่าง" พร้อมกับทากิริยาเหมือนกับการ "ย่าง" ในการเดินท่าที่ ๕
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ลง" พร้อมกับการกิริยาเหมือนกับการ "ลง" ในการเดินท่าที่ ๕
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "ถูก" พร้อมกับทากิริยาจรดเฉพาะปลายเท้าลงพื้น เรียบร้อยแล้วค้างไว้นิดหนึ่ง จึงกล่าว
คาว่า "หนอ"
พูดค่อยๆ หรือนึกในใจว่า "กด" พร้อมกับทากิริยา กดส้นเท้าขวาลงแนบพื้นเรียบร้อยแล้ว จึงกล่าวคาว่า "หนอ" (ใน
กรณีที่เป็นก้าวสุดท้ายให้นึกในใจว่า "ถูก.....หนอ, กด.....หนอ" เช่นกัน) เมื่อจะก้าวเท้าซ้ายไปให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับ
เท้าขวา
ก้าวสุดท้ายเมื่อสุดทาง องค์ภาวนา คือ "ยกส้น.....หนอ, ยก.....หนอ, ย่าง.....หนอ, ลง.....หนอ, ถูก.....หนอ
, กด.....หนอ"
การเดินท่าที่ ๗
องค์ภาวนาและท่าการเดินเหมือนกับการเดินท่าที่ ๖ ทุก
ประการ
แต่ให้ เติมคาว่า "คิดหนอ" หรือ "ไม่คิดหนอ" ลงข้างหลังคาว่า "หนอ" ทุกครั้ง โดยกาหนดรู้ด้วย
ตัวเองว่า ขณะนั้นตนกาลังคิดเรื่องอื่นหรือเปล่าหากคิดก็กาหนด "คิดหนอ" หากไม่ได้คิดก็กาหนดว่า "ไม่คิด
หนอ" เช่น
"ยกส้น.....หนอ" , "ไม่คิดหนอ" (ถ้าไม่คิด)
"ยก.....หนอ" , "คิดหนอ" (ถ้าคิด)
"ย่าง.....หนอ" , "ไม่คิดหนอ" (ถ้าไม่คิด)
"ลง.....หนอ" , "ไม่คิดหนอ" (ถ้าไม่คิด)
"ถูก.....หนอ" , "คิดหนอ" (ถ้าคิด)
"กด.....หนอ" , "ไม่คิดหนอ" (ถ้าไม่คิด)
ดังกล่าวแล้วว่า การเดินจงกรม คือการเดินเป็นเส้นตรงเที่ยวละไม่เกิน ๓ เมตร ไปกลับตามท่า
ต่างๆ โดยจะเลือกเดิน ท่าหนึ่งท่าใดก็ได้เป็นเวลาประมาณครึ่งถึงหนึ่งชั่วโมง
การนั่งสมาธิ
ก่อนฝึกสมาธิ
ควรอาบน้า ล้างหน้า ล้างมือ ล้างเท้าก่อน เพื่อให้ตัวรู้สึกสบายมาก
ที่สุด เมื่อร่างกายสงบ จิตใจจะสงบได้ง่ายขึ้น
หาสถานที่สงบ ไม่มีคนพลุกพล่านจอแจ อากาศถ่ายเท เย็นสบาย
เพื่อให้เข้าถึงสมาธิได้เร็วมากขึ้น
พยายามตัดความกังวลทุกอย่างออกไป เช่น ควรจัดการงานที่คั่งค้าง
อยู่ในเสร็จก่อนเริ่มทาสมาธิ เพื่อไม่ให้ห่วงหน้าพะวงหลัง
อย่าตั้งใจมากเกินไป ว่าจะต้องให้ได้ขั้นนั้น ขั้นนี้ เพราะจะยิ่งทาให้
เกิดความเคร่งเครียดมากขึ้น จิตใจจะพะวงไปแต่อนาคต ไม่สามารถควบคุม
จิตใจให้อยู่ณ ปัจจุบัน
ขณะฝึกสมาธิ ควรปฏิบัติตนดังนี้
1. กราบบูชาพระรัตนตรัย ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
บิดามารดา ครูบาอาจารย์เพื่อเป็นการเตรียมตัวเตรียมใจ
2.ควรนั่งทาสมาธิในท่าขัดสมาธิ นั่งขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซ้าย มือ
ขวาทับมือซ้าย นิ้วชี้ขวาจรดนิ้วหัวแม่มือซ้าย วางไว้บนตัก หลังตรง ศีรษะ
ตรง ไม่ควรนั่งพิง เพราะจะทาให้ง่วงได้ง่าย กรณีเป็นคนป่วย หรือคนที่ไม่
สามารถนั่งท่าขัดสมาธิได้ก็สามารถนั่งบนเก้าอี้แทนได้จากนั้นทอดตาลง
ต่า อย่าเกร็ง เพราะจะทาให้ร่างกายปวดเมื่อย แล้วค่อย ๆ หลับตาลง
3.ส่งจิตไปให้ทั่วร่างกาย ว่ามีกล้ามเนื้อส่วนใดเกร็งอยู่หรือไม่
แล้วค่อย ๆ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วนนั้น พยายามกาหนดลมหายใจเข้า
ออกให้ลึก ๆ มี "สติ" อยู่กับลมหายใจ ตรงจุดที่ลมกระทบปลายจมูก
4.เมื่อเริ่มฝึกสมาธิใหม่ ๆ ควรใช้เวลาแต่น้อยก่อน เช่น 5-15 นาที
จากนั้นเมื่อฝึกบ่อย ๆ แล้วจึงค่อยเพิ่มระยะเวลาขึ้นไปเรื่อย ๆ เพื่อให้ร่างกาย
และจิตใจค่อย ๆ ปรับตัวตาม หากรู้สึกปวดขา หรือเป็นเหน็บ ให้พยายาม
อดทนให้มากที่สุด หากทนไม่ไหวจึงค่อยขยับ แต่ควรขยับให้น้อยที่สุด
เพราะการขยับแต่ละครั้งจะทาให้จิตใจกวัดแกว่ง ทาให้สมาธิเคลื่อนได้แต่
ถ้าหากอดทนจนอาการปวด หรือเป็นเหน็บเกิดขึ้นเต็มที่แล้ว อาการเหล่านั้น
จะหายไปเอง แล้วจะเกิดความรู้สึกเบาสบายขึ้นมาแทนที่
5. หากเกิดเสียงดังขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นเสียงคนพูด เสียงสิ่งของ
กระทบกัน ให้ถือว่าไม่ได้ยินอะไร และอย่าไปใส่ใจกับมัน
6.หากเกิดอะไรขึ้นอย่าตกใจ และอย่ากลัว เพราะทั้งหมดเป็นอาการ
ของจิตที่เกิดขึ้น ให้ตั้งสติเอาไว้ในมั่นคง ทาจิตใจให้ปกติ หากเห็นภาพที่น่า
กลัวให้สวดแผ่เมตตาให้สิ่งเหล่านั้น หรือนึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เรายึดไว้เป็นที่
พึ่งทางใจ ถ้าภาพเหล่านั้นไม่หายไป ให้ตั้งสติเอาไว้หายใจยาว ๆ แล้วถอน
สมาธิออกมา เมื่อจิตใจมั่นคงเป็นปกติแล้ว จึงค่อยทาสมาธิใหม่อีกครั้ง โดย
ควรสวดมนต์ไหว้พระ อธิษฐานให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยคุ้มครองการปฏิบัติของ
เราด้วย
7.เมื่อจะออกจากสมาธิ ให้สังเกตดูว่า ใจของเราเป็นอย่างไร แล้วแผ่
เมตตาให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย อุทิศส่วนกุศลที่ได้จากการทาสมาธินั้นให้กับ
เจ้ากรรมนายเวร ผู้มีพระคุณของเรา แล้วหายใจยาว ๆ ลึก สัก 3 รอบ ก่อน
ค่อย ๆ ถอนสมาธิช้า ๆ ค่อย ๆ ลืมตาขึ้น
ประโยชน์จากการฝึกสมาธิ
1.ส่งผลให้จิตใจผู้ทาสมาธิผ่องใส สะอาด บริสุทธิ์ สงบ จึงช่วยให้
หลับสบายคลายกังวล ไม่ฝันร้าย
2.ช่วยพัฒนาให้มีบุคลิกภาพดีขึ้น กระปรี้กระเปร่า สง่าผ่าเผย มี
ความเชื่อมั่นในตัวเองมากขึ้น รู้สึกควบคุมอารมณ์ จิตใจได้ดีขึ้น เหมาะสม
กับกาละเทศะ
3.ผู้ฝึกสมาธิบ่อย ๆ จะมีความจาดีขึ้น มีการพินิจพิจารณาในเรื่อง
ต่าง ๆ รอบคอบมากขึ้น ทาให้เกิดปัญญาในการทาสิ่งใด ๆ ส่งผลให้
ประสิทธิภาพในการเล่าเรียน และการทางานดีขึ้น
4.ช่วยคลายเครียด และลดความเครียดที่จะเข้ามากระทบจิตใจได้
เมื่อเราไม่เครียด ร่างกายก็จะหลั่งสารทาให้เกิดความสุข ทาให้สุขภาพ
ร่างกายแข็งแรง เพราะมีภูมิต้านทานเชื้อโรค และยังช่วยชะลอความแก่ได้
ด้วย
5.ทาให้จิตใจอ่อนโยนขึ้น เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เกิดความประพฤติดีทั้ง
ทางกาย วาจา และจิตใจ
6.ระงับอารมณ์โมโห อารมณ์ร้ายต่าง ๆ ได้เพราะการฝึกสมาธิช่วย
ให้จิตสงบนิ่งมากขึ้น และเมื่อจิตสงบนิ่งแล้วจะมีพลังยับยั้งการกระทาทาง
กาย วาจา ใจได้
7.มีการศึกษาพบว่า ผู้ที่มีจิตเป็นสมาธิจะมีความดันอัตราการหายใจ
ลดลง หัวใจเต้นช้าลง คลื่นสมองช้าและเป็นระเบียบขึ้น การเผาผลาญ
อาหารในร่างกายลดลง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง ส่งผลให้มีสุขภาพดี
และช่วยบาบัดโรคได้โดยเฉพาะหากปฏิบัติร่วมกับการออกกาลังกาย
http://health.kapook.com/view17660.html
http://book.dou.us/doku.php?id=md204:2
http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=6979
โครงงานสติ

More Related Content

What's hot

สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-4page
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-4pageสไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-4page
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบsivapong klongpanich
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
Luangta mahabua
Luangta mahabuaLuangta mahabua
Luangta mahabuaMI
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2MI
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 

What's hot (19)

สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-4page
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-4pageสไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-4page
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-4page
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
 
Luangta mahabua
Luangta mahabuaLuangta mahabua
Luangta mahabua
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 

Similar to โครงงานสติ

2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...Padvee Academy
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมWannakan Kkap
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานbernfai_baifern
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมSirirat Channok
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1bernfai_baifern
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีKiat Chaloemkiat
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดโครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดPloy Purr
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 

Similar to โครงงานสติ (20)

2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
ลองของ
ลองของลองของ
ลองของ
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรม
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดโครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 

More from Pongpanote Wachirawongwarun (10)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เรื่องBlog
ความรู้เรื่องBlogความรู้เรื่องBlog
ความรู้เรื่องBlog
 
6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
ใบงานสำรวจตนเอง M45
ใบงานสำรวจตนเอง M45ใบงานสำรวจตนเอง M45
ใบงานสำรวจตนเอง M45
 

โครงงานสติ