SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
นโยบายและกลยุทธการพัฒนาการศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556
ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนองคกรหลักขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา
ขั้นพื้นฐานของประเทศไทยใหไดมาตรฐานสากล และสูงเทียบเทาคาเฉลี่ยของโลก ภายในป 2563
รวมทั้งลดชองวางของโอกาสและคุณภาพการศึกษา
พันธกิจ
พัฒนา สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาใหประชากรวัยเรียนทุกคนไดรับการศึกษา
อยางมีคุณภาพ โดยเนนการพัฒนาผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อใหผูเรียนมีความรู มีคุณธรรมจริยธรรม
มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสูคุณภาพระดับสากล
คานิยมองคการ
องคกรที่มีชีวิต พรอมจิตเอื้ออาทร มีอาภรณคือความขยัน ใจยึดมั่นหลักยุติธรรม
เปาประสงค
1. ผูเรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสูความเปนเลิศ
2. ประชากรวัยเรียนทุกคนไดรับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแตอนุบาลจนจบการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน อยางมีคุณภาพทั่วถึง และเสมอภาค
3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ
4. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษามีความเขมแข็งตามหลักธรรมาภิบาลและ
เปนกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสูคุณภาพระดับมาตรฐานสากล
5. การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ไดรับการพัฒนาคุณภาพครู
และบุคลากรมีความปลอดภัยและมั่นคง
กลยุทธ
จากวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกําหนด
กลยุทธ ปงบประมาณ 2556 จํานวน 6 กลยุทธ ดังตอไปนี้
กลยุทธที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและสงเสริม
ความสามารถดานเทคโนโลยีเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู (Raising the bar)
กลยุทธที่ 2 ปลูกฝงคุณธรรม ความสํานึกในความเปนชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง (Moral and Ethics)
กลยุทธที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึงและลดความเหลื่อมล้ํา ผูเรียนไดรับโอกาส
ในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ (Filling the gap)
กลยุทธที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ใหสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู
อยางมีประสิทธิภาพ (Teacher Enhancement)
กลยุทธที่ 5 พัฒนาการบริหารจัดการศึกษา ใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
เนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการสงเสริม สนับสนุนการศึกษา (Good Governance)
2
กลยุทธที่ 6 พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต
(Education for Peace and Harmony)
จุดเนน
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดจุดเนนการดําเนินการในปงบประมาณ
พ.ศ. 2556 ดังนี้
1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูหลักเพิ่มขึ้น โดยผลการทดสอบ
ระดับชาติ (O-NET) เพิ่มขึ้นอยางนอยรอยละ 3 (Student Achievement)
2. เด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการเตรียมความพรอมดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอยางมีคุณภาพ (EQ : Emotion Quotient)
3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทุกคนอานออก เขียนได คิดเลขเปน และนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ทุกคนอานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน
(Literacy , Numeracy & Reasoning Abilities)
4. นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความเปนไทย มีจิตสาธารณะ และอยูอยางพอเพียง
(Sufficiency & Public Mind)
5. นักเรียนที่มีความสามารถดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลปะศาสตร
ทุกคนไดรับการสงเสริมใหมีความเปนเลิศ (Excel to Excellence)
6. ประชากรวัยเรียนทุกคนมีโอกาสเขาถึงบริการทางการศึกษาดวยทางเลือกที่หลากหลาย
เพื่อลดอัตราเด็กตกหลน ออกกลางคัน สงเสริมการเรียนตอหรือประกอบอาชีพ (Alternative Access)
7. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน และสถานศึกษาทุกแหง ในเขตพัฒนา
พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ไดรับการพัฒนาอยางมีคุณภาพ สอดคลองกับอัตลักษณของตน
(Southern – Border Provinces)
8. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน
มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community)
. 9. สถานศึกษาทุกแหงไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ มีระบบประกันคุณภาพภายใน
ที่เขมแข็งและไดรับการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools)
10. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแหงมีคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา (Effective Service Areas)
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดแนวทางการพัฒนาที่สอดคลองกับ 2 ยุทธศาสตร
ของแผนบริหารราชการแผนดิน ดังนี้
ยุทธศาสตร : การสรางรากฐานการพัฒนาที่สมดุลสูสังคม
ยุทธศาสตร : การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิตและความเทาเทียมกันในสังคม
งบประมาณป พ.ศ. 2556 : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดไว
6 แผนงาน 9 โครงการ 6 ผลผลิต 1 กองทุน ดังนี้
แผนงาน
แผนงาน : ปองกันและปราบปรามการทุจริต
แผนงาน : แกไขปญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต
แผนงาน : ฟนฟูความสัมพันธและพัฒนาความรวมมือกับประเทศในภูมิภาค
แผนงาน : สนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอรพกพาเพื่อการศึกษา
แผนงาน : สนับสนุนการจัดการศึกษาตั้งแตปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แผนงาน : สรางและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึงและเปนธรรม
3
โครงการ
1. โครงการคืนครูใหนักเรียน
2. โครงการพัฒนาครูทั้งระบบเต็มตามศักยภาพ
3. โครงการสนับสนุนพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
4. โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสูมาตรฐาน
5. โครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
6. โครงการพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต
7. โครงการเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน
8. โครงการจัดการเรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรพกพา
9. โครงการสนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผลผลิต
ผลผลิตที่ 1 : ผูจบการศึกษากอนประถมศึกษา
ผลผลิตที่ 2 : ผูจบการศึกษาภาคบังคับ
ผลผลิตที่ 3 : ผูจบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย
ผลผลิตที่ 4 : เด็กพิการไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการพัฒนาสมรรถภาพ
ผลผลิตที่ 5 : เด็กดอยโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผลผลิตที่ 6 : เด็กผูมีความสามารถพิเศษไดรับการพัฒนาศักยภาพ
กองทุน
กองทุนสงเสริมและพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการ
โดยมีหนวยกํากับ ประสาน สงเสริมการจัดการศึกษาคือสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา จํานวน 183 เขต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จํานวน 42 เขต
และสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ซึ่งมีสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเปนหนวยปฏิบัติการในการจัดการ
ศึกษา เพื่อใหภารกิจดังกลาวสามารถตอบสนองสภาพปญหาและรองรับการขับเคลื่อนนโยบายของ
รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ
4
จุดเนน มาตรการ และตัวชี้วัดความสําเร็จ
กลยุทธที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและสงเสริมความสามารถ
ดานเทคโนโลยีเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู (Rais the bar)
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
1. เด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการเตรียม
ความพรอมดานรางกาย อารมณ สังคม
และสติปญญา ตามหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยอยางมีคุณภาพ
( EQ : Emotion Quotient)
- ยกระดับคุณภาพการจัดกิจกรรมเพื่อ
พัฒนาการเรียนการสอนปฐมวัย
- รอยละ 100 ของโรงเรียนจัดเตรียม
ความพรอมปฐมวัยอยางมีคุณภาพ
- รอยละ 100 ของนักเรียนที่จบ
การศึกษากอนประถมศึกษาตาม
กําหนดเวลาของหลักสูตร
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3
ทุกคนอานออก เขียนได คิดเลขเปน
และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6
ทุกคนอานคลอง เขียนคลอง คิดเลข
คลอง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน
(Literacy , Numeracy & Reasoning
Abilities)
- พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
ภาษาไทย และคณิตศาสตร
- รอยละ 100 ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 อานออก
เขียนได คิดเลขเปน
- รอยละ 100 ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ทุกคนอานคลอง
เขียนคลอง คิดเลขคลอง และมีทักษะ
การคิดขั้นพื้นฐาน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกคน
ใชเวลาอานหนังสือนอกเวลาเรียน
โดยเฉลี่ย อยางนอยวันละ 60 นาที
- เรงรัดพัฒนาการเรียนการสอนและ
สื่อการเรียนรูใหเปนไปตามเปาหมาย
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รอยละ 80 ของนักเรียนมีทักษะ
ในการแสวงหาความรูไดดวยตนเอง
รักการเรียนรู และพัฒนาตนเองอยาง
ตอเนื่อง
- รอยละ 80 ของนักเรียนมีความ
สามารถในการคิดวิเคราะห สังเคราะห
มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรค
ตามระดับการศึกษา
3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กลุมสาระการเรียนรูหลักเพิ่มขึ้น โดย
ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)
เพิ่มขึ้นอยางนอยรอยละ 3
(Student Achievement)
- ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 8 กลุม
สาระ โดยเนน 5 กลุมวิชาหลัก ไดแก
วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาไทย
สังคมศึกษา และภาษาตางประเทศ
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลัก
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากการ
ประเมินระดับชาติเพิ่มขึ้นรอยละ 3
5
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
4. นักเรียนมีความสามารถดาน
คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และศิลปะศาสตรทุกคน ไดรับการ
สงเสริมใหมีความเปนเลิศ
(Excel to Excellence)
- สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาใช
ระบบคอมพิวเตอร และสื่อ
อิเล็กทรอนิกสเพื่อจัดการเรียนการสอน
เพิ่มขึ้น
- รอยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป.1
ไดรับสนับสนุนคอมพิวเตอรพกพา
- รอยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป.1
ที่ไดรับสนับสนุนคอมพิวเตอรพกพา
ไดรับการพัฒนาศักยภาพ
- รอยละ 100 ของนักเรียนมีทักษะ
ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
- รอยละ 100 ของนักเรียนที่ใช
อินเทอรเน็ตเพื่อการเรียนรู
- อัตราสวนคอมพิวเตอรตอนักเรียน
1 : 10
- รอยละ 80 ของสื่อการเรียนรู
8 กลุมสาระที่มีคุณภาพทั้งเนื้อหาและ
รูปเลมใหสถานศึกษาเลือกใชอยาง
หลากหลาย
- สงเสริมการจัดการศึกษาใหกับผูที่มี
ความสามารถพิเศษใหไดรับการพัฒนา
ศักยภาพ
- นักเรียนของโรงเรียนจุฬาภรณ
ราชวิทยาลัยจํานวน 3,456 คน
ไดรับการพัฒนาความสามารถ
ดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
- รอยละ 80 ของนักเรียน มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร
- สถานศึกษา จํานวน 195 แหง ไดรับ
การสนับสนุนหองเรียนวิทยาศาสตร
5. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาทุกคน มีความพรอมสูประชาคม
อาเซียน มีภูมิคุมกันตอการปลี่ยนแปลง
ในสังคมพหุวัฒนธรรม
(ASEAN Community)
- พัฒนาศักยภาพผูเรียน ครู ผูบริหาร
และบุคลากรทางการศึกษาใหมีทักษะ
ภาษาที่สอง และมีความพรอมตอการ
เขาสูประชาคมอาเซียน
- รอยละ 100 ของโรงเรียน จัด
กิจกรรมเตรียมความพรอมเขาสู
ประชาคมอาเซียน
- สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแหง
ดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู
ประชาคมอาเซียน
- รอยละของโรงเรียนที่มีหลักสูตร
บูรณาการกิจกรรมการเรียนรูเขาสู
ประชาคมอาเซียน
- รอยละ 80 ของโรงเรียนตนแบบ
ประเภทตางๆ จัดการเรียนรูผานเกณฑ
มาตรฐาน
6
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
- พัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีภูมิคุมกัน
ตอการเปลี่ยนแปลงและระบบ
เศรษฐกิจ สังคมพหุวัฒนธรรม รองรับ
การเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน
- รอยละ 80 ของโรงเรียน จัดกิจกรรม
สรางความเขาใจในการเปลี่ยนแปลง
และสังคมพหุวัฒนธรรม
- รอยละ 60 ของนักเรียน สามารถใช
ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได
- รอยละ 60 ของโรงเรียนตนแบบ
สามารถสรางเครือขายในกลุมประเทศ
อาเซียนได
- พัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีทักษะชีวิต
ในการรับมือกับภัยพิบัติได
- รอยละ 100 ของโรงเรียนจัดกิจกรรม
รับมือภัยพิบัติที่เหมาะสมกับบริบทของ
พื้นที่
- สรางองคความรูเกี่ยวกับการปองกัน
ภัยพิบัติตามสภาพภูมิศาสตร
- รอยละ 100 ของนักเรียน สามารถ
เรียนรูและปรับตัวเขากับสถานการณ
กับภัยพิบัติ
- รอยละ 80 ของนักเรียนและบุคลากร
ไดรับการชวยเหลือในเบื้องตน
7
กลยุทธ 2 ปลูกฝงคุณธรรม ความสํานึกในความเปนชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง (Moral and Ethics)
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
1. นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความ
เปนไทย มีจิตสาธารณะ และอยูอยาง
พอเพียง
(Sufficiency & Public Mind)
- ปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงคตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
- สงเสริมจิตสํานึกความเปนไทยใน
สถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย การปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
- รอยละ 100 ของนักเรียนมี
คุณลักษณะอันพึงประสงคตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รอยละ 100 ของนักเรียน มีความ
สํานึกในความเปนไทย
- สงเสริมและพัฒนากระบวนการ
เรียนรูประวัติศาสตรชาติไทยสังคม
ศึกษา ประชาธิปไตย มีความเปน
พลเมืองไทยและพลโลก
- สงเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
ในสถานศึกษา
- รอยละ 100 ของนักเรียนไดเรียนรู
ประวัติศาสตรชาติไทย สังคมศึกษา
ประชาธิปไตย มีความเปนพลเมืองไทย
และพลโลก
- รอยละ 100 ของโรงเรียนจัดกิจกรรม
เสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม
- รอยละ 100 ของนักเรียนมีคุณธรรม
จริยธรรม (คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ
ไดแก ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย มีวินัย
สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ําใจ) และ
กตัญู
- รอยละ 100 ของนักเรียนประกอบ
กิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมที่เปน
ประโยชนตอผูอื่นและสังคมอยาง
สม่ําเสมอ
- สงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมและ
สิ่งแวดลอม
- โรงเรียน รอยละ 100 จัดกิจกรรม
สงเสริมความมีจิตสาธารณะ ความ
รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม
- สงเสริมการดํารงตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
- ขยายผลโรงเรียนตนแบบเศรษฐกิจ
พอเพียง
- รอยละ 100 ของโรงเรียนจัดการ
ศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
- รอยละ 80 ของโรงเรียนตนแบบ
เศรษฐกิจพอเพียงผานการประเมินตาม
เกณฑมาตรฐาน
8
กลยุทธที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึง และลดความเหลื่อมล้ํา ผูเรียนไดรับโอกาส
ในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ (Filling the gap)
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
1. ประชากรวัยเรียนทุกคนมีโอกาส
เขาถึงบริการทางการศึกษา ดวย
ทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อลดอัตรา
เด็กตกหลน ออกกลางคัน สงเสริมการ
เรียนตอหรือประกอบอาชีพ
(Alternative Access)
- เรงรัดใหประชากรวัยเรียนทุกคน
ไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รอยละของผูเรียนตอจํานวนประชากร
วัยเรียนไดรับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
เพิ่มขึ้นรอยละ 2
- รอยละ 100 ของผูจบการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ตามกําหนดเวลาของหลักสูตร
- สนับสนุนคาใชจายการจัดการศึกษา
ตั้งแตระดับอนุบาลจนจบการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
- รอยละ 100 ของผูเรียนไดรับการ
สนับสนุนคาใชจายทางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
- รอยละ 100 ของผูปกครองมีความพึง
พอใจที่ไดรับการบริการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
- เสริมสรางระบบดูแลชวยเหลือ
นักเรียน และความสัมพันธที่ดีระหวาง
ครูกับนักเรียน
- อัตราการออกกลางคันลดลง
- อัตราการเรียนตอของผูจบชั้น ม.3
สูงขึ้น
- จํานวนนักเรียนอายุต่ํากวา 15 ป
ที่ตั้งครรภลดลงรอยละ 100
- จํานวนคดีเด็กและเยาวชนที่ถูก
ดําเนินคดีโดยสถานพินิจและคุมครอง
เด็กและเยาวชน ลดลงรอยละ 100
- รอยละ 100 ของโรงเรียนที่จัดกิจกรรม
พัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสรางภูมิคุมกัน
ปญหาสังคมใหกับผูเรียน
- ปองกันและแกไขปญหายาเสพติด - นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอ
สารเสพติดลดลง รอยละ 100
- รอยละ100 ของนักเรียนที่ติด
สารเสพติดเขารับการบําบัด
- สงเสริมการจัดการศึกษาทางเลือก
โดยครอบครัว สถานประกอบการ
องคกรเอกชน
- รอยละ 100 ของผูจบการศึกษา
ทางเลือกตามกําหนดเวลาของหลักสูตร
- รอยละ 100 ของผูเรียน โดยการจัด
การศึกษา โดยครอบครัวและสถาน
ประกอบการ องคกรเอกชน จบการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน
- สงเสริมการจัดการศึกษาสําหรับ
ผูดอยโอกาส
- รอยละ 90 ของผูดอยโอกาส มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร
9
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
- สงเสริมการจัดการศึกษาสําหรับ
ผูพิการ
- ผูพิการ จํานวน 6,600 คน ไดรับการ
พัฒนาสมรรถภาพ
- รอยละ 65 ของผูพิการมีความพรอม
เขาเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รอยละ 80 ของผูพิการผานเกณฑการ
พัฒนาสมรรถภาพ ตามแผนการศึกษา
เฉพาะบุคคล
- รอยละ 65 ของผูพิการที่จบการศึกษา
ตามกําหนดเวลาของหลักสูตร
- รอยละ 80 ของผูพิการไดรับการ
พัฒนาสมรรถภาพตามกําหนดเวลา
10
กลยุทธที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ใหสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยาง
มีประสิทธิภาพ (Teacher Enhancement)
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
1. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาทุกคนมีความพรอมสูประชาคม
อาเซียน มีภูมิคุมกันตอการปลี่ยน
แปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม
(ASEAN Community)
- ประสานการวางแผนการผลิต
พัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาใหเปนระบบ มีปริมาณ
เพียงพอและมีคุณภาพ
- รอยละ 100 ของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาที่ผานการประเมินความเขมแข็ง
ดานการบริหารทรัพยากรบุคคลในระดับดี
- พัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาทั้งระบบใหสามารถ
ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
- รอยละ 80 ของความสําเร็จในการพัฒนา
ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ไดรับการ
พัฒนาตามศักยภาพและบริบทรอบตัว
ผูเรียน
- รอยละ 80 ของครู ไดรับการพัฒนาเปนครู
เกงมีคุณภาพและคุณธรรม
- รอยละ 100 ของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาที่พัฒนาครูดวยระบบ IT
- รอยละ 100 ของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาที่พัฒนาครูใหสามารถจัดการเรียน
การสอนดวยคอมพิวเตอรพกพาไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
- รอยละ 100 ของครู สามารถจัดการเรียน
การสอนดวยคอมพิวเตอรพกพาไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
- รอยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาไดรับการเตรียมความพรอมดานภาษา
ที่สอง เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน
- รอยละ 60 ของครูที่สามารถใช
ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได
- คืนครูใหแกผูเรียนโดยลดภาระ
งานอื่น ที่ไมจําเปนและจัดใหมี
บุคลากรสายสนับสนุนใหพอเพียง
เพื่อใหครูทําหนาที่พัฒนาผูเรียน
อยางเต็มที่
และมีโอกาสพัฒนาตนเองอยาง
ตอเนื่อง
- รอยละ 80 ของโรงเรียนที่ไดรับการ
สนับสนุนบุคลากร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สูงขึ้น
- ลดความขาดแคลนครูในภาพรวมได
รอยละ 30
11
กลยุทธที่ 5 พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล เนนการ
มีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา
(Good Governance)
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
1. สถานศึกษาทุกแหงไดรับการพัฒนา
อยางเต็มศักยภาพ มีระบบประกัน
คุณภาพภายในที่เขมแข็งและไดรับการ
รับรองจากการประเมิน
(Quality Schools)
- พัฒนาสงเสริมการดําเนินงานตาม
ระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาใหมีความเขมแข็งเพื่อ
รองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
- พัฒนาสถานศึกษาใหมีขนาดที่
เหมาะสมกับการบริหารจัดการ
- นิเทศ กํากับ ติดตาม ความกาวหนา
ของสถานศึกษา และใหความชวยเหลือ
เปนรายโรง
- รอยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบ
การประกันคุณภาพภายในที่เขมแข็ง
ครบองคประกอบตามกฎกระทรวงฯ
- รอยละ 100 ของสถานศึกษา
ที่เขารับการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบสามไดรับการรับรองคุณภาพ
- รอยละ 100 ของสถานศึกษาที่ไมผาน
การรับรองคุณภาพภายนอกไดรับการ
แกไขแทรกแซงเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
- รอยละ 50 ของสถานศึกษาที่ไดรับ
การพัฒนาใหมีขนาดที่เหมาะสมกับการ
บริหารจัดการ
- รอยละ 100 ของสถานศึกษาไดรับ
การนิเทศ กํากับ ติดตาม และชวยเหลือ
การดําเนินงานใหมีคุณภาพ
2. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแหง
มีคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา
(Effective Service Areas)
- พัฒนาการบริหารจัดการของ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใหมี
ประสิทธิภาพเปนไปตามมาตรฐาน
- รอยละ 100 ของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาที่ผานการประเมินคุณภาพ
ตามเกณฑมาตรฐานของสํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา
- รอยละ 100 ของผูรับบริการ มีความ
พึงพอใจในการสงเสริมการจัด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
12
กลยุทธที่ 6 พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต (Education for
Peace and Harmony)
จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
1. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาทุกคน และสถานศึกษาทุกแหง
ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต ไดรับการพัฒนาอยาง
มีคุณภาพสอดคลองกับอัตลักษณ
ของตน (Southern – Border
Provinces)
- จัดการสอนเสริมและเพิ่มโอกาสให
ผูเรียนไดรับการเรียนรูจากแหลงเรียนรู
ทั้งในและนอกพื้นที่
- รอยละ 80 ของนักเรียนลุมเปาหมาย
ในพื้นที่ชายแดนภาคใตไดรับการเพิ่ม
โอกาสใหผูเรียนไดรับการเรียนรูจาก
แหลงเรียนรูทั้งในและนอกพื้นที่
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักของ
นักเรียนกลุมเปาหมายในพื้นที่ชายแดน
ภาคใตเพิ่มขึ้นรอยละ 3
- สถานศึกษาทุกแหง ไดรับการพัฒนา
คุณภาพ
- จัดและสงเสริมการจัดการเรียน
การสอนสามัญควบคูอิสลามศึกษา
ในสถานศึกษาของรัฐ
- รอยละ 80 ของนักเรียน มีอัตราการ
เรียนตอในระดับมัธยมศึกษาตอนตน
ในโรงเรียนของรัฐไมต่ํากวาระดับเฉลี่ย
ของภาคใต
- จัดระบบสวัสดิการ และสวัสดิภาพครู
และบุคลากรทางการศึกษาโดยจัดระบบ
รักษาความปลอดภัยครูและสถานศึกษา
ตลอดจนจัดที่อยูอาศัยที่ปลอดภัย
ใหครูและบุคลากรทางการศึกษา
- รอยละ 90 ของครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา มีความพึงพอใจในระบบดูแลรักษา
ความปลอดภัย และการจัดสวัสดิการ

More Related Content

What's hot

เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา Sireetorn Buanak
 
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่Focus On
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองkittri
 
ผลการตรวจ 1 58
ผลการตรวจ 1 58ผลการตรวจ 1 58
ผลการตรวจ 1 58Sutichate Sroisuwan
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบChalermpon Dondee
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นรินทร์ แสนแก้ว
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559worapanthewaha
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองMiss.Yupawan Triratwitcha
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 

What's hot (20)

แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
 
ผลการตรวจ 1 58
ผลการตรวจ 1 58ผลการตรวจ 1 58
ผลการตรวจ 1 58
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
ชุดที่92
ชุดที่92ชุดที่92
ชุดที่92
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
สพฐ
สพฐสพฐ
สพฐ
 

Similar to นโยบาย สพฐ 2556

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56manus1999
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานdmathdanai
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูkrutang2151
 
คู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูคู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูPattama Poyangyuen
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูBannongjok Jittiboonsri
 

Similar to นโยบาย สพฐ 2556 (20)

W 2
W 2W 2
W 2
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
แบบสรุปโครงการ สอดคล้องกับกลยุทธ์
แบบสรุปโครงการ   สอดคล้องกับกลยุทธ์แบบสรุปโครงการ   สอดคล้องกับกลยุทธ์
แบบสรุปโครงการ สอดคล้องกับกลยุทธ์
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
คู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูคู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครู
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 

More from Duangnapa Inyayot

ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560Duangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ดโครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ดDuangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีดโครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีดDuangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์Duangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลกDuangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลกDuangnapa Inyayot
 
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนคู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนDuangnapa Inyayot
 
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครูคู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครูDuangnapa Inyayot
 
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559Duangnapa Inyayot
 
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558Duangnapa Inyayot
 
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด Duangnapa Inyayot
 
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาเกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาDuangnapa Inyayot
 
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59Duangnapa Inyayot
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558 Duangnapa Inyayot
 
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภาประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภาDuangnapa Inyayot
 
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยารายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาDuangnapa Inyayot
 
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558Duangnapa Inyayot
 
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.orgเกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.orgDuangnapa Inyayot
 
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .itการสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .itDuangnapa Inyayot
 
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for eduการใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for eduDuangnapa Inyayot
 

More from Duangnapa Inyayot (20)

ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ดโครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีดโครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
 
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนคู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
 
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครูคู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครู
 
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
 
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
 
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
 
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาเกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
 
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
 
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภาประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
 
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยารายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
 
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
 
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.orgเกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
 
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .itการสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .it
 
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for eduการใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
 

นโยบาย สพฐ 2556

  • 1. นโยบายและกลยุทธการพัฒนาการศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิสัยทัศน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนองคกรหลักขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา ขั้นพื้นฐานของประเทศไทยใหไดมาตรฐานสากล และสูงเทียบเทาคาเฉลี่ยของโลก ภายในป 2563 รวมทั้งลดชองวางของโอกาสและคุณภาพการศึกษา พันธกิจ พัฒนา สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาใหประชากรวัยเรียนทุกคนไดรับการศึกษา อยางมีคุณภาพ โดยเนนการพัฒนาผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อใหผูเรียนมีความรู มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสูคุณภาพระดับสากล คานิยมองคการ องคกรที่มีชีวิต พรอมจิตเอื้ออาทร มีอาภรณคือความขยัน ใจยึดมั่นหลักยุติธรรม เปาประสงค 1. ผูเรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสูความเปนเลิศ 2. ประชากรวัยเรียนทุกคนไดรับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแตอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพื้นฐาน อยางมีคุณภาพทั่วถึง และเสมอภาค 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ 4. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษามีความเขมแข็งตามหลักธรรมาภิบาลและ เปนกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสูคุณภาพระดับมาตรฐานสากล 5. การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ไดรับการพัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรมีความปลอดภัยและมั่นคง กลยุทธ จากวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกําหนด กลยุทธ ปงบประมาณ 2556 จํานวน 6 กลยุทธ ดังตอไปนี้ กลยุทธที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและสงเสริม ความสามารถดานเทคโนโลยีเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู (Raising the bar) กลยุทธที่ 2 ปลูกฝงคุณธรรม ความสํานึกในความเปนชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง (Moral and Ethics) กลยุทธที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึงและลดความเหลื่อมล้ํา ผูเรียนไดรับโอกาส ในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ (Filling the gap) กลยุทธที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ใหสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู อยางมีประสิทธิภาพ (Teacher Enhancement) กลยุทธที่ 5 พัฒนาการบริหารจัดการศึกษา ใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล เนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการสงเสริม สนับสนุนการศึกษา (Good Governance)
  • 2. 2 กลยุทธที่ 6 พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต (Education for Peace and Harmony) จุดเนน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดจุดเนนการดําเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ดังนี้ 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูหลักเพิ่มขึ้น โดยผลการทดสอบ ระดับชาติ (O-NET) เพิ่มขึ้นอยางนอยรอยละ 3 (Student Achievement) 2. เด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการเตรียมความพรอมดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอยางมีคุณภาพ (EQ : Emotion Quotient) 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทุกคนอานออก เขียนได คิดเลขเปน และนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ทุกคนอานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Literacy , Numeracy & Reasoning Abilities) 4. นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความเปนไทย มีจิตสาธารณะ และอยูอยางพอเพียง (Sufficiency & Public Mind) 5. นักเรียนที่มีความสามารถดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลปะศาสตร ทุกคนไดรับการสงเสริมใหมีความเปนเลิศ (Excel to Excellence) 6. ประชากรวัยเรียนทุกคนมีโอกาสเขาถึงบริการทางการศึกษาดวยทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อลดอัตราเด็กตกหลน ออกกลางคัน สงเสริมการเรียนตอหรือประกอบอาชีพ (Alternative Access) 7. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน และสถานศึกษาทุกแหง ในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ไดรับการพัฒนาอยางมีคุณภาพ สอดคลองกับอัตลักษณของตน (Southern – Border Provinces) 8. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community) . 9. สถานศึกษาทุกแหงไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ มีระบบประกันคุณภาพภายใน ที่เขมแข็งและไดรับการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools) 10. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแหงมีคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา (Effective Service Areas) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดแนวทางการพัฒนาที่สอดคลองกับ 2 ยุทธศาสตร ของแผนบริหารราชการแผนดิน ดังนี้ ยุทธศาสตร : การสรางรากฐานการพัฒนาที่สมดุลสูสังคม ยุทธศาสตร : การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิตและความเทาเทียมกันในสังคม งบประมาณป พ.ศ. 2556 : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดไว 6 แผนงาน 9 โครงการ 6 ผลผลิต 1 กองทุน ดังนี้ แผนงาน แผนงาน : ปองกันและปราบปรามการทุจริต แผนงาน : แกไขปญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต แผนงาน : ฟนฟูความสัมพันธและพัฒนาความรวมมือกับประเทศในภูมิภาค แผนงาน : สนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอรพกพาเพื่อการศึกษา แผนงาน : สนับสนุนการจัดการศึกษาตั้งแตปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนงาน : สรางและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึงและเปนธรรม
  • 3. 3 โครงการ 1. โครงการคืนครูใหนักเรียน 2. โครงการพัฒนาครูทั้งระบบเต็มตามศักยภาพ 3. โครงการสนับสนุนพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 4. โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสูมาตรฐาน 5. โครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา 6. โครงการพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต 7. โครงการเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน 8. โครงการจัดการเรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรพกพา 9. โครงการสนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลผลิต ผลผลิตที่ 1 : ผูจบการศึกษากอนประถมศึกษา ผลผลิตที่ 2 : ผูจบการศึกษาภาคบังคับ ผลผลิตที่ 3 : ผูจบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ผลผลิตที่ 4 : เด็กพิการไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการพัฒนาสมรรถภาพ ผลผลิตที่ 5 : เด็กดอยโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลผลิตที่ 6 : เด็กผูมีความสามารถพิเศษไดรับการพัฒนาศักยภาพ กองทุน กองทุนสงเสริมและพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการ โดยมีหนวยกํากับ ประสาน สงเสริมการจัดการศึกษาคือสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา จํานวน 183 เขต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จํานวน 42 เขต และสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ซึ่งมีสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเปนหนวยปฏิบัติการในการจัดการ ศึกษา เพื่อใหภารกิจดังกลาวสามารถตอบสนองสภาพปญหาและรองรับการขับเคลื่อนนโยบายของ รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ
  • 4. 4 จุดเนน มาตรการ และตัวชี้วัดความสําเร็จ กลยุทธที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและสงเสริมความสามารถ ดานเทคโนโลยีเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู (Rais the bar) จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. เด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการเตรียม ความพรอมดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา ตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยอยางมีคุณภาพ ( EQ : Emotion Quotient) - ยกระดับคุณภาพการจัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนาการเรียนการสอนปฐมวัย - รอยละ 100 ของโรงเรียนจัดเตรียม ความพรอมปฐมวัยอยางมีคุณภาพ - รอยละ 100 ของนักเรียนที่จบ การศึกษากอนประถมศึกษาตาม กําหนดเวลาของหลักสูตร 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทุกคนอานออก เขียนได คิดเลขเปน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ทุกคนอานคลอง เขียนคลอง คิดเลข คลอง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Literacy , Numeracy & Reasoning Abilities) - พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ภาษาไทย และคณิตศาสตร - รอยละ 100 ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 อานออก เขียนได คิดเลขเปน - รอยละ 100 ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ทุกคนอานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง และมีทักษะ การคิดขั้นพื้นฐาน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกคน ใชเวลาอานหนังสือนอกเวลาเรียน โดยเฉลี่ย อยางนอยวันละ 60 นาที - เรงรัดพัฒนาการเรียนการสอนและ สื่อการเรียนรูใหเปนไปตามเปาหมาย หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน - รอยละ 80 ของนักเรียนมีทักษะ ในการแสวงหาความรูไดดวยตนเอง รักการเรียนรู และพัฒนาตนเองอยาง ตอเนื่อง - รอยละ 80 ของนักเรียนมีความ สามารถในการคิดวิเคราะห สังเคราะห มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรค ตามระดับการศึกษา 3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูหลักเพิ่มขึ้น โดย ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) เพิ่มขึ้นอยางนอยรอยละ 3 (Student Achievement) - ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 8 กลุม สาระ โดยเนน 5 กลุมวิชาหลัก ไดแก วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาไทย สังคมศึกษา และภาษาตางประเทศ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลัก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากการ ประเมินระดับชาติเพิ่มขึ้นรอยละ 3
  • 5. 5 จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ 4. นักเรียนมีความสามารถดาน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลปะศาสตรทุกคน ไดรับการ สงเสริมใหมีความเปนเลิศ (Excel to Excellence) - สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาใช ระบบคอมพิวเตอร และสื่อ อิเล็กทรอนิกสเพื่อจัดการเรียนการสอน เพิ่มขึ้น - รอยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป.1 ไดรับสนับสนุนคอมพิวเตอรพกพา - รอยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป.1 ที่ไดรับสนับสนุนคอมพิวเตอรพกพา ไดรับการพัฒนาศักยภาพ - รอยละ 100 ของนักเรียนมีทักษะ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ - รอยละ 100 ของนักเรียนที่ใช อินเทอรเน็ตเพื่อการเรียนรู - อัตราสวนคอมพิวเตอรตอนักเรียน 1 : 10 - รอยละ 80 ของสื่อการเรียนรู 8 กลุมสาระที่มีคุณภาพทั้งเนื้อหาและ รูปเลมใหสถานศึกษาเลือกใชอยาง หลากหลาย - สงเสริมการจัดการศึกษาใหกับผูที่มี ความสามารถพิเศษใหไดรับการพัฒนา ศักยภาพ - นักเรียนของโรงเรียนจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจํานวน 3,456 คน ไดรับการพัฒนาความสามารถ ดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร - รอยละ 80 ของนักเรียน มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร - สถานศึกษา จํานวน 195 แหง ไดรับ การสนับสนุนหองเรียนวิทยาศาสตร 5. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาทุกคน มีความพรอมสูประชาคม อาเซียน มีภูมิคุมกันตอการปลี่ยนแปลง ในสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community) - พัฒนาศักยภาพผูเรียน ครู ผูบริหาร และบุคลากรทางการศึกษาใหมีทักษะ ภาษาที่สอง และมีความพรอมตอการ เขาสูประชาคมอาเซียน - รอยละ 100 ของโรงเรียน จัด กิจกรรมเตรียมความพรอมเขาสู ประชาคมอาเซียน - สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแหง ดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู ประชาคมอาเซียน - รอยละของโรงเรียนที่มีหลักสูตร บูรณาการกิจกรรมการเรียนรูเขาสู ประชาคมอาเซียน - รอยละ 80 ของโรงเรียนตนแบบ ประเภทตางๆ จัดการเรียนรูผานเกณฑ มาตรฐาน
  • 6. 6 จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ - พัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีภูมิคุมกัน ตอการเปลี่ยนแปลงและระบบ เศรษฐกิจ สังคมพหุวัฒนธรรม รองรับ การเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน - รอยละ 80 ของโรงเรียน จัดกิจกรรม สรางความเขาใจในการเปลี่ยนแปลง และสังคมพหุวัฒนธรรม - รอยละ 60 ของนักเรียน สามารถใช ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได - รอยละ 60 ของโรงเรียนตนแบบ สามารถสรางเครือขายในกลุมประเทศ อาเซียนได - พัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีทักษะชีวิต ในการรับมือกับภัยพิบัติได - รอยละ 100 ของโรงเรียนจัดกิจกรรม รับมือภัยพิบัติที่เหมาะสมกับบริบทของ พื้นที่ - สรางองคความรูเกี่ยวกับการปองกัน ภัยพิบัติตามสภาพภูมิศาสตร - รอยละ 100 ของนักเรียน สามารถ เรียนรูและปรับตัวเขากับสถานการณ กับภัยพิบัติ - รอยละ 80 ของนักเรียนและบุคลากร ไดรับการชวยเหลือในเบื้องตน
  • 7. 7 กลยุทธ 2 ปลูกฝงคุณธรรม ความสํานึกในความเปนชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง (Moral and Ethics) จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความ เปนไทย มีจิตสาธารณะ และอยูอยาง พอเพียง (Sufficiency & Public Mind) - ปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงคตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน - สงเสริมจิตสํานึกความเปนไทยใน สถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย การปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข - รอยละ 100 ของนักเรียนมี คุณลักษณะอันพึงประสงคตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน - รอยละ 100 ของนักเรียน มีความ สํานึกในความเปนไทย - สงเสริมและพัฒนากระบวนการ เรียนรูประวัติศาสตรชาติไทยสังคม ศึกษา ประชาธิปไตย มีความเปน พลเมืองไทยและพลโลก - สงเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษา - รอยละ 100 ของนักเรียนไดเรียนรู ประวัติศาสตรชาติไทย สังคมศึกษา ประชาธิปไตย มีความเปนพลเมืองไทย และพลโลก - รอยละ 100 ของโรงเรียนจัดกิจกรรม เสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม - รอยละ 100 ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม (คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ไดแก ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ําใจ) และ กตัญู - รอยละ 100 ของนักเรียนประกอบ กิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมที่เปน ประโยชนตอผูอื่นและสังคมอยาง สม่ําเสมอ - สงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมและ สิ่งแวดลอม - โรงเรียน รอยละ 100 จัดกิจกรรม สงเสริมความมีจิตสาธารณะ ความ รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม - สงเสริมการดํารงตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง - ขยายผลโรงเรียนตนแบบเศรษฐกิจ พอเพียง - รอยละ 100 ของโรงเรียนจัดการ ศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง - รอยละ 80 ของโรงเรียนตนแบบ เศรษฐกิจพอเพียงผานการประเมินตาม เกณฑมาตรฐาน
  • 8. 8 กลยุทธที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึง และลดความเหลื่อมล้ํา ผูเรียนไดรับโอกาส ในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ (Filling the gap) จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. ประชากรวัยเรียนทุกคนมีโอกาส เขาถึงบริการทางการศึกษา ดวย ทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อลดอัตรา เด็กตกหลน ออกกลางคัน สงเสริมการ เรียนตอหรือประกอบอาชีพ (Alternative Access) - เรงรัดใหประชากรวัยเรียนทุกคน ไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน - รอยละของผูเรียนตอจํานวนประชากร วัยเรียนไดรับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพิ่มขึ้นรอยละ 2 - รอยละ 100 ของผูจบการศึกษาขั้น พื้นฐาน ตามกําหนดเวลาของหลักสูตร - สนับสนุนคาใชจายการจัดการศึกษา ตั้งแตระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพื้นฐาน - รอยละ 100 ของผูเรียนไดรับการ สนับสนุนคาใชจายทางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน - รอยละ 100 ของผูปกครองมีความพึง พอใจที่ไดรับการบริการการศึกษาขั้น พื้นฐาน - เสริมสรางระบบดูแลชวยเหลือ นักเรียน และความสัมพันธที่ดีระหวาง ครูกับนักเรียน - อัตราการออกกลางคันลดลง - อัตราการเรียนตอของผูจบชั้น ม.3 สูงขึ้น - จํานวนนักเรียนอายุต่ํากวา 15 ป ที่ตั้งครรภลดลงรอยละ 100 - จํานวนคดีเด็กและเยาวชนที่ถูก ดําเนินคดีโดยสถานพินิจและคุมครอง เด็กและเยาวชน ลดลงรอยละ 100 - รอยละ 100 ของโรงเรียนที่จัดกิจกรรม พัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสรางภูมิคุมกัน ปญหาสังคมใหกับผูเรียน - ปองกันและแกไขปญหายาเสพติด - นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอ สารเสพติดลดลง รอยละ 100 - รอยละ100 ของนักเรียนที่ติด สารเสพติดเขารับการบําบัด - สงเสริมการจัดการศึกษาทางเลือก โดยครอบครัว สถานประกอบการ องคกรเอกชน - รอยละ 100 ของผูจบการศึกษา ทางเลือกตามกําหนดเวลาของหลักสูตร - รอยละ 100 ของผูเรียน โดยการจัด การศึกษา โดยครอบครัวและสถาน ประกอบการ องคกรเอกชน จบการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน - สงเสริมการจัดการศึกษาสําหรับ ผูดอยโอกาส - รอยละ 90 ของผูดอยโอกาส มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร
  • 9. 9 จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ - สงเสริมการจัดการศึกษาสําหรับ ผูพิการ - ผูพิการ จํานวน 6,600 คน ไดรับการ พัฒนาสมรรถภาพ - รอยละ 65 ของผูพิการมีความพรอม เขาเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน - รอยละ 80 ของผูพิการผานเกณฑการ พัฒนาสมรรถภาพ ตามแผนการศึกษา เฉพาะบุคคล - รอยละ 65 ของผูพิการที่จบการศึกษา ตามกําหนดเวลาของหลักสูตร - รอยละ 80 ของผูพิการไดรับการ พัฒนาสมรรถภาพตามกําหนดเวลา
  • 10. 10 กลยุทธที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ใหสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยาง มีประสิทธิภาพ (Teacher Enhancement) จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาทุกคนมีความพรอมสูประชาคม อาเซียน มีภูมิคุมกันตอการปลี่ยน แปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community) - ประสานการวางแผนการผลิต พัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาใหเปนระบบ มีปริมาณ เพียงพอและมีคุณภาพ - รอยละ 100 ของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาที่ผานการประเมินความเขมแข็ง ดานการบริหารทรัพยากรบุคคลในระดับดี - พัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาทั้งระบบใหสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ - รอยละ 80 ของความสําเร็จในการพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ไดรับการ พัฒนาตามศักยภาพและบริบทรอบตัว ผูเรียน - รอยละ 80 ของครู ไดรับการพัฒนาเปนครู เกงมีคุณภาพและคุณธรรม - รอยละ 100 ของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาที่พัฒนาครูดวยระบบ IT - รอยละ 100 ของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาที่พัฒนาครูใหสามารถจัดการเรียน การสอนดวยคอมพิวเตอรพกพาไดอยางมี ประสิทธิภาพ - รอยละ 100 ของครู สามารถจัดการเรียน การสอนดวยคอมพิวเตอรพกพาไดอยางมี ประสิทธิภาพ - รอยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการ ศึกษาไดรับการเตรียมความพรอมดานภาษา ที่สอง เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน - รอยละ 60 ของครูที่สามารถใช ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได - คืนครูใหแกผูเรียนโดยลดภาระ งานอื่น ที่ไมจําเปนและจัดใหมี บุคลากรสายสนับสนุนใหพอเพียง เพื่อใหครูทําหนาที่พัฒนาผูเรียน อยางเต็มที่ และมีโอกาสพัฒนาตนเองอยาง ตอเนื่อง - รอยละ 80 ของโรงเรียนที่ไดรับการ สนับสนุนบุคลากร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น - ลดความขาดแคลนครูในภาพรวมได รอยละ 30
  • 11. 11 กลยุทธที่ 5 พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล เนนการ มีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา (Good Governance) จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. สถานศึกษาทุกแหงไดรับการพัฒนา อยางเต็มศักยภาพ มีระบบประกัน คุณภาพภายในที่เขมแข็งและไดรับการ รับรองจากการประเมิน (Quality Schools) - พัฒนาสงเสริมการดําเนินงานตาม ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาใหมีความเขมแข็งเพื่อ รองรับการประเมินคุณภาพภายนอก - พัฒนาสถานศึกษาใหมีขนาดที่ เหมาะสมกับการบริหารจัดการ - นิเทศ กํากับ ติดตาม ความกาวหนา ของสถานศึกษา และใหความชวยเหลือ เปนรายโรง - รอยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบ การประกันคุณภาพภายในที่เขมแข็ง ครบองคประกอบตามกฎกระทรวงฯ - รอยละ 100 ของสถานศึกษา ที่เขารับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสามไดรับการรับรองคุณภาพ - รอยละ 100 ของสถานศึกษาที่ไมผาน การรับรองคุณภาพภายนอกไดรับการ แกไขแทรกแซงเพื่อการพัฒนาคุณภาพ - รอยละ 50 ของสถานศึกษาที่ไดรับ การพัฒนาใหมีขนาดที่เหมาะสมกับการ บริหารจัดการ - รอยละ 100 ของสถานศึกษาไดรับ การนิเทศ กํากับ ติดตาม และชวยเหลือ การดําเนินงานใหมีคุณภาพ 2. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแหง มีคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา (Effective Service Areas) - พัฒนาการบริหารจัดการของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใหมี ประสิทธิภาพเปนไปตามมาตรฐาน - รอยละ 100 ของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาที่ผานการประเมินคุณภาพ ตามเกณฑมาตรฐานของสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษา - รอยละ 100 ของผูรับบริการ มีความ พึงพอใจในการสงเสริมการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 12. 12 กลยุทธที่ 6 พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต (Education for Peace and Harmony) จุดเนน มาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาทุกคน และสถานศึกษาทุกแหง ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต ไดรับการพัฒนาอยาง มีคุณภาพสอดคลองกับอัตลักษณ ของตน (Southern – Border Provinces) - จัดการสอนเสริมและเพิ่มโอกาสให ผูเรียนไดรับการเรียนรูจากแหลงเรียนรู ทั้งในและนอกพื้นที่ - รอยละ 80 ของนักเรียนลุมเปาหมาย ในพื้นที่ชายแดนภาคใตไดรับการเพิ่ม โอกาสใหผูเรียนไดรับการเรียนรูจาก แหลงเรียนรูทั้งในและนอกพื้นที่ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักของ นักเรียนกลุมเปาหมายในพื้นที่ชายแดน ภาคใตเพิ่มขึ้นรอยละ 3 - สถานศึกษาทุกแหง ไดรับการพัฒนา คุณภาพ - จัดและสงเสริมการจัดการเรียน การสอนสามัญควบคูอิสลามศึกษา ในสถานศึกษาของรัฐ - รอยละ 80 ของนักเรียน มีอัตราการ เรียนตอในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ในโรงเรียนของรัฐไมต่ํากวาระดับเฉลี่ย ของภาคใต - จัดระบบสวัสดิการ และสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาโดยจัดระบบ รักษาความปลอดภัยครูและสถานศึกษา ตลอดจนจัดที่อยูอาศัยที่ปลอดภัย ใหครูและบุคลากรทางการศึกษา - รอยละ 90 ของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา มีความพึงพอใจในระบบดูแลรักษา ความปลอดภัย และการจัดสวัสดิการ