SlideShare a Scribd company logo
การศึกษาเปรียบเทียบ
นางสาวปาณิสรา สิ งหพงษ์
นักศึกษาปริญญาโท
สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม

ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
อินโดนีเซีย (Indonesia)

ธงประจาชาติ
สี แดง : ความกล้ าหาญ
สี ขาว : ความบริสุทธิ์ยุตธรรม
ิ

ตราสั ญลักษณ์
"ตราพญาครุฑปัญจศีล"
ที่ต้ัง
เป็ นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ระหว่างมหาสมุทรแปซิ ฟิกกับ
มหาสมุทรอินเดีย และระหว่างทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย
 ทิศเหนือติดกับรัฐซาราวัค และซาบาห์ของมาเลเซี ย
 ทิศตะวันออกติดกับปาปัวนิวกินี
 ทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือจรดน่านน้ าของสหพันธรัฐมาเลเซี ย โดยมีช่องแคบ
มะละกา เป็ นพรมแดนกั้นระหว่างเกาะสุ มาตราของอินโดนีเซี ยกับ
ประเทศมาเลเซี ย
ข้ อมูลพืนฐาน
้
สภาพอากาศ : มี 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง และฤดูฝน
ประชากร : ประมาณ 240 ล้านคน
ศาสนา : ประชากรส่ วนใหญ่ประมาณร้อยละ 88 นับถือศาสนาอิสลาม
ภาษาราชการ : ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia)
เมืองหลวง : จาการ์ตา
ระบบการเมืองการปกครอง : แบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข
และหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร
เขตการปกครอง : แบ่งการปกครองเป็ น 30 จังหวัด
และเขตการปกครองพิเศษ 3 เขต
สกุลเงิน : รู เปี ยห์ (Rupiah)
การศึกษา : ร้อยละ 90 ของประชากรสามารถอ่านออกเขียนได้
ลักษณะภูมประเทศและภูมอากาศ
ิ
ิ
ภูมประเทศ
ิ
อินโดนีเซียมีรูปร่ างคล้ายพระจันทร์หงายครึ่ ง
ซีก มีพ้ืนที่ 5,193,250 ตารางกิโลเมตร หรื อใหญ่
กว่าประเทศไทยประมาณ 10 เท่า เป็ นพื้นดิน
2,027,087 ตารางกิโลเมตร และทะเล 3,166,163
ตารางกิโลเมตร อินโดนีเซียประกอบด้วยเกาะ
ใหญ่นอยกว่า 17,500 เกาะ แต่มีประชากรอาศัย
้
อยูเ่ พียง 3,000 เกาะ
ภูมอากาศ
ิ
1. ฤดูแล้ง ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม
2. ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน
โครงสร้ างทางสั งคมและวัฒนธรรม
ประชากรอินโดนีเซี ยประกอบด้วย หลาย
เชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ และสภาพที่ต้ งทาง
ั
ภูมิศาสตร์ของประเทศ มีลกษณะแยกกัน
ั
เป็ นหมู่เกาะมากมาย และมีอาณาเขตกว้าง
ใหญ่ไพศาล ประชากรติดต่อกันได้ยาก ทา
ให้แต่ละภูมิภาคมีรูปแบบวัฒนธรรมของ
ตนเอง จึงปรากฏลักษณะวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี และภาษาที่ใช้
ผิดแผก แตกต่างกันไป
การเมืองการปกครอง
อินโดนีเซียปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็ นผูนาของประเทศ
้
และมีการปกครองตนเองในบางพื้นที่ แบ่งเขตการปกครองเป็ น 33 จังหวัด และเขต
การปกครองพิเศษใน 3 เมือง คือ กรุ งจาการ์ตา เมืองยอร์กยาการ์ตา และอาเจะห์
ฝ่ ายบริ หารรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2488 ได้กาหนดให้ใช้หลักปัญจศีล เป็ นหลักในการ
ปกครองประเทศ ประกอบด้วย
1) การนับถือพระเจ้าองค์เดียว
2) การเป็ นมนุษย์ที่เจริ ญและคงไว้ซ่ ึ งความเที่ยงธรรม
3) ความเป็ นเอกภาพของอินโดนีเซีย
4) ประชาธิปไตยแบบมีผแทน
ู้
5) ความยุติธรรมในสังคมชาวอินโดนีเซียทั้งมวล
เศรษฐกิจ
อินโดนีเซียเป็ นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ดวย
้
ทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบด้วย น้ ามัน
ปิ โตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิ น ดีบุก
ทองแดง นิเกิล บ๊อกไซด์ ทอง เงิน และแร่
เหล็ก และมีทรัพยากรป่ าไม้ถึงร้อยละ 59
ของพื้นที่บนพื้นดินทั้งหมด ทรัพยากร
ประมงจานวนมาก ซึ่ งยังไม่ได้รับการสารวจ
ผลผลิตทางการเกษตรที่สาคัญ ได้แก่
มะพร้าว น้ ามันปาล์ม เครื่ องเทศ กาแฟ
โกโก้ ยางพารา
ระบบการศึกษา
การศึกษาจัดเป็ นระบบ 6-3-3 แบ่ งเป็ น
3 ระดับ คือ
1. การศึกษาระดับขั้นพืนฐาน
้
 ระดับประถมศึกษา (6 ปี )
 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (3 ปี )
 โรงเรี ยนการศึกษาพิเศษ
2. การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา
 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
และสายอาชีวศึกษา(3 ปี )
3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา
รู ปแบบการจัดการศึกษา
การศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ
การศึกษาทัวไป
่
อาชีวศึกษา
การศึกษาพิเศษ
การบริ การศึกษาเฉพาะทาง
ศาสนศึกษา
วิชาการศึกษา
การศึกษาระดับวิชาชีพ
รู ปแบบการจัดการศึกษา
1) การศึกษาทัวไป
่
จัดการศึกษาเพื่อมุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยน
มีความรู ้ทวๆ ไป และพัฒนาทักษะ
ั่
ในด้านต่างๆ ของผูเ้ รี ยนไปจนตลอด
หลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ

2) อาชีวศึกษา
เป็ นการจัดการศึกษาเพื่อเตรี ยมผูเ้ รี ยนให้
มีความรู้ความสามารถ มีทกษะในการ
ั
ประกอบอาชีพ มวลประสบการณ์ต่างๆ
ในหลักสูตรจัดขึ้นอย่างสอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาดแรงงาน
รู ปแบบการจัดการศึกษา
3) การศึกษาพิเศษ
เป็ นการจัดการศึกษาสาหรับผูพิการ โดยมี
้
หลักการจัดการศึกษาคือให้ผเู ้ รี ยนมีทกษะ
ั
ความสามารถทางด้านร่ างกายและจิตใจที่
ช่วยเหลือตัวเองได้ และสามารถดารงชีวต
ิ
่
อยูได้ในสังคมอย่างมีความสุ ข

4) การบริการศึกษาเฉพาะทาง
เป็ นการจัดการบริ การการศึกษาที่มีเป้ าหมาย
เพื่อเพิมความสามารถเฉพาะงานหรื องาน
่
เฉพาะอย่าง เพื่อให้บุคคลสามารถทางานใน
สานักงาน หรื อการเตรี ยมเป็ นเจ้าหน้าที่ท้ ง
ั
ส่ วนงานภาครัฐ และภาคเอกชน
รู ปแบบการจัดการศึกษา
5) ศาสนศึกษา
เป็ นการจัดการศึกษาที่เตรี ยมผูเ้ รี ยนให้มี
ความรู ้สึกเกี่ยวกับศาสนาและวิชาอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง และสามารถแสดงบทบาทของ
ผูมีความรู ้ดานศาสนาเป็ นอย่างดี
้
้

6) วิชาการศึกษา
เป็ นการจัดการศึกษาที่มีเป้ าหมายมุ่งเน้นให้
ผูเ้ รี ยนมีความสามารถด้านวิทยาศาสตร์

7) การศึกษาระดับวิชาชีพ
เป็ นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถระดับมืออาชีพ ที่มี
ความสามารถเชื่อมโยงความรู ้และทักษะเข้าด้วยกัน และปฏิบติงานได้อย่างมืออาชีพ
ั
ในวิชาชีพชั้นสู ง
หลักสู ตรการศึกษา
หลักสูตรการเรี ยนการสอนการศึกษาขันพืนฐาน
้ ้
เนื้อหาวิชาแกนของการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกหลักสูตร ประกอบด้วย เนื้อหาที่
เกี่ยวข้องกับวิชาปั ญจศีล วิชาศาสนา วิชาพลเมือง วิชาภาษาอินโดนีเซีย วิชา
การอ่านและการเขียนวิชาคณิ ตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเบื้องต้น
วิชาภูมิศาสตร์ วิชาประวัติศาสตร์ชาติและประวัติศาสตร์โลก วิชาหัตถกรรมและ
ศิลปะ วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพและสุ ขศึกษา วิชาวาดเขียน วิชาภาษาอังกฤษ
และวิชาท้องถิ่น
หลักสู ตรการศึกษา
การอาชีวศึกษา
ในฐานะการศึกษาระดับเตรี ยมอุดมศึกษา เป็ นการศึกษาสายอาชีวศึกษา
1)การเกษตรกรรม และการป่ าไม้
2)เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม
3)ธุรกิจ และการจัดการ
4)สวัสดิการสังคม
5)การท่องเที่ยว
6)ศิลปะ และหัตถกรรม
หลักสู ตรการศึกษา
การศึกษาระดับเตรี ยมอดมศึกษา
ุ
เน้นการขยายความรู้ การพัฒนาทักษะ
และการเตรี ยม นักเรี ยนสาหรับศึกษาขั้นสู ง
หรื อมีความสามารถในการประกอบอาชีพ
และมีทศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
ั
หลักสู ตรการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
การศึกษาขั้นสู งในสายวิชาการมีวตถุประสงค์หลัก
ั
เพื่อสร้างความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาการ เทคโนโลยี
และการวิจยการศึกษาทางสายอาชีพมุ่งพัฒนา
ั
ความสามารถในเชิงปฏิบติการ
ั
1) ระดับปริ ญญาตรี 4 ปี
2) ระดับปริ ญญาโท 2 ปี
3) ระดับปริ ญญาเอก 3 ปี
นโยบายด้ านการศึกษา

การประกาศแผนปฏิบติการแห่งชาติ
ั
ว่าด้วยนโยบาย “Education for All”
ใน ค.ศ. 2002
โดยมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
และประชาชนทุกคน
องไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ
ระบบบริหารการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรม
รับผิดชอบ
• สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา
• การศึกษามัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา
• สื่ อการศึกษาและวัฒนธรรม
• บริ การห้องสมุด
• หลักสูตรพิเศษ
• การฝึ กหัดครู

การศึกษาระดับประถมศึกษาเป็ นการบริหาร
และการจัดการส่ วนท้ องถิน ในระดับหมู่บ้าน
่
เมือง และจังหวัด

โรงเรี ยนมัธยมแห่ งหนึ่งในกรุ งจาการ์ ตา
ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ ด้านการศึกษาสาหรับปี 2010-2014
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาความเป็ นมืออาชีพ
ของบุคลากรการศึกษา และการขยายสิ่ งอานวย
ความสะดวกต่างๆ ในด้านการศึกษา
• การปรับปรุ งคุณภาพครู และการพัฒนา
คุณวุฒิครู
• การพัฒนาสถาบันการศึกษาสาหรับบุคลากร
การศึกษาและผูสาเร็ จการศึกษา
้
• การเสริ มสร้างศักยภาพผูบริ หารโรงเรี ยน
้
และที่ปรึ กษาโรงเรี ยน
งบประมาณด้ านการศึกษา
รัฐบาลอินโดนีเซี ยได้เน้นหนักทางการศึกษาว่าเป็ นปั จจัยสาคัญในการพัฒนา
ั
สังคมและเศรษฐกิจ โดยจัดสรรงบประมาณของชาติให้กบการศึกษาเป็ น
ลาดับที่ 1 โดย
90 % จัดสรรให้ กบการศึกษาในระบบ
ั
10 % จัดสรรให้ กบการศึกษานอกระบบ
ั
ความสั มพันธ์ ด้านการศึกษากับสมาคมอาเซียน
ความร่ วมมือในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซี ยน การปรับปรุ ง
ในเชิงปริ มาณ โดยการขยายโอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพทางการ
่
ศึกษา ทาให้ภมิภาคเอเซี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ อยูร่วมกันในสังคมที่เอื้ออาทร
ู
่
ประชากรมีสภาพความเป็ นอยูที่ดี ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมันคง
่
ทางสังคม (social security) โดยมียทธศาสตร์ที่เป็ นจุดเด่นร่ วม คือ
ุ
1) Education for All
2) Community-Based Education
3) e-Education/ ICT
4) การศึกษาเอกชนในการกากับควบคุม
ของรัฐ
5) การศึกษานานาชาติ
ความสั มพันธ์ ด้านการศึกษากับสมาคมอาเซียน

ASEAN
Community
ความร่ วมมือด้ านการศึกษาในภูมภาค
ิ
โครงการภายใต้ การจัดการศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส
1. การจัดการศึกษาเพื่อเตรี ยมความพร้อมในสถานการณ์ภยพิบติธรรมชาติ
ั ั
และสภาวการณ์ฉุกเฉิ นต่างๆ ดาเนินการร่ วมกันระหว่างอินโดนีเซี ย
และฟิ ลิปปิ นส์
่
2. การจัดการศึกษาสาหรับเด็กที่ไร้ที่อยูและไม่มีสญชาติ
ั
ปัจจัยความสาเร็จของการศึกษา
ความพยายามขยายโอกาสทางการศึกษาให้ กบประชาชน
ั
ทุกกลุ่ม หรือ “Education for All” รัฐบาลกาหนดนโยบาย
และแนวทางการดาเนินงาน
 ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดกิจกรรมเพื่อขจัดการไม่รู้หนังสื อโดยใช้วธี
ิ

จัดการศึกษาต่อเนื่องให้เวลาผูเ้ รี ยนได้พฒนาความสามารถในการ
ั
เรี ยนการศึกษาแบบเบ็ดเสร็ จขั้นพื้นฐาน
 กระบวนการเรี ยนรู ้เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ยึดความต้องการ
สภาพปั ญหาและศักยภาพของผูเ้ รี ยนและชุมชนเป็ นหลัก
 ปรับเปลี่ยนวิธีการบริ หารจัดการจากส่ วนกลางเป็ นหลักให้
องค์กรการศึกษาชุมชนเป็ นผูบริ หารจัดการหากลุ่มเป้ าหมาย
้
เปรียบเทียบกับการศึกษาไทย
ประเทศไทย
ระบบการศึกษา : 6-3-3
รู ปแบบการจัดการศึกษา
1) การศึกษาในระบบ
2) การศึกษานอกระบบ
3) การศึกษาตามอัธยาศัย

ประเทศอินโดนีเซีย
ระบบการศึกษา : 6-3-3
รู ปแบบการจัดการศึกษา
1) การศึกษาในระบบ
2) การศึกษานอกระบบ
เปรียบเทียบกับการศึกษาไทย (ต่ อ)
ประเทศไทย

ประเทศอินโดนีเซีย

การศึกษาในระบบ

การศึกษาในระบบ

1. การศึกษาขั้นพืนฐาน (ภาคบังคับ 9 ปี )
้
1)ระดับก่อนประถมศึกษา (2 ปี )
2)ระดับประถมศึกษา (6 ปี )
3)ระดับมัธยมศึกษา
- ตอนต้น (3 ปี )
- ตอนปลาย (3 ปี ) (สามัญ,อาชีวะ)
2. การศึกษาระดับอุดมศึกษา

1. การศึกษาระดับขั้นพืนฐาน (ภาคบังคับ 9 ปี )
้
 ระดับก่อนประถมศึกษา (2 ปี )
 ระดับประถมศึกษา (6 ปี )
 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (3 ปี )
2. การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา (3 ปี )
 ตอนปลาย / สายอาชีวศึกษา
3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา
เปรียบเทียบกับการศึกษาไทย (ต่ อ)
ประเทศไทย

ประเทศอินโดนีเซีย

หน่ วยงานที่รับผิดชอบการจัดการศึกษา
 กระทรวงศึกษาธิ การ มี 4 องค์กรหลัก
- สภาการศึกษา
- คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- คณะกรรมการอาชีวศึกษา
- คณะกรรมการอุดมศึกษา

หน่ วยงานที่รับผิดชอบการจัดการศึกษา
 กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรม
 กระทรวงพัฒนากาลังคน
 สถาบันการบริ หารแห่ งชาติ
 กระทรวงศาสนา
 กระทรวงมหาดไทย
 กระทวงสาธารณสุ ข
 กระทรวงเกษตร
 กระทรวงการคลัง
การจัดอันดับของ IMD ปี 2553
(International Institute for Management Development)

ประเทศไทย

 อันดับที่ 47
 การเข้าเรี ยนระดับมัธยมศึกษา

สุ ทธิ 47
 การไม่รู้หนังสื อของผูใหญ่ 44
้
 อัตราส่ วนนักเรี ยนต่อครู ระดับ
ประถมศึกษา 39
 อัตราส่ วนนักเรี ยนต่อครู ระดับ
มัธยมศึกษา 53
 ผลสัมฤทธิ์ ของการอุดมศึกษา 45

ประเทศอินโดนีเซีย

 อันดับที่ 55
 การเข้าเรี ยนระดับมัธยมศึกษา

สุ ทธิ 55
 การไม่รู้หนังสื อของผูใหญ่ 52
้
 อัตราส่ วนนักเรี ยนต่อครู
ระดับประถมศึกษา 46
 อัตราส่ วนนักเรี ยนต่อครู ระดับ
มัธยมศึกษา 22
 ผลสัมฤทธิ์ ของการอุดมศึกษา 53
การจัดอันดับของ IMD ปี 2553
(International Institute for Management Development)

ประเทศไทย
 ความสามารถในการใช้

ภาษาอังกฤษ –TOEFL 54
 การตอบสนองความสามารถในการ
แข่งขันของระบบการศึกษา 32
 การตอบสนองความสามารถในการ
แข่งขันระดับมหาวิทยาลัย 31
 งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา
ต่อจีดีพี 35

ประเทศอินโดนีเซีย
 ความสามารถในการใช้ภาษา

อังกฤษ –TOEFL 45
 การตอบสนองความสามารถในการ
แข่งขันของระบบการศึกษา 36
 การตอบสนองความสามารถในการ
แข่งขันระดับมหาวิทยาลัย 39
 งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา
ต่อจีดีพี 58
จบการนาเสนอ
สวัสดีค่ะ

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
ธนกร ทองแก้ว
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Thanit Lawyer
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นเปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
Kingkarn Saowalak
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
Beerza Kub
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
Wichai Likitponrak
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 

What's hot (20)

วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นเปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 

Similar to การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย

จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)Muhammadrusdee Almaarify
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่  2จุดเน้นที่  2
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
งานนำเสนอ1 ทดลอง
งานนำเสนอ1 ทดลองงานนำเสนอ1 ทดลอง
งานนำเสนอ1 ทดลองThaveewat Ingrad
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์jeabjeabloei
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
อับดลรอศักดิ์ มณีโส๊ะ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
Id plan
Id planId plan
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์Krusupharat
 
นโยบาย สพฐ 2556
นโยบาย สพฐ 2556นโยบาย สพฐ 2556
นโยบาย สพฐ 2556
Duangnapa Inyayot
 
จุดเน้นที่ 2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
จุดเน้นที่  2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ  จุดเน้นที่  2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
จุดเน้นที่ 2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 

Similar to การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย (20)

Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่  2จุดเน้นที่  2
จุดเน้นที่ 2
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
งานนำเสนอ1 ทดลอง
งานนำเสนอ1 ทดลองงานนำเสนอ1 ทดลอง
งานนำเสนอ1 ทดลอง
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
นโยบาย สพฐ 2556
นโยบาย สพฐ 2556นโยบาย สพฐ 2556
นโยบาย สพฐ 2556
 
จุดเน้นที่ 2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
จุดเน้นที่  2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ  จุดเน้นที่  2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
จุดเน้นที่ 2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
 

การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย