SlideShare a Scribd company logo
ความเป็นมาของ
อักษรไทย

อักษรไทยจากละโว้สู่
สุโขทัย

พยัญชนะ

สมัยสุโขทัย

สระ

จากสุโขทัยสู่อยุธยา

วรรณยุกต์

สรุป

เลขไทย

แหล่งอ้างอิง
อักษรไทยเป็นอักษรตระกูลเดียวกับอักษรโรมัน
(อังกฤษ) อักษร ที่เก่าแก่ที่สุดของโลกคืออักษรเฮีย
โรกลิฟฟิกของอียิปต์ ซึ่งเป็นต้นตระกูลของอักษร
ไทยด้วย! อักษรในแถบเมดิเตอร์เรเนียนและ
ตะวันออกกลางได้วิวัฒนาการมาระยะหนึ่ง (ตามใน
ผัง) จนถึงอักษรฟินิเชีย ซึ่งถือว่าเป็นอักษรแม่ของ
โลก เนื่องจากฟินิเชียเป็นชนชาติพ่อค้า ได้ติดต่อ
ค้าขายกับดินแดนต่าง ๆ และเผยแพร่อักษรออกไป
ไกล อักษรเปอร์เซีย อาหรับ และพราหมีของอินเดีย
ก็มาจากอักษรฟินิเชีย


จากนั้นอักษรได้วิวัฒนาการ มาทางตะวันออกเรื่อย ๆ จาก
อักษรพราหมี ก็ได้แตกเป็นอักษรเทวนาครี (อินเดียฝ่าย
เหนือ) ซึ่งยังใช้อยู่ในอินเดียปัจจุบัน และอักษรปัลลวะ
(อินเดียฝ่ายใต้) อักษรปัลลวะนี้ได้เข้ามายังดินแดน
สุวรรณภูมิ และพัฒนาต่อเป็นอักษรขอมโบราณและมอญ
โบราณ จากตรงนี้อักษรจะแบ่งเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ คือกลุ่ม
มอญและกลุมขอม ยังมีอักษรอีกกลุมหนึ่งคืออักษร สาย
่
่
จามปา วิวัฒนาการมาจากอักษรพราหมีเช่นกัน แต่อาจจะ
ผ่านปัลลวะอีกทีหนึ่งก็ได้ แบ่งเป็นจามปาสายญวนและสาย
ขอม ซึ่งอันหลังนีได้รับอิทธิพลอักษรขอมโบราณ   ต่อมา
้
อักษรกลุมมอญและกลุ่มขอมได้ผสมกันในไทยจนกลาย
่
เป็นอักษร ๓ กลุม คือกลุ่มไทยกลาง ไทยเหนือ และกลุ่ม
่
ขอม
อักษรไทยที่มีอักษรขอมเป็นรากฐานสำาคัญ คง
ใช้เวลาวิวัฒนาการอยู่นานพอสมควรกว่าจะได้รูป
แบบลงตัวเป็นที่ยอมรับทั่วไป รวมทั้งต้องเอาแบบ
จากอักษรอื่นๆ มาเพิ่มพูนด้วย เช่น อักษรมอญ
ลังกา เป็นต้น จากนั้นก็ค่อยๆ แพร่หลายจากลุ่ม
แม่นำ้าเจ้าพระยาขึ้นไปถึงบ้านเมืองห่างไกล เช่น ขึ้น
ไปทางรัฐสุโขทัยทางลุมนำ้ายม-น่าน ดังมีร่องรอย
่
ความทรงจำาอยู่ใน พงศาวดารเหนือ เรื่องพระร่วง
อรุณกุมารเมืองสวรรคโลก ทำาพิธลบศักราชแล้ว
ี
"ทำาหนังสือไทย"
ด้วยบ้านเมืองแว่นแคว้นหรือรัฐต่างๆ ที่มีอยู่ร่วมยุค
ร่วมสมัยรัฐละโว้ ต่างยอมรับความรุ่งเรืองทางศิลปวิทยาการ
ของเมืองละโว้ มีพยานสนับสนุนเรื่องนี้อีกในพงศาวดาร
โยนกกล่าวว่า พญางำาเมืองแห่งเมืองพะเยา "ครั้นชนมายุได้
๑๖ ปี ไปเรียนศิลปในสำานักพระสุกทันตฤาษี ณ กรุงละโว้
อาจารย์คนเดียวกับสมเด็จพระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย"ร่อง
รอยและหลักฐานทั้งหมดนี้ย่อมสอดคล้องกับวิวัฒนาการ
ของอักษรไทยที่มีขึ้น บริเวณลุ่มนำ้าเจ้าพระยา โดยเฉพาะ
ทางรัฐละโว้-อโยธยาศรีรามเทพ แล้วแพร่หลายขึ้นไปทาง
ลุมนำ้ายม-น่าน ที่เป็นรัฐสุโขทัย จึงทำาจารึกคราวแรกๆ ขึ้น
่
คือจารึกวัดศรีชุม อันเป็นเรื่องราวทางศาสนา-การเมืองของ
พระมหาเถรศรีศรัทธาฯ นั่นและ
จากข้อความจารึก ระบุว่า พ่อขุนรามคำาแหง
ทรงประดิษฐ์ลายสือไทย หรืออักษรไทยสุโขทัย
สมัยพ่อขุนรามฯ ในปีจุลศักราช ๑๒๐๕ ซึ่งตรงกับ
พุทธศักราช ๑๘๒๖ (ปีจุลศักราช บวกด้วย ๑๑๘๑
เท่ากับปีพุทธศักราช) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากรูป
อักษรในจารึก เชื่อว่าอักษรนี้ได้รับการดัดแปลงมา
จากอักษรขอมโบราณและมอญโบราณ เพียงแต่
อักษรไทยสุโขทัยจะมีส่วนประกอบของอักษรน้อย
กว่าอักษรมอญและอักษรขอม กล่าวคือ ไม่มีรูป
พยัญชนะตัวเชิงและสระลอย การตัดพยัญชนะตัว
เชิงออกไปทำาให้ไม่มีการเขียนตัวสะกดหรือตัว
ควบกลำ้าไว้ใต้พยัญชนะต้น และตัด “ศก” หรือ
“สก” แบบตัวอักษรขอมออก ส่งผลให้มีอักขรวิธที่
ี
แตกต่าง และเหมาะกับการเขียนคำาไทยมากขึ้น
ศก เป็นส่วนทีอยู่บนสุดของตัวอักษร (ศก เป็น
่
ภาษาเขมรแปลว่า ผม)
ตัว เป็นส่วนทีอยู่ตรงกลางของตัวอักษร ไม่ตอง
่
้
แปลเป็นภาษาอะไรเพราะว่ามันคือตัว
เชิง เป็นส่วนทีอยู่ลางสุดของตัวอักษร (เชิง เป็น
่
่
ภาษาเขมรแปลว่า เท้า,ตีน) ความสำาคัญของตัว
เชิงคือตัวเชิงจะถูกนำาไปใช้เมื่อต้องการนำาไป
เป็นตัวควบกลำ่าหรือตัวสะกด โดยในอักขรวิธี
การเขียนอักษรขอมจะต้องนำาตัวควบกลำ่าหรือ
ตัวสะกดไปวางไว้ใต้ตวอักษรอืน และตัวอักษรก็
ั
่
เหมือนคนการจะเอาทั้งตัวอักษรไปไว้ใต้ตีนคน
อืนมันไม่ควร ก็เลยให้เอาไปแค่ตีนของตัวอักษร
่
นั้นๆไปแทน


หลังจากที่พ่อขุนรามคำาแหงได้ประดิษฐ์ตัวอักษรไทย
สุโขทัยมาแล้วไม่นาน ใน พ.ศ. ๑๙๐๐ ซึ่งเป็นสมัยของ
พระยาลิไทย ได้มีการแก้ไขดัดแปลงอักษรไทยสุโขทัยสมัย
พ่อขุนรามคำาแหง โดยการนำาสระบนกลับไปไว้ที่ด้านบนตัว
พยัญชนะ และนำาสระล่างไว้ที่ด้านล่างของพยัญชนะดัง
อักขรวิธแบบเก่า เช่นเดียวกับอักษรขอมและอักษรมอญ
ี
โบราณ ทั้งนี้ รูปแบบอักษรส่วนใหญ่ยังคงเหมือนกับอักษร
สุโขทัยสมัยพ่อขุนรามฯ ที่เปลียนแปลงก็เห็นจะเป็นส่วนของ
่
อักขรวิธและรูปของสระบางตัว ซึ่งเมื่อเปลี่ยนตำาแหน่งที่อยู่
ี
แล้วยังผลให้มีรูปร่างเปลียนไป
่


การจารึกอักษรไทยครั้งแรกนั้น ได้ใช้พยัญชนะไม่ครบทั้ง
๔๔ ตัว คือมีเพียง ๓๙ ตัวขาดตัว ฌ ฑ ฒ ฬ และ ฮ ไม่ครบ
ชุดพยัญชนะเหมือนที่ใช้สอนวิชาภาษาไทยในโรงเรียนใน
ปัจจุบันแต่เราก็อาจสันนิษฐานว่า ระบบภาษาเขีย น ใน
ขณะนั้นมี จำา นวนพยัญ ชนะเท่า กับ ในปัจจุบัน ด้วย
เหตุผล ๓ ประการ คือ
          ประการแรก จารึกหลักที่ ๒ และจารึกยุคต่อๆ มาใช้
ตัวอักษรอีก ๔ ตัวที่ไม่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ และถึง
แม้เราจะไม่พบตัวอักษร "ฮ" ในศิลาจารึกในยุคต่อๆ มาก็เป็น
ที่เชือได้ว่า "ฮ" มีอยู่แล้วในระบบ
่
          ประการที่ ๒ คือ ภาษาเขียนนั้นประดิษฐ์ขึ้นเป็น
ระบบ ให้มีอักษรสูงทุกตัวคู่กับอักษรตำ่า "ฮ" มีขึ้นเพื่อคู่กับ
"ห"


ประการที่ ๓ คือ "ฮ" เป็นอักษรที่มีที่ใช้น้อยที่สุดเมื่อเทียบ
กับอักษรอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคำาในภาษาสมัยโบราณ
แม้ในขณะที่เขียนเรื่องภาษาอยู่นี้ถ้าเราไม่กล่าวถึงตัว "ฮ"
โอกาสที่เราจะใช้คำาที่เขียนด้วยตัว "ฮ" แทบจะไม่มีเลย และ
เพราะเหตุนี้จึงไม่น่าที่จะมีการคิดเพิ่มอักษร "ฮ" ขึ้นภายหลัง
เพราะไม่มีความจำาเป็นในการใช้
เราสามารถเห็นร่องรอยของการเปลียนแปลงนี้ได้ตั้งแต่
่
สมัยสุโขทัยยุคหลังศิลาจารึกหลักที่ ๑ กล่าวคือ การใช้ "ข"
และ "ฃ" เริ่มไม่สมำ่าเสมอ คำาๆ เดียวกันบางครั้งก็เขียนด้วย "
ข" บางครั้งก็เขียนด้วย "ฃ
          การเขียนสระในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑  ต่างจาก
การเขียนสระในสมัยปัจจุบันมาก ทั้งรูปร่าง สระและวิธีการ
เขียนกล่าวคือ สระเขียนอยู่ในบรรทัดเช่นเดียวกับพยัญชนะ
แต่ในสมัยสุโขทัยยุคต่อมา ได้กลับไปเขียนแบบให้มีสระอยู่
รอบๆ พยัญชนะ คือ มีทั้งที่เขียนข้างหน้า ข้างบน ข้างหลัง
และข้างล่าง พยัญชนะที่เกี่ยวข้อง การเปลียนนี้คงให้เหมือน
่
กับระบบภาษาเขียนอื่นที่คนไทยสมัยนั้นใช้อยู่ก่อนและมี
ความเคยชินด้วยนอกจากเรื่องตำาแหน่งแล้ว


วิธีเขียนสระก็ต่างไป คือ สระอัว ในหลักที่ ๑ ใช้ วว
ในคำาที่ไม่มีเสียงสะกด เช่น หวว "หัว" ตวว "ตัว" ถ้า
มีตัวสะกดก็ใช้ "ว" ตัวเดียว เช่นเดียวกับในปัจจุบัน
เช่น  สวน แสดงว่ายังไม่มีการใช้ไม้หันอากาศ
เพราะ เสียง "ะ" ในคำาที่มีตัวสะกดก็ใช้พยัญชนะ
สะกดซ้ำ้า ๒ ตัว เช่น มนน "มัน" แต่ในสมัยสุโขทัย
ยุคต่อมาก็มีการใช้ไม้หันอากาศ ส่วนสระเอียใช้
เขียนเป็น "ย" เช่น วยง "เวียง" สยง "เสียง" โดย
ภาพรวมแล้ว สระที่มีการเขียนเป็นตัวอักษรแทน
เสียงมีจำานวนเท่ากับสระในปัจจุบัน
รูปวรรณยุกต์ที่ใช้เขียนกำากับในยุคสุโขทัยมี
เพียง ๒ รูป คือ ไม้เอก และไม้โท แต่ไม้โทใช้เป็น
เครื่องหมายกากบาทแทน สิ่งที่น่าสังเกตเกี่ยวกับรูป
วรรณยุกต์คือไม่ใช่ตัวอักษรแทนเสียงในทำานอง
เดียวกับตัวพยัญชนะและสระ เพราะไม้เอกไม่ได้
กำากับเฉพาะคำาที่มีเสียงเอกเท่านั้น ใน ทำานอง
เดียวกันไม้โทก็ไม่ได้กำากับเสียงโทเท่านั้นแต่เสียง
วรรณยุกต์เปลียนไปตามลักษณะพยัญชนะต้นของ
่
คำา คือ ไม้เอก บอกเสียงเอกในคำาที่ขึ้นต้นด้วยอักษร
สูงและกลาง แต่บอกเสียงโทในคำาที่ขึ้นต้นด้วย
อักษรตำ่า
และไม้โท บอกเสียงโทในคำาที่มีพยัญชนะต้น
เป็นอักษรสูงและกลาง แต่บอกเสียงตรีในคำาที่ขึ้นต้น
ด้วยอักษรตำ่าแสดงว่ารูปวรรณยุกต์ไม่ได้ใช้แทน
เสียงหนึ่งเสียงใดโดยเฉพาะ แต่ใช้บอกความต่างกัน
ของเสียงเท่านั้น ซ้ึ่งน่าจะหมายความว่ารูป
วรรณยุกต์แบบนี้สร้างขึ้นเพื่อให้ใช้ผันเสียง
วรรณยุกต์กับอักษรสูง กลาง ตำ่า ใช้แสดงความแตก
ต่างกันและจะใช้กับเสียงวรรณยุกต์ในถิ่นใดก็ได้
และคงเป็นเพราะรูปวรรณยุกต์มิได้ใช้แทนเสียง
วรรณยุกต์ใดวรรณยุกต์หนึ่งนี้เองที่ทำาให้จารึกในยุ
คหลังๆ ไม่ใช้วรรณยุกต์กำากับเลยก็มี


ตัวเลขนับเป็นส่วนสำาคัญของการเขียน ดังเราได้ทราบแล้ว
ว่า การบันทึกระยะแรกๆ ของภาษาโบราณของโลก
เป็นการบันทึกเรื่องจำานวนสิ่งของและผู้คน และตัวเลขก็ยังมี
ความสำาคัญตลอดมา
          ตัวเลขไทยคงจะประดิษฐ์ขึ้นในเวลาเดียวกันกับตัว
อักษรอื่นๆ แม้ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ เราจะไม่พบเลข
ครบทั้ง ๑๐ ตัว ขาด ๓ ๖ ๘ และ ๙ แต่เราก็อนุมานได้ใน
ทำานองเดียวกับพยัญชนะว่าต้องมีตัวเลขเหล่านี้อยู่แล้ว
เพราะการประดิษฐ์ตัวเลขนั้นต้องเป็นระบบและมีลำาดับ ที่
สำาคัญเราพบตัวเลขที่ขาดไปในจารึกสมัยของพระยาลิไท
แสดงว่าตัวเลขทั้งหมดมีอยู่แล้ว ตัวเลขสมัยสุโขทัยเขียน
แตกต่างไปจากตัวเลขสมัยปัจจุบันมาก


จากนั้นในตำานานมูลศาสนา (สันนิษฐานว่า เรียบ
เรียงขึ้นระหว่าง พ.ศ. ๒๐๐๐ – ๒๐๑๑) ได้กล่าวถึง
พระภิกษุสุโขทัย ๘ รูป ที่ได้ไปศึกษาพุทธศาสนา
นิกายลังกาวงศ์ที่เมืองพัน ครั้นกลับมาถึงสุโขทัยแล้ว
ต่างก็แยกย้ายกันไปเผยแพร่พุทธศาสนานิกายลังกา
วงศ์ในเมืองต่างๆ ดังนี้ เจ้าปิยทัสสีเอาศาสนาไป
ประดิษฐานในอโยธยา เจ้าสุวัณณคีรีเอาศาสนาไป
ประดิษฐานในเมืองชะวา (หลวงพระบาง) เจ้าเวสสภู
เอาศาสนาไปประดิษฐานในเมืองน่าน


เจ้าอานนท์ (ศิษย์เจ้าสุมนะ) ก็ปฏิบัติอยู่ในป่ามะม่วง
เมืองสุโขทัยแทนที่เจ้าสุมนะ เจ้าสุมนะเอาศาสนาไป
ประดิษฐานในเชียงใหม่ เจ้าพุทธสาคร เจ้าสุชาตะ
เจ้าเขมะ และเจ้าสัทธาติสสะ นั้น ช่วยกันปฏิบัติอยู่
ในเมืองสองแคว คาดว่าพระภิกษุทั้ง ๘ รูปดังกล่าว
ได้แยกย้ายไปเผยแพร่ศาสนา พร้อมนำาอักษรไทย
สุโขทัยสมัยพระยาลิไทยที่ใช้บันทึกเรื่องราวทาง
ศาสนานั้นไปเผยแพร่ด้วย ดังหลักฐานที่ปรากฏใน
จารึกวัดพระยืน (ลพ. ๓๘) ที่กล่าวถึงการนิมนต์พระ
สุมนเถระจากสุโขทัยไปยังล้าน


   ตัวอักษรที่เราใช้เขียนในราชการ ในโรงเรียน
และในการสื่อสารทั่วๆ ไป ในปัจจุบันเป็นตัวเขียน
ที่มีวิวัฒนาการสืบทอดมาจากลายสือไทยที่พ่อขุน
รามคำาแหงทรงประดิษฐ์ขึ้นที่เราได้เห็นในศิลา
จารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ จาก "การจารึก" บนแผ่น
ศิลา มาสู่การเขียนด้วยมือ และในปัจจุบันนอกจาก
การเขียนแล้ว เรายัง "พิมพ์" ภาษาไทยด้วยพิมพ์
ดีด และด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วยรูปร่าง
ลักษณะของตัวหนังสือไทยได้เปลี่ยนไปตามกาล
เวลาและเทคโนโลยีของแต่ละยุค เช่น  เดียวกับคน
ไทยที่เปลียนลักษณะชีวิตความเป็นอยู่ไปตามกาล
่
เวลาและสภาพแวดล้อม
ในสมัยอยุธยามีการเรียนการสอนภาษาไทยดังเห็นได้
จากมีตำาราสอนอ่านและเขียนภาษาไทยเกิดขึ้น ชื่อว่า
จิน ดามณี คนไทยนิยมแต่งโคลงกลอน (และแต่งตำารา
ต่างๆ) ในยุคนี้คนมีโอกาสเขียนหนังสือ การเขียนคงแพร่
หลายมากกว่ายุคสุโขทัย และเป็นการเขียนด้วยมือ ตัว
หนังสือจึงพัฒนาเปลี่ยนไปมากและมีลักษณะใกล้เคียงกับตัว
เขียนในปัจจุบัน การเปลียนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องของการ
่
เขียนตัวอักษรเท่านั้น ส่วนระบบการเขียนยังคงเดิม
          นอกจากอักษรไทยที่สืบทอดมาจากสุโขทัยที่กล่าว
มาแล้ว ในเมืองไทยยังมีตัวอักษรพื้นเมืองอื่นๆ ที่รู้จักกันอีก
คือ ตัวอักษรฝักขาม และตัวอักษรพื้นเมืองล้านนา ซึ่งใน
ปัจจุบันไม่ได้ใช้เขียนอ่านในชีวิตประจำาวันแล้ว












http://kongprateep76.wikispaces.com/
%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%
B2%E0%B8%82%E0%B8%AD
%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%
B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
หนังสือ อักษรไทยมาจากไหน ของ สุจิตต์ วงษ์เทศ
หนังสือ ตำาราเรียนอักษรไทยโบราณ ของ รศ.กรรณิการ์ วิมลเกษม 
กรรณิการ์ วิมลเกษม. “พัฒนาการของอักษรโบราณในประเทศไทย.” ใน
สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย = Thailand : culture and society.
กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๒.
กำาธร สถิรกุล. ลายสือไทย 700 ปี. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของ
คุรุสภา, ๒๕๔๓.
ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี. “จารึกพ่อขุน
รามคำาแหง.” ใน ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,
๒๕๔๖ (online). เปิดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก
http://www.sac.or.th/jaruk/
ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี. “จารึกวัดป่ามะม่วง












นวพรรณ ภัทรมูล. “จารึกวัดเชียงมั่น.” ใน ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย,
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๘ (online). เปิดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐
หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/
นวพรรณ ภัทรมูล. “จารึกวัดแดนเมือง ๑ (จารึกวัดปัจจันตบุรี).” ใน ฐานข้อมูล
จารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๙ (online). เปิดข้อมูล
เมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/
พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร. "จารึกวัดตะพาน." ใน ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย,
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๗ (online). เปิดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐
หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/
พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร. "จารึกที่อนุสาวรียท้าวหิรัญพนาสูร." ใน ฐานข้อมูลจารึก
์
ในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๘ (online). เปิดข้อมูลเมื่อ ๑
มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/
วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี. “จารึกวัดพระยืน.” ใน ฐานข้อมูล
จารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๖ (online). เปิดข้อมูล
เมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/
http://khmer-language-communication.blogspot.com/2011/11/blogpost.html
ขอขอบคุณ ทุก ท่า น
( กดเพื่อ จบการนำา เสนอ )

More Related Content

What's hot

ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
Anchalee BuddhaBucha
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Prom Pan Pluemsati
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
Unity' PeeBaa
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
Nattha Namm
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
Orapan Chamnan
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
mayavee16
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Ppor Elf'ish
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
engtivaporn
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ครูเจริญศรี
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
chontee55
 

What's hot (20)

ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
9789740333487
97897403334879789740333487
9789740333487
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
Dictionary
DictionaryDictionary
Dictionary
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6
 
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 

Viewers also liked (14)

Onet 50
Onet 50Onet 50
Onet 50
 
Deliverable 1.27
Deliverable 1.27Deliverable 1.27
Deliverable 1.27
 
How to Narrow your Real Estate Investment Universe by Jon Strishak
How to Narrow your Real Estate Investment Universe by Jon StrishakHow to Narrow your Real Estate Investment Universe by Jon Strishak
How to Narrow your Real Estate Investment Universe by Jon Strishak
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
02
0202
02
 
68b21dddcfd596977f43060fc4f45a34
68b21dddcfd596977f43060fc4f45a3468b21dddcfd596977f43060fc4f45a34
68b21dddcfd596977f43060fc4f45a34
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
06
0606
06
 
49
4949
49
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Kmuttv25n1 2
Kmuttv25n1 2Kmuttv25n1 2
Kmuttv25n1 2
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
K11
K11K11
K11
 
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 2-15
โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 2-15โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 2-15
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 2-15
 

Similar to โครงงานคอม

จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
absinthe39
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
phornphan1111
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
chontee55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
Tongsamut vorasan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
bambookruble
 

Similar to โครงงานคอม (20)

จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน
หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีนหนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน
หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

More from Nomoretear Cuimhne

More from Nomoretear Cuimhne (13)

เฉลย O net 49 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 49 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 49 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 49 ภาษาอังกฤษ
 
52
5252
52
 
sol 52
sol 52sol 52
sol 52
 
feb 52
feb 52feb 52
feb 52
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
ข้อสอบโอเน็ต3
ข้อสอบโอเน็ต3ข้อสอบโอเน็ต3
ข้อสอบโอเน็ต3
 
ข้อสอบโอเน็ต4
ข้อสอบโอเน็ต4ข้อสอบโอเน็ต4
ข้อสอบโอเน็ต4
 
เฉลย54
เฉลย54เฉลย54
เฉลย54
 
โครงงานไทย
โครงงานไทยโครงงานไทย
โครงงานไทย
 
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 2-15
โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 2-15โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 2-15
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 2-15
 
K10
K10K10
K10
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
กลศาสตร์
กลศาสตร์กลศาสตร์
กลศาสตร์
 

โครงงานคอม

  • 1.
  • 3. อักษรไทยเป็นอักษรตระกูลเดียวกับอักษรโรมัน (อังกฤษ) อักษร ที่เก่าแก่ที่สุดของโลกคืออักษรเฮีย โรกลิฟฟิกของอียิปต์ ซึ่งเป็นต้นตระกูลของอักษร ไทยด้วย! อักษรในแถบเมดิเตอร์เรเนียนและ ตะวันออกกลางได้วิวัฒนาการมาระยะหนึ่ง (ตามใน ผัง) จนถึงอักษรฟินิเชีย ซึ่งถือว่าเป็นอักษรแม่ของ โลก เนื่องจากฟินิเชียเป็นชนชาติพ่อค้า ได้ติดต่อ ค้าขายกับดินแดนต่าง ๆ และเผยแพร่อักษรออกไป ไกล อักษรเปอร์เซีย อาหรับ และพราหมีของอินเดีย ก็มาจากอักษรฟินิเชีย
  • 4.  จากนั้นอักษรได้วิวัฒนาการ มาทางตะวันออกเรื่อย ๆ จาก อักษรพราหมี ก็ได้แตกเป็นอักษรเทวนาครี (อินเดียฝ่าย เหนือ) ซึ่งยังใช้อยู่ในอินเดียปัจจุบัน และอักษรปัลลวะ (อินเดียฝ่ายใต้) อักษรปัลลวะนี้ได้เข้ามายังดินแดน สุวรรณภูมิ และพัฒนาต่อเป็นอักษรขอมโบราณและมอญ โบราณ จากตรงนี้อักษรจะแบ่งเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ คือกลุ่ม มอญและกลุมขอม ยังมีอักษรอีกกลุมหนึ่งคืออักษร สาย ่ ่ จามปา วิวัฒนาการมาจากอักษรพราหมีเช่นกัน แต่อาจจะ ผ่านปัลลวะอีกทีหนึ่งก็ได้ แบ่งเป็นจามปาสายญวนและสาย ขอม ซึ่งอันหลังนีได้รับอิทธิพลอักษรขอมโบราณ   ต่อมา ้ อักษรกลุมมอญและกลุ่มขอมได้ผสมกันในไทยจนกลาย ่ เป็นอักษร ๓ กลุม คือกลุ่มไทยกลาง ไทยเหนือ และกลุ่ม ่ ขอม
  • 5.
  • 6. อักษรไทยที่มีอักษรขอมเป็นรากฐานสำาคัญ คง ใช้เวลาวิวัฒนาการอยู่นานพอสมควรกว่าจะได้รูป แบบลงตัวเป็นที่ยอมรับทั่วไป รวมทั้งต้องเอาแบบ จากอักษรอื่นๆ มาเพิ่มพูนด้วย เช่น อักษรมอญ ลังกา เป็นต้น จากนั้นก็ค่อยๆ แพร่หลายจากลุ่ม แม่นำ้าเจ้าพระยาขึ้นไปถึงบ้านเมืองห่างไกล เช่น ขึ้น ไปทางรัฐสุโขทัยทางลุมนำ้ายม-น่าน ดังมีร่องรอย ่ ความทรงจำาอยู่ใน พงศาวดารเหนือ เรื่องพระร่วง อรุณกุมารเมืองสวรรคโลก ทำาพิธลบศักราชแล้ว ี "ทำาหนังสือไทย"
  • 7. ด้วยบ้านเมืองแว่นแคว้นหรือรัฐต่างๆ ที่มีอยู่ร่วมยุค ร่วมสมัยรัฐละโว้ ต่างยอมรับความรุ่งเรืองทางศิลปวิทยาการ ของเมืองละโว้ มีพยานสนับสนุนเรื่องนี้อีกในพงศาวดาร โยนกกล่าวว่า พญางำาเมืองแห่งเมืองพะเยา "ครั้นชนมายุได้ ๑๖ ปี ไปเรียนศิลปในสำานักพระสุกทันตฤาษี ณ กรุงละโว้ อาจารย์คนเดียวกับสมเด็จพระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย"ร่อง รอยและหลักฐานทั้งหมดนี้ย่อมสอดคล้องกับวิวัฒนาการ ของอักษรไทยที่มีขึ้น บริเวณลุ่มนำ้าเจ้าพระยา โดยเฉพาะ ทางรัฐละโว้-อโยธยาศรีรามเทพ แล้วแพร่หลายขึ้นไปทาง ลุมนำ้ายม-น่าน ที่เป็นรัฐสุโขทัย จึงทำาจารึกคราวแรกๆ ขึ้น ่ คือจารึกวัดศรีชุม อันเป็นเรื่องราวทางศาสนา-การเมืองของ พระมหาเถรศรีศรัทธาฯ นั่นและ
  • 8.
  • 9. จากข้อความจารึก ระบุว่า พ่อขุนรามคำาแหง ทรงประดิษฐ์ลายสือไทย หรืออักษรไทยสุโขทัย สมัยพ่อขุนรามฯ ในปีจุลศักราช ๑๒๐๕ ซึ่งตรงกับ พุทธศักราช ๑๘๒๖ (ปีจุลศักราช บวกด้วย ๑๑๘๑ เท่ากับปีพุทธศักราช) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากรูป อักษรในจารึก เชื่อว่าอักษรนี้ได้รับการดัดแปลงมา จากอักษรขอมโบราณและมอญโบราณ เพียงแต่ อักษรไทยสุโขทัยจะมีส่วนประกอบของอักษรน้อย กว่าอักษรมอญและอักษรขอม กล่าวคือ ไม่มีรูป พยัญชนะตัวเชิงและสระลอย การตัดพยัญชนะตัว เชิงออกไปทำาให้ไม่มีการเขียนตัวสะกดหรือตัว ควบกลำ้าไว้ใต้พยัญชนะต้น และตัด “ศก” หรือ “สก” แบบตัวอักษรขอมออก ส่งผลให้มีอักขรวิธที่ ี แตกต่าง และเหมาะกับการเขียนคำาไทยมากขึ้น
  • 10. ศก เป็นส่วนทีอยู่บนสุดของตัวอักษร (ศก เป็น ่ ภาษาเขมรแปลว่า ผม) ตัว เป็นส่วนทีอยู่ตรงกลางของตัวอักษร ไม่ตอง ่ ้ แปลเป็นภาษาอะไรเพราะว่ามันคือตัว เชิง เป็นส่วนทีอยู่ลางสุดของตัวอักษร (เชิง เป็น ่ ่ ภาษาเขมรแปลว่า เท้า,ตีน) ความสำาคัญของตัว เชิงคือตัวเชิงจะถูกนำาไปใช้เมื่อต้องการนำาไป เป็นตัวควบกลำ่าหรือตัวสะกด โดยในอักขรวิธี การเขียนอักษรขอมจะต้องนำาตัวควบกลำ่าหรือ ตัวสะกดไปวางไว้ใต้ตวอักษรอืน และตัวอักษรก็ ั ่ เหมือนคนการจะเอาทั้งตัวอักษรไปไว้ใต้ตีนคน อืนมันไม่ควร ก็เลยให้เอาไปแค่ตีนของตัวอักษร ่ นั้นๆไปแทน
  • 11.
  • 12.
  • 13.  หลังจากที่พ่อขุนรามคำาแหงได้ประดิษฐ์ตัวอักษรไทย สุโขทัยมาแล้วไม่นาน ใน พ.ศ. ๑๙๐๐ ซึ่งเป็นสมัยของ พระยาลิไทย ได้มีการแก้ไขดัดแปลงอักษรไทยสุโขทัยสมัย พ่อขุนรามคำาแหง โดยการนำาสระบนกลับไปไว้ที่ด้านบนตัว พยัญชนะ และนำาสระล่างไว้ที่ด้านล่างของพยัญชนะดัง อักขรวิธแบบเก่า เช่นเดียวกับอักษรขอมและอักษรมอญ ี โบราณ ทั้งนี้ รูปแบบอักษรส่วนใหญ่ยังคงเหมือนกับอักษร สุโขทัยสมัยพ่อขุนรามฯ ที่เปลียนแปลงก็เห็นจะเป็นส่วนของ ่ อักขรวิธและรูปของสระบางตัว ซึ่งเมื่อเปลี่ยนตำาแหน่งที่อยู่ ี แล้วยังผลให้มีรูปร่างเปลียนไป ่
  • 14.
  • 15.  การจารึกอักษรไทยครั้งแรกนั้น ได้ใช้พยัญชนะไม่ครบทั้ง ๔๔ ตัว คือมีเพียง ๓๙ ตัวขาดตัว ฌ ฑ ฒ ฬ และ ฮ ไม่ครบ ชุดพยัญชนะเหมือนที่ใช้สอนวิชาภาษาไทยในโรงเรียนใน ปัจจุบันแต่เราก็อาจสันนิษฐานว่า ระบบภาษาเขีย น ใน ขณะนั้นมี จำา นวนพยัญ ชนะเท่า กับ ในปัจจุบัน ด้วย เหตุผล ๓ ประการ คือ           ประการแรก จารึกหลักที่ ๒ และจารึกยุคต่อๆ มาใช้ ตัวอักษรอีก ๔ ตัวที่ไม่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ และถึง แม้เราจะไม่พบตัวอักษร "ฮ" ในศิลาจารึกในยุคต่อๆ มาก็เป็น ที่เชือได้ว่า "ฮ" มีอยู่แล้วในระบบ ่           ประการที่ ๒ คือ ภาษาเขียนนั้นประดิษฐ์ขึ้นเป็น ระบบ ให้มีอักษรสูงทุกตัวคู่กับอักษรตำ่า "ฮ" มีขึ้นเพื่อคู่กับ "ห"
  • 16.  ประการที่ ๓ คือ "ฮ" เป็นอักษรที่มีที่ใช้น้อยที่สุดเมื่อเทียบ กับอักษรอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคำาในภาษาสมัยโบราณ แม้ในขณะที่เขียนเรื่องภาษาอยู่นี้ถ้าเราไม่กล่าวถึงตัว "ฮ" โอกาสที่เราจะใช้คำาที่เขียนด้วยตัว "ฮ" แทบจะไม่มีเลย และ เพราะเหตุนี้จึงไม่น่าที่จะมีการคิดเพิ่มอักษร "ฮ" ขึ้นภายหลัง เพราะไม่มีความจำาเป็นในการใช้ เราสามารถเห็นร่องรอยของการเปลียนแปลงนี้ได้ตั้งแต่ ่ สมัยสุโขทัยยุคหลังศิลาจารึกหลักที่ ๑ กล่าวคือ การใช้ "ข" และ "ฃ" เริ่มไม่สมำ่าเสมอ คำาๆ เดียวกันบางครั้งก็เขียนด้วย " ข" บางครั้งก็เขียนด้วย "ฃ
  • 17.           การเขียนสระในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑  ต่างจาก การเขียนสระในสมัยปัจจุบันมาก ทั้งรูปร่าง สระและวิธีการ เขียนกล่าวคือ สระเขียนอยู่ในบรรทัดเช่นเดียวกับพยัญชนะ แต่ในสมัยสุโขทัยยุคต่อมา ได้กลับไปเขียนแบบให้มีสระอยู่ รอบๆ พยัญชนะ คือ มีทั้งที่เขียนข้างหน้า ข้างบน ข้างหลัง และข้างล่าง พยัญชนะที่เกี่ยวข้อง การเปลียนนี้คงให้เหมือน ่ กับระบบภาษาเขียนอื่นที่คนไทยสมัยนั้นใช้อยู่ก่อนและมี ความเคยชินด้วยนอกจากเรื่องตำาแหน่งแล้ว
  • 18.  วิธีเขียนสระก็ต่างไป คือ สระอัว ในหลักที่ ๑ ใช้ วว ในคำาที่ไม่มีเสียงสะกด เช่น หวว "หัว" ตวว "ตัว" ถ้า มีตัวสะกดก็ใช้ "ว" ตัวเดียว เช่นเดียวกับในปัจจุบัน เช่น  สวน แสดงว่ายังไม่มีการใช้ไม้หันอากาศ เพราะ เสียง "ะ" ในคำาที่มีตัวสะกดก็ใช้พยัญชนะ สะกดซ้ำ้า ๒ ตัว เช่น มนน "มัน" แต่ในสมัยสุโขทัย ยุคต่อมาก็มีการใช้ไม้หันอากาศ ส่วนสระเอียใช้ เขียนเป็น "ย" เช่น วยง "เวียง" สยง "เสียง" โดย ภาพรวมแล้ว สระที่มีการเขียนเป็นตัวอักษรแทน เสียงมีจำานวนเท่ากับสระในปัจจุบัน
  • 19. รูปวรรณยุกต์ที่ใช้เขียนกำากับในยุคสุโขทัยมี เพียง ๒ รูป คือ ไม้เอก และไม้โท แต่ไม้โทใช้เป็น เครื่องหมายกากบาทแทน สิ่งที่น่าสังเกตเกี่ยวกับรูป วรรณยุกต์คือไม่ใช่ตัวอักษรแทนเสียงในทำานอง เดียวกับตัวพยัญชนะและสระ เพราะไม้เอกไม่ได้ กำากับเฉพาะคำาที่มีเสียงเอกเท่านั้น ใน ทำานอง เดียวกันไม้โทก็ไม่ได้กำากับเสียงโทเท่านั้นแต่เสียง วรรณยุกต์เปลียนไปตามลักษณะพยัญชนะต้นของ ่ คำา คือ ไม้เอก บอกเสียงเอกในคำาที่ขึ้นต้นด้วยอักษร สูงและกลาง แต่บอกเสียงโทในคำาที่ขึ้นต้นด้วย อักษรตำ่า
  • 20. และไม้โท บอกเสียงโทในคำาที่มีพยัญชนะต้น เป็นอักษรสูงและกลาง แต่บอกเสียงตรีในคำาที่ขึ้นต้น ด้วยอักษรตำ่าแสดงว่ารูปวรรณยุกต์ไม่ได้ใช้แทน เสียงหนึ่งเสียงใดโดยเฉพาะ แต่ใช้บอกความต่างกัน ของเสียงเท่านั้น ซ้ึ่งน่าจะหมายความว่ารูป วรรณยุกต์แบบนี้สร้างขึ้นเพื่อให้ใช้ผันเสียง วรรณยุกต์กับอักษรสูง กลาง ตำ่า ใช้แสดงความแตก ต่างกันและจะใช้กับเสียงวรรณยุกต์ในถิ่นใดก็ได้ และคงเป็นเพราะรูปวรรณยุกต์มิได้ใช้แทนเสียง วรรณยุกต์ใดวรรณยุกต์หนึ่งนี้เองที่ทำาให้จารึกในยุ คหลังๆ ไม่ใช้วรรณยุกต์กำากับเลยก็มี
  • 21.  ตัวเลขนับเป็นส่วนสำาคัญของการเขียน ดังเราได้ทราบแล้ว ว่า การบันทึกระยะแรกๆ ของภาษาโบราณของโลก เป็นการบันทึกเรื่องจำานวนสิ่งของและผู้คน และตัวเลขก็ยังมี ความสำาคัญตลอดมา           ตัวเลขไทยคงจะประดิษฐ์ขึ้นในเวลาเดียวกันกับตัว อักษรอื่นๆ แม้ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ เราจะไม่พบเลข ครบทั้ง ๑๐ ตัว ขาด ๓ ๖ ๘ และ ๙ แต่เราก็อนุมานได้ใน ทำานองเดียวกับพยัญชนะว่าต้องมีตัวเลขเหล่านี้อยู่แล้ว เพราะการประดิษฐ์ตัวเลขนั้นต้องเป็นระบบและมีลำาดับ ที่ สำาคัญเราพบตัวเลขที่ขาดไปในจารึกสมัยของพระยาลิไท แสดงว่าตัวเลขทั้งหมดมีอยู่แล้ว ตัวเลขสมัยสุโขทัยเขียน แตกต่างไปจากตัวเลขสมัยปัจจุบันมาก
  • 22.
  • 23.  จากนั้นในตำานานมูลศาสนา (สันนิษฐานว่า เรียบ เรียงขึ้นระหว่าง พ.ศ. ๒๐๐๐ – ๒๐๑๑) ได้กล่าวถึง พระภิกษุสุโขทัย ๘ รูป ที่ได้ไปศึกษาพุทธศาสนา นิกายลังกาวงศ์ที่เมืองพัน ครั้นกลับมาถึงสุโขทัยแล้ว ต่างก็แยกย้ายกันไปเผยแพร่พุทธศาสนานิกายลังกา วงศ์ในเมืองต่างๆ ดังนี้ เจ้าปิยทัสสีเอาศาสนาไป ประดิษฐานในอโยธยา เจ้าสุวัณณคีรีเอาศาสนาไป ประดิษฐานในเมืองชะวา (หลวงพระบาง) เจ้าเวสสภู เอาศาสนาไปประดิษฐานในเมืองน่าน
  • 24.  เจ้าอานนท์ (ศิษย์เจ้าสุมนะ) ก็ปฏิบัติอยู่ในป่ามะม่วง เมืองสุโขทัยแทนที่เจ้าสุมนะ เจ้าสุมนะเอาศาสนาไป ประดิษฐานในเชียงใหม่ เจ้าพุทธสาคร เจ้าสุชาตะ เจ้าเขมะ และเจ้าสัทธาติสสะ นั้น ช่วยกันปฏิบัติอยู่ ในเมืองสองแคว คาดว่าพระภิกษุทั้ง ๘ รูปดังกล่าว ได้แยกย้ายไปเผยแพร่ศาสนา พร้อมนำาอักษรไทย สุโขทัยสมัยพระยาลิไทยที่ใช้บันทึกเรื่องราวทาง ศาสนานั้นไปเผยแพร่ด้วย ดังหลักฐานที่ปรากฏใน จารึกวัดพระยืน (ลพ. ๓๘) ที่กล่าวถึงการนิมนต์พระ สุมนเถระจากสุโขทัยไปยังล้าน
  • 25.
  • 26.     ตัวอักษรที่เราใช้เขียนในราชการ ในโรงเรียน และในการสื่อสารทั่วๆ ไป ในปัจจุบันเป็นตัวเขียน ที่มีวิวัฒนาการสืบทอดมาจากลายสือไทยที่พ่อขุน รามคำาแหงทรงประดิษฐ์ขึ้นที่เราได้เห็นในศิลา จารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ จาก "การจารึก" บนแผ่น ศิลา มาสู่การเขียนด้วยมือ และในปัจจุบันนอกจาก การเขียนแล้ว เรายัง "พิมพ์" ภาษาไทยด้วยพิมพ์ ดีด และด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วยรูปร่าง ลักษณะของตัวหนังสือไทยได้เปลี่ยนไปตามกาล เวลาและเทคโนโลยีของแต่ละยุค เช่น  เดียวกับคน ไทยที่เปลียนลักษณะชีวิตความเป็นอยู่ไปตามกาล ่ เวลาและสภาพแวดล้อม
  • 27. ในสมัยอยุธยามีการเรียนการสอนภาษาไทยดังเห็นได้ จากมีตำาราสอนอ่านและเขียนภาษาไทยเกิดขึ้น ชื่อว่า จิน ดามณี คนไทยนิยมแต่งโคลงกลอน (และแต่งตำารา ต่างๆ) ในยุคนี้คนมีโอกาสเขียนหนังสือ การเขียนคงแพร่ หลายมากกว่ายุคสุโขทัย และเป็นการเขียนด้วยมือ ตัว หนังสือจึงพัฒนาเปลี่ยนไปมากและมีลักษณะใกล้เคียงกับตัว เขียนในปัจจุบัน การเปลียนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องของการ ่ เขียนตัวอักษรเท่านั้น ส่วนระบบการเขียนยังคงเดิม           นอกจากอักษรไทยที่สืบทอดมาจากสุโขทัยที่กล่าว มาแล้ว ในเมืองไทยยังมีตัวอักษรพื้นเมืองอื่นๆ ที่รู้จักกันอีก คือ ตัวอักษรฝักขาม และตัวอักษรพื้นเมืองล้านนา ซึ่งใน ปัจจุบันไม่ได้ใช้เขียนอ่านในชีวิตประจำาวันแล้ว
  • 28.        http://kongprateep76.wikispaces.com/ %E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8% B2%E0%B8%82%E0%B8%AD %E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8% B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2 หนังสือ อักษรไทยมาจากไหน ของ สุจิตต์ วงษ์เทศ หนังสือ ตำาราเรียนอักษรไทยโบราณ ของ รศ.กรรณิการ์ วิมลเกษม  กรรณิการ์ วิมลเกษม. “พัฒนาการของอักษรโบราณในประเทศไทย.” ใน สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย = Thailand : culture and society. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๒. กำาธร สถิรกุล. ลายสือไทย 700 ปี. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของ คุรุสภา, ๒๕๔๓. ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี. “จารึกพ่อขุน รามคำาแหง.” ใน ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๖ (online). เปิดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/ ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี. “จารึกวัดป่ามะม่วง
  • 29.       นวพรรณ ภัทรมูล. “จารึกวัดเชียงมั่น.” ใน ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๘ (online). เปิดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/ นวพรรณ ภัทรมูล. “จารึกวัดแดนเมือง ๑ (จารึกวัดปัจจันตบุรี).” ใน ฐานข้อมูล จารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๙ (online). เปิดข้อมูล เมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/ พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร. "จารึกวัดตะพาน." ใน ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๗ (online). เปิดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/ พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร. "จารึกที่อนุสาวรียท้าวหิรัญพนาสูร." ใน ฐานข้อมูลจารึก ์ ในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๘ (online). เปิดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/ วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี. “จารึกวัดพระยืน.” ใน ฐานข้อมูล จารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๖ (online). เปิดข้อมูล เมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/ http://khmer-language-communication.blogspot.com/2011/11/blogpost.html
  • 30. ขอขอบคุณ ทุก ท่า น ( กดเพื่อ จบการนำา เสนอ )