SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
• ชื่อโครงงาน : ภาษาไทยและวิวฒนาการของอักษรไทย
ั
• ประเภทโครงงาน : สื่ อเพื่อนการเรี ยนรู้และการศึกษา
• ชื่อผู้จัดทา : นายกนิษฐ์ พชร์ มุสิกโปดก ชันม.6/15 เลขที่ 4
ั
้
นายพร้ อมพันธุ์ ปลื ้มสติ ชันม.6/15 เลขที่ 12
้
• ชื่อครู ทปรึกษา : ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ี่
• ระยะเวลาดาเนินการ : 1 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
•

ที่มาและความสาคัญภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ประจาชาติ เป็ นสมบัติทาง
วัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพ และเสริ มสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติ
ให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสารความเข้าใจและความสัมพันธ์
ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระการงานและดารงชีวิตร่ วมกันในสังคม
ประชาชาติได้อย่างสันติสุข และเป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู้
ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู ้ ความคิด
วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทนต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ
ั
ความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ สืบต่อไป
วัตถุประสงค์
• 1.การเรี ยนรู ้ภาษาไทยย่อมเกี่ยวพันกับความคิดของมนุษย์ เพราะภาษาเป็ นสื่ อของ
ความคิดการเรี ยนรู ้ภาษาไทยจึงต้องส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้สร้างสรรค์
• 2.ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือของคนในชาติเพื่อการสื่ อสารทาความเข้าใจกันและใช้
ภาษาในการประกอบกิจการงานทั้งส่ วนตัว ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและ
ประเทศชาติ เป็ นเครื่ องมือการเรี ยนรู้
• 3.ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ตองฝึ กฝนจนเกิดความชานาญ ในการใช้ภาษาเพื่อการ
้
สื่ อสาร การอ่าน การฟังเป็ นทักษะของการแสดงออกด้วยการแสดงความคิดเห็น
ความรู้และประสบการณ์การเรี ยนรู้ภาษาไทยจึงต้องเรี ยนเพื่อการสื่ อสารให้
สามารถรับรู้ขอมูลได้ชดเจน
้
ั
• 4.ภาษาไทยมีส่วนที่เป็ นเนื้อหาสาระ ได้แก่ กฎเกณฑ์ทางภาษา ซึ่ งผูใช้ภาษาจะต้อง
้
รู้และใช้ภาษาให้ถกต้อง
ู
ขอบเขตของโครงงาน
• 1.เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจตรงกันและตรงตามจุดหมายไม่วาจะเป็ นการแสดงความคิด
่
ความต้ องการและความ รู้สก คาในภาษาไทยย่อมประกอบด้ วยเสียง รูปพยัญชนะ
ึ
สระ วรรณยุกต์ และความหมาย ส่วนประโยคเป็ นการเรี ยงคาตามหลักเกณฑ์ของ
ภาษา
• 2. อักษรหลายประโยคเรี ยงกันเป็ นข้ อความ นอกจากนันคาในภาษาไทยยังมีเสียง
้
หนัก เบา มีระดับของภาษา ซึงใช้ ให้ เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล ภาษาย่อมมีการ
่
เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ตามสภาพวัฒนธรรมของกลุมคน ตามสภาพของสังคม
่
และเศรษฐกิจ การใช้ ภาษาเป็ นทักษะที่ผ้ ใช้ ต้องฝึ กฝนให้ เกิดความชานาญ ไม่วาจะ
ู
่
เป็ นการอ่าน การเขียน การพูด การฟั ง และการดูสื่อต่างๆ รวมทังต้ องใช้ ให้ ถกต้ อง
้
ู
ตามหลักเกณฑ์ทางภาษา เพื่อสื่อสารให้ เกิดประสิทธิภาพ และ ใช้ อย่างคล่องแคล่ว
มีวิจารณญาณและมีคณธรรม
ุ
หลักการและทฤษฎี
• การดาเนินชีวิตประจาวันและในการประกอบอาชีพจะมีการ
ติดต่อสื่อสารเพื่อให้ เกิดความเข้ าใจเรื่ องราว ความรู้สก ความนึกคิด
ึ
ความต้ องการของแต่ละฝ่ าย ซึงได้ แก่ผ้ สงสาร ซึงจะส่งสารโดยแสดง
่
ู่
่
พฤติกรรมในรูปของการพูด การเขียน หรื อแสดงด้ วยท่าทาง ส่วนผู้รับ
สารจะรับสารด้ วยการฟั ง การดู หรื อการอ่าน แต่ไม่วาจะเป็ นการสื่อสาร
่
หรื อรับสารก็ตาม เป็ นเครื่ องมือสาคัญที่ใช้ เป็ นสะพานเชื่อมโยงเพื่อให้
เกิดความเข้ าใจตรงกันคือ ภาษาและอักษรไทย
ความเป็ นมาของอักษรไทย
•

อักษรไทยเป็ นอักษรตระกูลเดียวกับอักษรโรมัน (อังกฤษ) อักษร ที่
เก่าแก่ที่สุดของโลกคืออักษรเฮียโรกลิฟฟิ กของอียปต์ ซึ่งเป็ นต้นตระกูล
ิ
ของอักษรไทยด้วย! อักษรในแถบเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง
ได้วิวฒนาการมาระยะหนึ่ง (ตามในผัง) จนถึงอักษรฟิ นิเชีย ซึ่งถือว่าเป็ น
ั
่
อักษรแม่ของโลก เนื่องจากฟิ นิเชียเป็ นชนชาติพอค้า ได้ติดต่อค้าขายกับ
ดินแดนต่าง ๆ และเผยแพร่ อกษรออกไปไกล อักษรเปอร์เซีย อาหรับ
ั
และพราหมีของอินเดียก็มาจากอักษรฟิ นิเชีย
อักษรไทยจากละโวขึนไปสุโขทัย
้ ้
•

อักษรไทยที่มีอกษรขอมเป็ นรากฐานสาคัญ คงใช้เวลาวิวฒนาการอยู่
ั
ั
นานพอสมควรกว่าจะได้รูปแบบลงตัวเป็ นที่ยอมรับทัวไป รวมทั้งต้อง
่
เอาแบบจากอักษรอื่นๆ มาเพิ่มพูนด้วย เช่น อักษรมอญ ลังกา เป็ นต้น
จากนั้นก็ค่อยๆ แพร่ หลายจากลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาขึ้นไปถึงบ้านเมือง
ห่างไกล เช่น ขึ้นไปทางรัฐสุ โขทัยทางลุ่มน้ ายม-น่าน ดังมีร่องรอยความ
่
ทรงจาอยูใน พงศาวดารเหนือ เรื่ องพระร่ วงอรุ ณกุมารเมืองสวรรคโลก
ทาพิธีลบศักราชแล้ว "ทาหนังสื อไทย"
•

่
ด้วยบ้านเมืองแว่นแคว้นหรื อรัฐต่างๆ ที่มีอยูร่วมยุคร่ วมสมัยรัฐละโว้
ต่างยอมรับความรุ่ งเรื องทางศิลปวิทยาการของเมืองละโว้ มีพยาน
สนับสนุนเรื่ องนี้อีกในพงศาวดารโยนกกล่าวว่า พญางาเมืองแห่งเมือง
พะเยา "ครั้นชนมายุได้ ๑๖ ปี ไปเรี ยนศิลปในสานักพระสุ กทันตฤาษี ณ
กรุ งละโว้
•

อาจารย์คนเดียวกับสมเด็จพระร่ วงเจ้ากรุ งสุ โขทัย"ร่ องรอยและ
่
หลักฐานทั้งหมดนี้ยอมสอดคล้องกับวิวฒนาการของอักษรไทยที่มีข้ ึน
ั
บริ เวณลุ่มน้ าเจ้าพระยา โดยเฉพาะทางรัฐละโว้-อโยธยาศรี รามเทพ แล้ว
แพร่ หลายขึ้นไปทางลุ่มน้ ายม-น่าน ที่เป็ นรัฐสุ โขทัย จึงทาจารึ กคราว
แรกๆ ขึ้น คือจารึ กวัดศรี ชุม อันเป็ นเรื่ องราวทางศาสนา-การเมืองของ
พระมหาเถรศรี ศรัทธาฯ นันและ
่
สมัยสุโขทัย
่
• จากข้อความจารึ ก ระบุวา พ่อขุนรามคาแหงทรงประดิษฐ์ลายสื อไทย
หรื ออักษรไทยสุ โขทัยสมัยพ่อขุนรามฯ ในปี จุลศักราช ๑๒๐๕ ซึ่งตรง
กับพุทธศักราช ๑๘๒๖ (ปี จุลศักราช บวกด้วย ๑๑๘๑ เท่ากับปี
พุทธศักราช) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากรู ปอักษรในจารึ ก เชื่อว่าอักษรนี้
ได้รับการดัดแปลงมาจากอักษรขอมโบราณและมอญโบราณ เพียงแต่
อักษรไทยสุ โขทัยจะมีส่วนประกอบของอักษรน้อยกว่าอักษรมอญและ
อักษรขอม กล่าวคือ ไม่มีรูปพยัญชนะตัวเชิงและสระลอย การตัด
พยัญชนะตัวเชิงออกไปทาให้ไม่มีการเขียนตัวสะกดหรื อตัวควบกล้ าไว้
ใต้พยัญชนะต้น และตัด “ศก” หรื อ “สก” แบบตัวอักษรขอมออก ส่ งผล
ให้มีอกขรวิธีที่แตกต่าง และเหมาะกับการเขียนคาไทยมากขึ้น
ั
่
• ศก เป็ นส่ วนที่อยูบนสุ ดของตัวอักษร (ศก เป็ นภาษาเขมรแปลว่า
ผม)
่
• ตัว เป็ นส่ วนที่อยูตรงกลางของตัวอักษร ไม่ตองแปลเป็ นภาษา
้
อะไรเพราะว่ามันคือตัว
่
• เชิง เป็ นส่ วนที่อยูล่างสุ ดของตัวอักษร (เชิง เป็ นภาษาเขมร
แปลว่า เท้า,ตีน) ความสาคัญของตัวเชิงคือตัวเชิงจะถูกนาไปใช้
เมื่อต้องการนาไปเป็ นตัวควบกล่าหรื อตัวสะกด
•

่
หลังจากที่พอขุนรามคาแหงได้ประดิษฐ์ตวอักษรไทยสุ โขทัยมาแล้ว
ั
ไม่นาน ใน พ.ศ. ๑๙๐๐ ซึ่งเป็ นสมัยของพระยาลิไทย ได้มีการแก้ไข
ดัดแปลงอักษรไทยสุ โขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหง โดยการนาสระบน
กลับไปไว้ที่ดานบนตัวพยัญชนะ และนาสระล่างไว้ที่ดานล่างของ
้
้
พยัญชนะดังอักขรวิธีแบบเก่า เช่นเดียวกับอักษรขอมและอักษรมอญ
โบราณ ทั้งนี้ รู ปแบบอักษรส่ วนใหญ่ยงคงเหมือนกับอักษรสุ โขทัยสมัย
ั
พ่อขุนรามฯ ที่เปลี่ยนแปลงก็เห็นจะเป็ นส่ วนของอักขรวิธีและรู ปของ
่
สระบางตัว ซึ่งเมื่อเปลี่ยนตาแหน่งที่อยูแล้วยังผลให้มีรูปร่ างเปลี่ยนไป
พยัญชนะ
•

การจารึ กอักษรไทยครั้งแรกนั้น ได้ใช้พยัญชนะไม่ครบทั้ง ๔๔ ตัว คือมีเพียง
๓๙ ตัวขาดตัว ฌ ฑ ฒ ฬ และ ฮ ไม่ครบชุดพยัญชนะเหมือนที่ใช้สอนวิชาภาษาไทย
ในโรงเรี ยนในปั จจุบนแต่เราก็อาจสันนิษฐานว่า ระบบภาษาเขียน ในขณะนั้นมี
ั
จานวนพยัญชนะเท่ ากับในปัจจุบน ด้วยเหตุผล ๓ ประการ คือ
ั
ประการแรก จารึ กหลักที่ ๒ และจารึ กยุคต่อๆ มาใช้ตวอักษรอีก ๔ ตัวที่ไม่
ั
ปรากฏในศิลาจารึ กหลักที่ ๑ และถึงแม้เราจะไม่พบตัวอักษร "ฮ" ในศิลาจารึ กใน
่
่
ยุคต่อๆ มาก็เป็ นที่เชื่อได้วา "ฮ" มีอยูแล้วในระบบ
ประการที่ ๒ คือ ภาษาเขียนนั้นประดิษฐ์ข้ ึนเป็ นระบบ ให้มีอกษรสู งทุกตัวคู่
ั
ั
กับอักษรต่า "ฮ" มีข้ ึนเพื่อคู่กบ "ห"
• ประการที่ ๓ คือ "ฮ" เป็ นอักษรที่มีที่ใช้นอยที่สุดเมื่อเทียบกับอักษรอื่นๆ
้
่ ้
โดยเฉพาะอย่างยิงกับคาในภาษาสมัยโบราณ แม้ในขณะที่เขียนเรื่ องภาษาอยูน้ ีถา
่
เราไม่กล่าวถึงตัว "ฮ" โอกาสที่เราจะใช้คาที่เขียนด้วยตัว "ฮ" แทบจะไม่มีเลย และ
เพราะเหตุน้ ีจึงไม่น่าที่จะมีการคิดเพิ่มอักษร "ฮ" ขึ้นภายหลัง เพราะไม่มีความ
จาเป็ นในการใช้
เราสามารถเห็นร่ องรอยของการเปลี่ยนแปลงนี้ได้ต้ งแต่สมัยสุ โขทัยยุคหลังศิลา
ั
จารึ กหลักที่ ๑ กล่าวคือ การใช้ "ข" และ "ฃ" เริ่ มไม่สม่าเสมอ คาๆ เดียวกันบางครั้ง
ก็เขียนด้วย "ข" บางครั้งก็เขียนด้วย "ฃ
สระ
การเขียนสระในศิลาจารึ กสุ โขทัยหลักที่ ๑ ต่างจากการเขียนสระในสมัยปั จจุบนมาก
ั
่
ทั้งรู ปร่ าง สระและวิธีการเขียนกล่าวคือ สระเขียนอยูในบรรทัดเช่นเดียวกับ
่
พยัญชนะ แต่ในสมัยสุ โขทัยยุคต่อมา ได้กลับไปเขียนแบบให้มีสระอยูรอบๆ
พยัญชนะ คือ มีท้ งที่เขียนข้างหน้า ข้างบน ข้างหลัง และข้างล่าง พยัญชนะที่
ั
เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนนี้คงให้เหมือนกับระบบภาษาเขียนอื่นที่คนไทยสมัยนั้นใช้อยู่
ก่อนและมีความเคยชินด้วยนอกจากเรื่ องตาแหน่งแล้ว
• วิธีเขียนสระก็ต่างไป คือ สระอัว ในหลักที่ ๑ ใช้ วว ในคาที่ไม่มีเสี ยงสะกด เช่น
หวว "หัว" ตวว "ตัว" ถ้ามีตวสะกดก็ใช้ "ว" ตัวเดียว เช่นเดียวกับในปั จจุบน
ั
ั
เช่น สวน แสดงว่ายังไม่มีการใช้ไม้หนอากาศ เพราะ เสี ยง "ะ" ในคาที่มีตวสะกดก็
ั
ั
ใช้พยัญชนะสะกดซ้ า ๒ ตัว เช่น มนน "มัน" แต่ในสมัยสุ โขทัยยุคต่อมาก็มีการใช้
ไม้หนอากาศ ส่ วนสระเอียใช้เขียนเป็ น "ย" เช่น วยง "เวียง" สยง "เสี ยง" โดย
ั
ภาพรวมแล้ว สระที่มีการเขียนเป็ นตัวอักษรแทนเสี ยงมีจานวนเท่ากับสระใน
ปัจจุบน
ั
วรรณยุกต ์
• รู ปวรรณยุกต์ที่ใช้เขียนกากับในยุคสุ โขทัยมีเพียง ๒ รู ป คือ ไม้เอก และไม้โท แต่
ไม้โทใช้เป็ นเครื่ องหมายกากบาทแทน สิ่ งที่น่าสังเกตเกี่ยวกับรู ปวรรณยุกต์คือ
ไม่ใช่ตวอักษรแทนเสี ยงในทานองเดียวกับตัวพยัญชนะและสระ เพราะไม้เอก
ั
ไม่ได้กากับเฉพาะคาที่มีเสี ยงเอกเท่านั้น ใน ทานองเดียวกันไม้โทก็ไม่ได้กากับ
เสี ยงโทเท่านั้นแต่เสี ยงวรรณยุกต์เปลี่ยนไปตามลักษณะพยัญชนะต้นของคา คือ
ไม้เอก บอกเสี ยงเอกในคาที่ข้ ึนต้นด้วยอักษรสู งและกลาง แต่บอกเสี ยงโทในคาที่
ขึ้นต้นด้วยอักษรต่า
• รู ปวรรณยุกต์ที่ใช้เขียนกากับในยุคสุ โขทัยมีเพียง ๒ รู ป คือ ไม้เอก และไม้โท แต่
ไม้โทใช้เป็ นเครื่ องหมายกากบาทแทน สิ่ งที่น่าสังเกตเกี่ยวกับรู ปวรรณยุกต์คือ
ไม่ใช่ตวอักษรแทนเสี ยงในทานองเดียวกับตัวพยัญชนะและสระ เพราะไม้เอก
ั
ไม่ได้กากับเฉพาะคาที่มีเสี ยงเอกเท่านั้น ใน ทานองเดียวกันไม้โทก็ไม่ได้กากับ
เสี ยงโทเท่านั้นแต่เสี ยงวรรณยุกต์เปลี่ยนไปตามลักษณะพยัญชนะต้นของคา คือ
ไม้เอก บอกเสี ยงเอกในคาที่ข้ ึนต้นด้วยอักษรสู งและกลาง แต่บอกเสี ยงโทในคาที่
ขึ้นต้นด้วยอักษรต่า
ตัวเลขไทย
• ตัวเลขนับเป็ นส่ วนสาคัญของการเขียน ดังเราได้ทราบแล้วว่า การบันทึก
ระยะแรกๆ ของภาษาโบราณของโลก เป็ นการบันทึกเรื่ องจานวนสิ่ งของและผูคน
้
และตัวเลขก็ยงมีความสาคัญตลอดมา
ั
ตัวเลขไทยคงจะประดิษฐ์ข้ ึนในเวลาเดียวกันกับตัวอักษรอื่นๆ แม้ในศิลา
จารึ กสุ โขทัยหลักที่ ๑ เราจะไม่พบเลขครบทั้ง ๑๐ ตัว ขาด ๓ ๖ ๘ และ ๙ แต่เราก็
่
อนุมานได้ในทานองเดียวกับพยัญชนะว่าต้องมีตวเลขเหล่านี้อยูแล้ว เพราะการ
ั
ประดิษฐ์ตวเลขนั้นต้องเป็ นระบบและมีลาดับ ที่สาคัญเราพบตัวเลขที่ขาดไปใน
ั
่
จารึ กสมัยของพระยาลิไท แสดงว่าตัวเลขทั้งหมดมีอยูแล้ว ตัวเลขสมัยสุ โขทัยเขียน
แตกต่างไปจากตัวเลขสมัยปั จจุบนมาก
ั
จากสุโขทัยไปอยุธยา
• จากนั้นในตานานมูลศาสนา (สันนิษฐานว่า เรี ยบเรี ยงขึ้นระหว่าง พ.ศ. ๒๐๐๐ –
๒๐๑๑) ได้กล่าวถึงพระภิกษุสุโขทัย ๘ รู ป ที่ได้ไปศึกษาพุทธศาสนานิกายลังกา
วงศ์ที่เมืองพัน ครั้นกลับมาถึงสุ โขทัยแล้วต่างก็แยกย้ายกันไปเผยแพร่ พทธศาสนา
ุ
นิกายลังกาวงศ์ในเมืองต่างๆ ดังนี้ เจ้าปิ ยทัสสี เอาศาสนาไปประดิษฐานในอโยธยา
เจ้าสุ วณณคีรีเอาศาสนาไปประดิษฐานในเมืองชะวา (หลวงพระบาง) เจ้าเวสสภูเอา
ั
ศาสนาไปประดิษฐานในเมืองน่าน
• เจ้าอานนท์ (ศิษย์เจ้าสุ มนะ) ก็ปฏิบติอยูในป่ ามะม่วงเมืองสุ โขทัยแทนที่เจ้าสุ มนะ
ั ่
เจ้าสุ มนะเอาศาสนาไปประดิษฐานในเชียงใหม่ เจ้าพุทธสาคร เจ้าสุ ชาตะ เจ้าเขมะ
และเจ้าสัทธาติสสะ นั้น ช่วยกันปฏิบติอยูในเมืองสองแคว คาดว่าพระภิกษุท้ ง ๘
ั ่
ั
รู ปดังกล่าว ได้แยกย้ายไปเผยแพร่ ศาสนา พร้อมนาอักษรไทยสุ โขทัยสมัยพระยาลิ
ไทยที่ใช้บนทึกเรื่ องราวทางศาสนานั้นไปเผยแพร่ ดวย ดังหลักฐานที่ปรากฏใน
ั
้
จารึ กวัดพระยืน (ลพ. ๓๘) ที่กล่าวถึงการนิมนต์พระสุ มนเถระจากสุ โขทัยไปยังล้าน
บทสรุป
•

ตัวอักษรที่เราใช้เขียนในราชการ ในโรงเรี ยน และในการสื่ อสารทัวๆ ไป ใน
่
่
ปัจจุบนเป็ นตัวเขียนที่มีวิวฒนาการสื บทอดมาจากลายสื อไทยที่พอขุนรามคาแหง
ั
ั
ทรงประดิษฐ์ข้ ึนที่เราได้เห็นในศิลาจารึ กสุ โขทัยหลักที่ ๑ จาก "การจารึ ก" บนแผ่น
ศิลา มาสู่ การเขียนด้วยมือ และในปั จจุบนนอกจากการเขียนแล้ว เรายัง "พิมพ์"
ั
ภาษาไทยด้วยพิมพ์ดีด และด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ อีกด้วยรู ปร่ างลักษณะของ
ตัวหนังสื อไทยได้เปลี่ยนไปตามกาลเวลาและเทคโนโลยีของแต่ละยุค
่
เช่น เดียวกับคนไทยที่เปลี่ยนลักษณะชีวิตความเป็ นอยูไปตามกาลเวลาและ
สภาพแวดล้อม
•

ในสมัยอยุธยามีการเรี ยนการสอนภาษาไทยดังเห็นได้จากมีตารา
สอนอ่านและเขียนภาษาไทยเกิดขึ้น ชื่อว่า จินดามณี คนไทยนิยมแต่งโคลงกลอน
(และแต่งตาราต่างๆ) ในยุคนี้คนมีโอกาสเขียนหนังสื อ การเขียนคงแพร่ หลาย
มากกว่ายุคสุ โขทัย และเป็ นการเขียนด้วยมือ ตัวหนังสื อจึงพัฒนาเปลี่ยนไปมาก
และมีลกษณะใกล้เคียงกับตัวเขียนในปั จจุบน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็ นเรื่ อง
ั
ั
ของการเขียนตัวอักษรเท่านั้น ส่ วนระบบการเขียนยังคงเดิม
นอกจากอักษรไทยที่สืบทอดมาจากสุ โขทัยที่กล่าวมาแล้ว ในเมืองไทยยังมี
ตัวอักษรพื้นเมืองอื่นๆ ที่รู้จกกันอีกคือ ตัวอักษรฝักขาม และตัวอักษรพื้นเมือง
ั
ล้านนา ซึ่ งในปั จจุบนไม่ได้ใช้เขียนอ่านในชีวิตประจาวันแล้ว
ั
แหล่ งอ้ างอิง
• http://kongprateep76.wikispaces.com/%E0%B8
%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1
%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0
%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8
%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97
%E0%B8%A2
• หนังสื อ อักษรไทยมาจากไหน ของ สุ จิตต์ วงษ์เทศ
• หนังสื อ ตาราเรี ยนอักษรไทยโบราณ ของ รศ.กรรณิ การ์ วิมลเกษม
• กรรณิ การ์ วิมลเกษม. “พัฒนาการของอักษรโบราณในประเทศไทย.” ใน สังคม
และวัฒนธรรมใน
• ประเทศไทย = Thailand : culture and society. กรุ งเทพฯ : ศูนย์
มานุษยวิทยาสิ รินธร, ๒๕๔๒.
• กาธร สถิรกุล. ลายสื อไทย 700 ปี . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพฯ : องค์การค้าของคุรุ
สภา, ๒๕๔๓.
• ตรงใจ หุ ตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี . “จารึ กพ่อขุนรามคาแหง.”
ใน ฐานข้อมูลจารึ กในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร, ๒๕๔๖ (online).
เปิ ดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก
http://www.sac.or.th/jaruk/
• ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี . “จารึกวัดป่ า
มะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ ๑,” ในฐานข้ อมูลจารึกในประเทศไทย,
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๖ (online). เปิ ดข้ อมูลเมื่อ ๑
มิถนายน ๒๕๕๐ หาข้ อมูลจาก
ุ
http://www.sac.or.th/jaruk/
• ธวัช ปุณโณทก. ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย – ลาว : ศึกษาทางด้ านอักข
รวิทยาและประวัติศาสตร์ อีสาน.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง,
๒๕๓๐.
โครงงานคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยGawewat Dechaapinun
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนWiwat Sr.
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
TAT Review Magazine 1/2015
TAT Review Magazine 1/2015TAT Review Magazine 1/2015
TAT Review Magazine 1/2015Zabitan
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothaiThaiway Thanathep
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยchakaew4524
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการyahapop
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

What's hot (20)

แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคามแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
TAT Review Magazine 1/2015
TAT Review Magazine 1/2015TAT Review Magazine 1/2015
TAT Review Magazine 1/2015
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ absinthe39
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมAor's Sometime
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfKunnai- เบ้
 
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"Krujanppm2017
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยPitchyJelly Matee
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
 
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
355
355355
355
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
History
HistoryHistory
History
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 

More from Prom Pan Pluemsati

โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8Prom Pan Pluemsati
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52Prom Pan Pluemsati
 
O net สุขศึกษา 53
O net สุขศึกษา 53O net สุขศึกษา 53
O net สุขศึกษา 53Prom Pan Pluemsati
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลยProm Pan Pluemsati
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51Prom Pan Pluemsati
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50Prom Pan Pluemsati
 
ภาษาอังกฤษ ม.3
ภาษาอังกฤษ ม.3ภาษาอังกฤษ ม.3
ภาษาอังกฤษ ม.3Prom Pan Pluemsati
 

More from Prom Pan Pluemsati (11)

โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
 
O net สุขศึกษา 53
O net สุขศึกษา 53O net สุขศึกษา 53
O net สุขศึกษา 53
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
 
ภาษาอังกฤษ ม.3
ภาษาอังกฤษ ม.3ภาษาอังกฤษ ม.3
ภาษาอังกฤษ ม.3
 
53
5353
53
 
52
5252
52
 
51
5151
51
 
54
5454
54
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 2. • ชื่อโครงงาน : ภาษาไทยและวิวฒนาการของอักษรไทย ั • ประเภทโครงงาน : สื่ อเพื่อนการเรี ยนรู้และการศึกษา • ชื่อผู้จัดทา : นายกนิษฐ์ พชร์ มุสิกโปดก ชันม.6/15 เลขที่ 4 ั ้ นายพร้ อมพันธุ์ ปลื ้มสติ ชันม.6/15 เลขที่ 12 ้ • ชื่อครู ทปรึกษา : ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ี่ • ระยะเวลาดาเนินการ : 1 สัปดาห์
  • 3. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน • ที่มาและความสาคัญภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ประจาชาติ เป็ นสมบัติทาง วัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพ และเสริ มสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติ ให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสารความเข้าใจและความสัมพันธ์ ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระการงานและดารงชีวิตร่ วมกันในสังคม ประชาชาติได้อย่างสันติสุข และเป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู ้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทนต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ ั ความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ สืบต่อไป
  • 4. วัตถุประสงค์ • 1.การเรี ยนรู ้ภาษาไทยย่อมเกี่ยวพันกับความคิดของมนุษย์ เพราะภาษาเป็ นสื่ อของ ความคิดการเรี ยนรู ้ภาษาไทยจึงต้องส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้สร้างสรรค์ • 2.ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือของคนในชาติเพื่อการสื่ อสารทาความเข้าใจกันและใช้ ภาษาในการประกอบกิจการงานทั้งส่ วนตัว ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและ ประเทศชาติ เป็ นเครื่ องมือการเรี ยนรู้ • 3.ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ตองฝึ กฝนจนเกิดความชานาญ ในการใช้ภาษาเพื่อการ ้ สื่ อสาร การอ่าน การฟังเป็ นทักษะของการแสดงออกด้วยการแสดงความคิดเห็น ความรู้และประสบการณ์การเรี ยนรู้ภาษาไทยจึงต้องเรี ยนเพื่อการสื่ อสารให้ สามารถรับรู้ขอมูลได้ชดเจน ้ ั • 4.ภาษาไทยมีส่วนที่เป็ นเนื้อหาสาระ ได้แก่ กฎเกณฑ์ทางภาษา ซึ่ งผูใช้ภาษาจะต้อง ้ รู้และใช้ภาษาให้ถกต้อง ู
  • 5. ขอบเขตของโครงงาน • 1.เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจตรงกันและตรงตามจุดหมายไม่วาจะเป็ นการแสดงความคิด ่ ความต้ องการและความ รู้สก คาในภาษาไทยย่อมประกอบด้ วยเสียง รูปพยัญชนะ ึ สระ วรรณยุกต์ และความหมาย ส่วนประโยคเป็ นการเรี ยงคาตามหลักเกณฑ์ของ ภาษา • 2. อักษรหลายประโยคเรี ยงกันเป็ นข้ อความ นอกจากนันคาในภาษาไทยยังมีเสียง ้ หนัก เบา มีระดับของภาษา ซึงใช้ ให้ เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล ภาษาย่อมมีการ ่ เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ตามสภาพวัฒนธรรมของกลุมคน ตามสภาพของสังคม ่ และเศรษฐกิจ การใช้ ภาษาเป็ นทักษะที่ผ้ ใช้ ต้องฝึ กฝนให้ เกิดความชานาญ ไม่วาจะ ู ่ เป็ นการอ่าน การเขียน การพูด การฟั ง และการดูสื่อต่างๆ รวมทังต้ องใช้ ให้ ถกต้ อง ้ ู ตามหลักเกณฑ์ทางภาษา เพื่อสื่อสารให้ เกิดประสิทธิภาพ และ ใช้ อย่างคล่องแคล่ว มีวิจารณญาณและมีคณธรรม ุ
  • 6. หลักการและทฤษฎี • การดาเนินชีวิตประจาวันและในการประกอบอาชีพจะมีการ ติดต่อสื่อสารเพื่อให้ เกิดความเข้ าใจเรื่ องราว ความรู้สก ความนึกคิด ึ ความต้ องการของแต่ละฝ่ าย ซึงได้ แก่ผ้ สงสาร ซึงจะส่งสารโดยแสดง ่ ู่ ่ พฤติกรรมในรูปของการพูด การเขียน หรื อแสดงด้ วยท่าทาง ส่วนผู้รับ สารจะรับสารด้ วยการฟั ง การดู หรื อการอ่าน แต่ไม่วาจะเป็ นการสื่อสาร ่ หรื อรับสารก็ตาม เป็ นเครื่ องมือสาคัญที่ใช้ เป็ นสะพานเชื่อมโยงเพื่อให้ เกิดความเข้ าใจตรงกันคือ ภาษาและอักษรไทย
  • 7. ความเป็ นมาของอักษรไทย • อักษรไทยเป็ นอักษรตระกูลเดียวกับอักษรโรมัน (อังกฤษ) อักษร ที่ เก่าแก่ที่สุดของโลกคืออักษรเฮียโรกลิฟฟิ กของอียปต์ ซึ่งเป็ นต้นตระกูล ิ ของอักษรไทยด้วย! อักษรในแถบเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง ได้วิวฒนาการมาระยะหนึ่ง (ตามในผัง) จนถึงอักษรฟิ นิเชีย ซึ่งถือว่าเป็ น ั ่ อักษรแม่ของโลก เนื่องจากฟิ นิเชียเป็ นชนชาติพอค้า ได้ติดต่อค้าขายกับ ดินแดนต่าง ๆ และเผยแพร่ อกษรออกไปไกล อักษรเปอร์เซีย อาหรับ ั และพราหมีของอินเดียก็มาจากอักษรฟิ นิเชีย
  • 8.
  • 9. อักษรไทยจากละโวขึนไปสุโขทัย ้ ้ • อักษรไทยที่มีอกษรขอมเป็ นรากฐานสาคัญ คงใช้เวลาวิวฒนาการอยู่ ั ั นานพอสมควรกว่าจะได้รูปแบบลงตัวเป็ นที่ยอมรับทัวไป รวมทั้งต้อง ่ เอาแบบจากอักษรอื่นๆ มาเพิ่มพูนด้วย เช่น อักษรมอญ ลังกา เป็ นต้น จากนั้นก็ค่อยๆ แพร่ หลายจากลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาขึ้นไปถึงบ้านเมือง ห่างไกล เช่น ขึ้นไปทางรัฐสุ โขทัยทางลุ่มน้ ายม-น่าน ดังมีร่องรอยความ ่ ทรงจาอยูใน พงศาวดารเหนือ เรื่ องพระร่ วงอรุ ณกุมารเมืองสวรรคโลก ทาพิธีลบศักราชแล้ว "ทาหนังสื อไทย"
  • 10. • ่ ด้วยบ้านเมืองแว่นแคว้นหรื อรัฐต่างๆ ที่มีอยูร่วมยุคร่ วมสมัยรัฐละโว้ ต่างยอมรับความรุ่ งเรื องทางศิลปวิทยาการของเมืองละโว้ มีพยาน สนับสนุนเรื่ องนี้อีกในพงศาวดารโยนกกล่าวว่า พญางาเมืองแห่งเมือง พะเยา "ครั้นชนมายุได้ ๑๖ ปี ไปเรี ยนศิลปในสานักพระสุ กทันตฤาษี ณ กรุ งละโว้
  • 11. • อาจารย์คนเดียวกับสมเด็จพระร่ วงเจ้ากรุ งสุ โขทัย"ร่ องรอยและ ่ หลักฐานทั้งหมดนี้ยอมสอดคล้องกับวิวฒนาการของอักษรไทยที่มีข้ ึน ั บริ เวณลุ่มน้ าเจ้าพระยา โดยเฉพาะทางรัฐละโว้-อโยธยาศรี รามเทพ แล้ว แพร่ หลายขึ้นไปทางลุ่มน้ ายม-น่าน ที่เป็ นรัฐสุ โขทัย จึงทาจารึ กคราว แรกๆ ขึ้น คือจารึ กวัดศรี ชุม อันเป็ นเรื่ องราวทางศาสนา-การเมืองของ พระมหาเถรศรี ศรัทธาฯ นันและ ่
  • 12. สมัยสุโขทัย ่ • จากข้อความจารึ ก ระบุวา พ่อขุนรามคาแหงทรงประดิษฐ์ลายสื อไทย หรื ออักษรไทยสุ โขทัยสมัยพ่อขุนรามฯ ในปี จุลศักราช ๑๒๐๕ ซึ่งตรง กับพุทธศักราช ๑๘๒๖ (ปี จุลศักราช บวกด้วย ๑๑๘๑ เท่ากับปี พุทธศักราช) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากรู ปอักษรในจารึ ก เชื่อว่าอักษรนี้ ได้รับการดัดแปลงมาจากอักษรขอมโบราณและมอญโบราณ เพียงแต่ อักษรไทยสุ โขทัยจะมีส่วนประกอบของอักษรน้อยกว่าอักษรมอญและ อักษรขอม กล่าวคือ ไม่มีรูปพยัญชนะตัวเชิงและสระลอย การตัด พยัญชนะตัวเชิงออกไปทาให้ไม่มีการเขียนตัวสะกดหรื อตัวควบกล้ าไว้ ใต้พยัญชนะต้น และตัด “ศก” หรื อ “สก” แบบตัวอักษรขอมออก ส่ งผล ให้มีอกขรวิธีที่แตกต่าง และเหมาะกับการเขียนคาไทยมากขึ้น ั
  • 13. ่ • ศก เป็ นส่ วนที่อยูบนสุ ดของตัวอักษร (ศก เป็ นภาษาเขมรแปลว่า ผม) ่ • ตัว เป็ นส่ วนที่อยูตรงกลางของตัวอักษร ไม่ตองแปลเป็ นภาษา ้ อะไรเพราะว่ามันคือตัว ่ • เชิง เป็ นส่ วนที่อยูล่างสุ ดของตัวอักษร (เชิง เป็ นภาษาเขมร แปลว่า เท้า,ตีน) ความสาคัญของตัวเชิงคือตัวเชิงจะถูกนาไปใช้ เมื่อต้องการนาไปเป็ นตัวควบกล่าหรื อตัวสะกด
  • 14.
  • 15.
  • 16. • ่ หลังจากที่พอขุนรามคาแหงได้ประดิษฐ์ตวอักษรไทยสุ โขทัยมาแล้ว ั ไม่นาน ใน พ.ศ. ๑๙๐๐ ซึ่งเป็ นสมัยของพระยาลิไทย ได้มีการแก้ไข ดัดแปลงอักษรไทยสุ โขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหง โดยการนาสระบน กลับไปไว้ที่ดานบนตัวพยัญชนะ และนาสระล่างไว้ที่ดานล่างของ ้ ้ พยัญชนะดังอักขรวิธีแบบเก่า เช่นเดียวกับอักษรขอมและอักษรมอญ โบราณ ทั้งนี้ รู ปแบบอักษรส่ วนใหญ่ยงคงเหมือนกับอักษรสุ โขทัยสมัย ั พ่อขุนรามฯ ที่เปลี่ยนแปลงก็เห็นจะเป็ นส่ วนของอักขรวิธีและรู ปของ ่ สระบางตัว ซึ่งเมื่อเปลี่ยนตาแหน่งที่อยูแล้วยังผลให้มีรูปร่ างเปลี่ยนไป
  • 17. พยัญชนะ • การจารึ กอักษรไทยครั้งแรกนั้น ได้ใช้พยัญชนะไม่ครบทั้ง ๔๔ ตัว คือมีเพียง ๓๙ ตัวขาดตัว ฌ ฑ ฒ ฬ และ ฮ ไม่ครบชุดพยัญชนะเหมือนที่ใช้สอนวิชาภาษาไทย ในโรงเรี ยนในปั จจุบนแต่เราก็อาจสันนิษฐานว่า ระบบภาษาเขียน ในขณะนั้นมี ั จานวนพยัญชนะเท่ ากับในปัจจุบน ด้วยเหตุผล ๓ ประการ คือ ั ประการแรก จารึ กหลักที่ ๒ และจารึ กยุคต่อๆ มาใช้ตวอักษรอีก ๔ ตัวที่ไม่ ั ปรากฏในศิลาจารึ กหลักที่ ๑ และถึงแม้เราจะไม่พบตัวอักษร "ฮ" ในศิลาจารึ กใน ่ ่ ยุคต่อๆ มาก็เป็ นที่เชื่อได้วา "ฮ" มีอยูแล้วในระบบ ประการที่ ๒ คือ ภาษาเขียนนั้นประดิษฐ์ข้ ึนเป็ นระบบ ให้มีอกษรสู งทุกตัวคู่ ั ั กับอักษรต่า "ฮ" มีข้ ึนเพื่อคู่กบ "ห"
  • 18. • ประการที่ ๓ คือ "ฮ" เป็ นอักษรที่มีที่ใช้นอยที่สุดเมื่อเทียบกับอักษรอื่นๆ ้ ่ ้ โดยเฉพาะอย่างยิงกับคาในภาษาสมัยโบราณ แม้ในขณะที่เขียนเรื่ องภาษาอยูน้ ีถา ่ เราไม่กล่าวถึงตัว "ฮ" โอกาสที่เราจะใช้คาที่เขียนด้วยตัว "ฮ" แทบจะไม่มีเลย และ เพราะเหตุน้ ีจึงไม่น่าที่จะมีการคิดเพิ่มอักษร "ฮ" ขึ้นภายหลัง เพราะไม่มีความ จาเป็ นในการใช้ เราสามารถเห็นร่ องรอยของการเปลี่ยนแปลงนี้ได้ต้ งแต่สมัยสุ โขทัยยุคหลังศิลา ั จารึ กหลักที่ ๑ กล่าวคือ การใช้ "ข" และ "ฃ" เริ่ มไม่สม่าเสมอ คาๆ เดียวกันบางครั้ง ก็เขียนด้วย "ข" บางครั้งก็เขียนด้วย "ฃ
  • 19. สระ การเขียนสระในศิลาจารึ กสุ โขทัยหลักที่ ๑ ต่างจากการเขียนสระในสมัยปั จจุบนมาก ั ่ ทั้งรู ปร่ าง สระและวิธีการเขียนกล่าวคือ สระเขียนอยูในบรรทัดเช่นเดียวกับ ่ พยัญชนะ แต่ในสมัยสุ โขทัยยุคต่อมา ได้กลับไปเขียนแบบให้มีสระอยูรอบๆ พยัญชนะ คือ มีท้ งที่เขียนข้างหน้า ข้างบน ข้างหลัง และข้างล่าง พยัญชนะที่ ั เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนนี้คงให้เหมือนกับระบบภาษาเขียนอื่นที่คนไทยสมัยนั้นใช้อยู่ ก่อนและมีความเคยชินด้วยนอกจากเรื่ องตาแหน่งแล้ว
  • 20. • วิธีเขียนสระก็ต่างไป คือ สระอัว ในหลักที่ ๑ ใช้ วว ในคาที่ไม่มีเสี ยงสะกด เช่น หวว "หัว" ตวว "ตัว" ถ้ามีตวสะกดก็ใช้ "ว" ตัวเดียว เช่นเดียวกับในปั จจุบน ั ั เช่น สวน แสดงว่ายังไม่มีการใช้ไม้หนอากาศ เพราะ เสี ยง "ะ" ในคาที่มีตวสะกดก็ ั ั ใช้พยัญชนะสะกดซ้ า ๒ ตัว เช่น มนน "มัน" แต่ในสมัยสุ โขทัยยุคต่อมาก็มีการใช้ ไม้หนอากาศ ส่ วนสระเอียใช้เขียนเป็ น "ย" เช่น วยง "เวียง" สยง "เสี ยง" โดย ั ภาพรวมแล้ว สระที่มีการเขียนเป็ นตัวอักษรแทนเสี ยงมีจานวนเท่ากับสระใน ปัจจุบน ั
  • 21. วรรณยุกต ์ • รู ปวรรณยุกต์ที่ใช้เขียนกากับในยุคสุ โขทัยมีเพียง ๒ รู ป คือ ไม้เอก และไม้โท แต่ ไม้โทใช้เป็ นเครื่ องหมายกากบาทแทน สิ่ งที่น่าสังเกตเกี่ยวกับรู ปวรรณยุกต์คือ ไม่ใช่ตวอักษรแทนเสี ยงในทานองเดียวกับตัวพยัญชนะและสระ เพราะไม้เอก ั ไม่ได้กากับเฉพาะคาที่มีเสี ยงเอกเท่านั้น ใน ทานองเดียวกันไม้โทก็ไม่ได้กากับ เสี ยงโทเท่านั้นแต่เสี ยงวรรณยุกต์เปลี่ยนไปตามลักษณะพยัญชนะต้นของคา คือ ไม้เอก บอกเสี ยงเอกในคาที่ข้ ึนต้นด้วยอักษรสู งและกลาง แต่บอกเสี ยงโทในคาที่ ขึ้นต้นด้วยอักษรต่า
  • 22. • รู ปวรรณยุกต์ที่ใช้เขียนกากับในยุคสุ โขทัยมีเพียง ๒ รู ป คือ ไม้เอก และไม้โท แต่ ไม้โทใช้เป็ นเครื่ องหมายกากบาทแทน สิ่ งที่น่าสังเกตเกี่ยวกับรู ปวรรณยุกต์คือ ไม่ใช่ตวอักษรแทนเสี ยงในทานองเดียวกับตัวพยัญชนะและสระ เพราะไม้เอก ั ไม่ได้กากับเฉพาะคาที่มีเสี ยงเอกเท่านั้น ใน ทานองเดียวกันไม้โทก็ไม่ได้กากับ เสี ยงโทเท่านั้นแต่เสี ยงวรรณยุกต์เปลี่ยนไปตามลักษณะพยัญชนะต้นของคา คือ ไม้เอก บอกเสี ยงเอกในคาที่ข้ ึนต้นด้วยอักษรสู งและกลาง แต่บอกเสี ยงโทในคาที่ ขึ้นต้นด้วยอักษรต่า
  • 23. ตัวเลขไทย • ตัวเลขนับเป็ นส่ วนสาคัญของการเขียน ดังเราได้ทราบแล้วว่า การบันทึก ระยะแรกๆ ของภาษาโบราณของโลก เป็ นการบันทึกเรื่ องจานวนสิ่ งของและผูคน ้ และตัวเลขก็ยงมีความสาคัญตลอดมา ั ตัวเลขไทยคงจะประดิษฐ์ข้ ึนในเวลาเดียวกันกับตัวอักษรอื่นๆ แม้ในศิลา จารึ กสุ โขทัยหลักที่ ๑ เราจะไม่พบเลขครบทั้ง ๑๐ ตัว ขาด ๓ ๖ ๘ และ ๙ แต่เราก็ ่ อนุมานได้ในทานองเดียวกับพยัญชนะว่าต้องมีตวเลขเหล่านี้อยูแล้ว เพราะการ ั ประดิษฐ์ตวเลขนั้นต้องเป็ นระบบและมีลาดับ ที่สาคัญเราพบตัวเลขที่ขาดไปใน ั ่ จารึ กสมัยของพระยาลิไท แสดงว่าตัวเลขทั้งหมดมีอยูแล้ว ตัวเลขสมัยสุ โขทัยเขียน แตกต่างไปจากตัวเลขสมัยปั จจุบนมาก ั
  • 24.
  • 25. จากสุโขทัยไปอยุธยา • จากนั้นในตานานมูลศาสนา (สันนิษฐานว่า เรี ยบเรี ยงขึ้นระหว่าง พ.ศ. ๒๐๐๐ – ๒๐๑๑) ได้กล่าวถึงพระภิกษุสุโขทัย ๘ รู ป ที่ได้ไปศึกษาพุทธศาสนานิกายลังกา วงศ์ที่เมืองพัน ครั้นกลับมาถึงสุ โขทัยแล้วต่างก็แยกย้ายกันไปเผยแพร่ พทธศาสนา ุ นิกายลังกาวงศ์ในเมืองต่างๆ ดังนี้ เจ้าปิ ยทัสสี เอาศาสนาไปประดิษฐานในอโยธยา เจ้าสุ วณณคีรีเอาศาสนาไปประดิษฐานในเมืองชะวา (หลวงพระบาง) เจ้าเวสสภูเอา ั ศาสนาไปประดิษฐานในเมืองน่าน
  • 26. • เจ้าอานนท์ (ศิษย์เจ้าสุ มนะ) ก็ปฏิบติอยูในป่ ามะม่วงเมืองสุ โขทัยแทนที่เจ้าสุ มนะ ั ่ เจ้าสุ มนะเอาศาสนาไปประดิษฐานในเชียงใหม่ เจ้าพุทธสาคร เจ้าสุ ชาตะ เจ้าเขมะ และเจ้าสัทธาติสสะ นั้น ช่วยกันปฏิบติอยูในเมืองสองแคว คาดว่าพระภิกษุท้ ง ๘ ั ่ ั รู ปดังกล่าว ได้แยกย้ายไปเผยแพร่ ศาสนา พร้อมนาอักษรไทยสุ โขทัยสมัยพระยาลิ ไทยที่ใช้บนทึกเรื่ องราวทางศาสนานั้นไปเผยแพร่ ดวย ดังหลักฐานที่ปรากฏใน ั ้ จารึ กวัดพระยืน (ลพ. ๓๘) ที่กล่าวถึงการนิมนต์พระสุ มนเถระจากสุ โขทัยไปยังล้าน
  • 27. บทสรุป • ตัวอักษรที่เราใช้เขียนในราชการ ในโรงเรี ยน และในการสื่ อสารทัวๆ ไป ใน ่ ่ ปัจจุบนเป็ นตัวเขียนที่มีวิวฒนาการสื บทอดมาจากลายสื อไทยที่พอขุนรามคาแหง ั ั ทรงประดิษฐ์ข้ ึนที่เราได้เห็นในศิลาจารึ กสุ โขทัยหลักที่ ๑ จาก "การจารึ ก" บนแผ่น ศิลา มาสู่ การเขียนด้วยมือ และในปั จจุบนนอกจากการเขียนแล้ว เรายัง "พิมพ์" ั ภาษาไทยด้วยพิมพ์ดีด และด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ อีกด้วยรู ปร่ างลักษณะของ ตัวหนังสื อไทยได้เปลี่ยนไปตามกาลเวลาและเทคโนโลยีของแต่ละยุค ่ เช่น เดียวกับคนไทยที่เปลี่ยนลักษณะชีวิตความเป็ นอยูไปตามกาลเวลาและ สภาพแวดล้อม
  • 28. • ในสมัยอยุธยามีการเรี ยนการสอนภาษาไทยดังเห็นได้จากมีตารา สอนอ่านและเขียนภาษาไทยเกิดขึ้น ชื่อว่า จินดามณี คนไทยนิยมแต่งโคลงกลอน (และแต่งตาราต่างๆ) ในยุคนี้คนมีโอกาสเขียนหนังสื อ การเขียนคงแพร่ หลาย มากกว่ายุคสุ โขทัย และเป็ นการเขียนด้วยมือ ตัวหนังสื อจึงพัฒนาเปลี่ยนไปมาก และมีลกษณะใกล้เคียงกับตัวเขียนในปั จจุบน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็ นเรื่ อง ั ั ของการเขียนตัวอักษรเท่านั้น ส่ วนระบบการเขียนยังคงเดิม นอกจากอักษรไทยที่สืบทอดมาจากสุ โขทัยที่กล่าวมาแล้ว ในเมืองไทยยังมี ตัวอักษรพื้นเมืองอื่นๆ ที่รู้จกกันอีกคือ ตัวอักษรฝักขาม และตัวอักษรพื้นเมือง ั ล้านนา ซึ่ งในปั จจุบนไม่ได้ใช้เขียนอ่านในชีวิตประจาวันแล้ว ั
  • 29. แหล่ งอ้ างอิง • http://kongprateep76.wikispaces.com/%E0%B8 %97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1 %E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0 %B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8 %A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97 %E0%B8%A2 • หนังสื อ อักษรไทยมาจากไหน ของ สุ จิตต์ วงษ์เทศ • หนังสื อ ตาราเรี ยนอักษรไทยโบราณ ของ รศ.กรรณิ การ์ วิมลเกษม • กรรณิ การ์ วิมลเกษม. “พัฒนาการของอักษรโบราณในประเทศไทย.” ใน สังคม และวัฒนธรรมใน
  • 30. • ประเทศไทย = Thailand : culture and society. กรุ งเทพฯ : ศูนย์ มานุษยวิทยาสิ รินธร, ๒๕๔๒. • กาธร สถิรกุล. ลายสื อไทย 700 ปี . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพฯ : องค์การค้าของคุรุ สภา, ๒๕๔๓. • ตรงใจ หุ ตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี . “จารึ กพ่อขุนรามคาแหง.” ใน ฐานข้อมูลจารึ กในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร, ๒๕๔๖ (online). เปิ ดข้อมูลเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ หาข้อมูลจาก http://www.sac.or.th/jaruk/
  • 31. • ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี . “จารึกวัดป่ า มะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ ๑,” ในฐานข้ อมูลจารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๔๖ (online). เปิ ดข้ อมูลเมื่อ ๑ มิถนายน ๒๕๕๐ หาข้ อมูลจาก ุ http://www.sac.or.th/jaruk/ • ธวัช ปุณโณทก. ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย – ลาว : ศึกษาทางด้ านอักข รวิทยาและประวัติศาสตร์ อีสาน.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง, ๒๕๓๐.