SlideShare a Scribd company logo
ดินถล่ม
ดินถล่ม (Landslide or Mass movement) คือการเคลื่อนที่ของมวลดิน หรือหิน ลงมาตามลาด
เขาด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลก โดยปรกติ ดินถล่มที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่ “ น้้า ” จะ
มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดดินถล่มเสมอ โดยน้้าจะเป็นตัวลดแรงต้านทานในการเคลื่อนตัวของมวลดิน
หรือหิน และน้้าจะเป็นตัวที่ท้าให้คุณสมบัติของดินที่เป็นของแข็งเปลี่ยนไปเป็นของไหลได้
ดินถล่ม เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดได้ทั่วไปในบริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง อย่างไรก็ตาม ใน
บริเวณที่มีความลาดชันต่้าก็สามารถเกิดดินถล่มได้ถ้ามีปัจจัยที่ก่อให้เกิดดินถล่ม โดยทั่วไปบริเวณที่
มักจะเกิดดินถล่ม คือ บริเวณที่ใกล้กับแนวรอยเลื่อนที่มีพลังและมีการยกตัวของแผ่นดินขึ้นเป็นภูเขาสูง
บริเวณที่ทางน้้ากัดเซาะเป็นโตรกเขาลึกและชัน บริเวณที่มีแนวรอยแตกและรอยแยกหนาแน่นบนลาด
เขา บริเวณที่มีการผุพังของหินและท้าให้เกิดชั้นดินหนาบนลาดเขา ในบริเวณที่มีความลาดชันต่้าและมี
ดินที่เกิดจากการผุพังของชั้นหินบนลาดเขาหนา ดินถล่มมักเกิดจากการที่น้าซึมลงในชั้นดินบนลาดเขา
และเกิดแรงดันของน้้าเพิ่มขึ้นในชั้นดินโดยเฉพาะในช่วงที่ฝนตกหนัก
การจาแนกชนิดของดินถล่ม
ประเภทของดินถล่มจ้าแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุที่พังทลายลงมา ได้แก่
• การร่วงหล่น ( Falls)
เป็นการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วลงมาตามลาดเขาหรือ
หน้าผาสูงชัน โดยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลก อาจเกิด
การตกอย่างอิสระ หรือมีการกลิ้งลงมาตามลาดเขาร่วมด้วย
โดยมีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องน้อย หรือไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง
• การล้มควา ( Topples) เป็นการเคลื่อนที่โดยมีการหมุน
หรือล้มคว่้าลงมาตาม ลาดเขา มักพบว่าเกิดเชิงหน้าผาดินหรือ
หินที่มีรอยแตกรอยแยกมาก โดยกระบวนการเกิดดินถล่มมี
น้้าเข้ามาเกี่ยวข้องน้อย หรือไม่มีน้าเข้ามาเกี่ยวข้อง
• การลืนไถล ( Slides) การเกิดดินถล่มชนิดนี้มีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ สามารถ จ้าแนกตามลักษณะ
ของระนาบการเคลื่อนที่ ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
- Rotational slide เป็นการลื่นไถล ของวัตถุลงมาตาม
ระนาบของการเคลื่อนที่ที่มีลักษณะโค้งครึ่งวงกลมคล้ายช้อน (
Spoon-shaped ) ท้าให้มีการหมุนตัวของวัตถุขณะเคลื่อนที่ การ
เคลื่อนที่จะเป็นไปอย่างช้าๆ ซึ่งลักษณะดังกล่าวมักเกิดขึ้นใน
บริเวณที่ดินมีความเป็นเนื้อเดียวกัน ( Homogeneous material )
เช่น บริเวณที่ชั้นดินหนามาก หรือ ดินที่น้ามาถม เป็นต้น
- Translational slide เป็นการลื่นไถลลงมาตามระนาบการ
เคลื่อนที่มีลักษณะค่อนข้างตรง ส่วนใหญ่เป็นการเคลื่อนที่ตาม
ระนาบของโครงสร้างทางธรณีวิทยา เช่น ตามระนาบรอย แตก (
joint ) ระนาบทิศทางการวางตัวของชั้นหิน ( bed ) รอยต่อ
ระหว่างชั้นดินและหิน
• การแผ่ออกทางด้านข้าง ( Lateral spread ) ส่วนใหญ่จะเกิด
บนพื้นราบ หรือพื้นที่ที่มีความลาดชันน้อย โดยชั้นดินจะ
ประกอบด้วยตะกอนขนาดละเอียดมาก การเกิดส่วนมาก มาจาก
การที่มีหินหรือดินที่แข็งและไม่อุ้มน้้าวางตัวทับอยู่บนชั้นดินที่อุ้ม
น้้า เมื่อชั้นดินที่อุ้มน้้าถูกทับด้วยน้้าหนักที่มากก็จะไหลออก
ด้านข้าง ท้าให้ชั้นดิน ชั้นหินที่อยู่ด้านบนแตกออกและยุบตัว
• การไหล (Flows) กระบวนการเกิดดินถล่มมีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องมากที่สุด น้้าท้าให้ ตะกอนมีลักษณะ
เป็นของไหลและเคลื่อนที่ไปบนพื้นระนาบลาดเขา ลงไปกองทับถมกันที่ช่วงล่างของ ลาดเขาหรือเชิงเขา
ตะกอนอาจเคลื่อนที่ไปได้เป็นระยะทางไกล และความเร็วในการเคลื่อนที่อาจสูงมาก ถ้าลาดเขามีความ
ชันสูง
ปัจจัยการเกิดดินถล่ม
1.สภาพธรณีวิทยา
โดยปกติชั้นดินที่เกิดการถล่มลงมาจากภูเขา เป็นชั้นดินที่เกิดจากการผุกร่อนของหิน ให้เกิด
เป็นดิน โดยหินแต่ละชนิดเวลาผุจะให้ชนิดและความหนาของดินที่แตกต่างกันออกไป เนื่องจากชั้นหิน
แต่ละชนิดมีอัตราการผุพังไม่เท่ากัน
2.สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศเป็นผลที่เกิดจากขบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก การผุพังที่แตกต่าง
กันของชั้นหินและลักษณะการวางตัวของโครงสร้างชั้นหิน ซึ่งเป็นปัจจัยอีกตัวที่มีผลต่อเสถียรภาพของ
ดินบนภูเขา ค่าความลาดชันจะมีความสัมพันธ์โดยตรง กับเสถียรภาพของดินที่อยู่บนภูเขา
3.ปริมาณน้้าฝน
ดินถล่มจะเกิดขึ้นเมื่อฝนตกหนักเป็นเวลานาน โดยน้้าฝนจะไหลซึมลงไปในชั้นดินจนกระทั่งชั้น
ดินชุ่มน้้า ไม่สามารถอุ้มน้้าไว้ได้ เนื่องจากความดันของน้้าในดินเพิ่มขึ้น ( Piezometric head ) เป็นการ
เพิ่มความดันในช่องว่างของเม็ดดิน ( Pore Pressure ) ดันให้ดินมีการเคลื่อนที่ลงมาตามลาดเขาได้ง่าย
4.สภาพสิ่งแวดล้อม
พบว่าพื้นที่เกิดดินถล่มส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ภูเขาสูงชันและหลายๆ พื้นที่พบว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีการเปลี่ยนแปลงสภาพป่าเป็นสวนยางพาราโดยเฉพาะพวกต้นยาง
ที่ยังมีขนาดเล็ก มีการบุกรุกท้าลายป่าไม้เพื่อท้าไร่และท้าการเกษตรบนที่สูง
ลักษณะพื้นทีเสียงภัยดินถล่ม
- อยู่ติดภูเขาและใกล้ล้าห้วย
- มีร่องรอยดินไหลหรือดินเลื่อนบนภูเขา
- มีรอยแยกของพื้นดินบนภูเขา
- อยู่บนเนินหน้าหุบเขาและเคยมีโคลนถล่มมาบ้าง
- ถูกน้้าป่าไหลหลากและท่วมบ่อย
ข้อสังเกตุหรือสิงบอกเหตุ
- มีฝนตกหนักถึงหนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน)
- ระดับน้้าในห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
- สีของน้้าเปลี่ยนเป็นสีของดินบนภูเขา
- มีเสียงดัง อื้ออึง ผิดปกติดังมาจากภูเขาและล้าห้วย
- น้้าท่วมหมู่บ้าน และเพิ่มระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว
ทีมา : ส้านักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและธรณีพิบัติภัย กรมทรัพยากรธรณี

More Related Content

What's hot

ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
สุกัญญา นิ่มพันธุ์
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
oraneehussem
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
soysuwanyuennan
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังWan Ngamwongwan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
soysuwanyuennan
 
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
soysuwanyuennan
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศี
netissfs
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
soysuwanyuennan
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศkrupornpana55
 
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบพัน พัน
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
wiriya kosit
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศjihankanathip
 
พลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพัน พัน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
soysuwanyuennan
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
tinnaphop jampafaed
 

What's hot (20)

ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศี
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
พลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพลังงานความร้อน
พลังงานความร้อน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 

More from Nattha Namm

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟNattha Namm
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปNattha Namm
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามNattha Namm
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Nattha Namm
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมNattha Namm
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาNattha Namm
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นNattha Namm
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 

More from Nattha Namm (14)

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้น
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

ดินถล่ม

  • 1. ดินถล่ม ดินถล่ม (Landslide or Mass movement) คือการเคลื่อนที่ของมวลดิน หรือหิน ลงมาตามลาด เขาด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลก โดยปรกติ ดินถล่มที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่ “ น้้า ” จะ มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดดินถล่มเสมอ โดยน้้าจะเป็นตัวลดแรงต้านทานในการเคลื่อนตัวของมวลดิน หรือหิน และน้้าจะเป็นตัวที่ท้าให้คุณสมบัติของดินที่เป็นของแข็งเปลี่ยนไปเป็นของไหลได้ ดินถล่ม เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดได้ทั่วไปในบริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง อย่างไรก็ตาม ใน บริเวณที่มีความลาดชันต่้าก็สามารถเกิดดินถล่มได้ถ้ามีปัจจัยที่ก่อให้เกิดดินถล่ม โดยทั่วไปบริเวณที่ มักจะเกิดดินถล่ม คือ บริเวณที่ใกล้กับแนวรอยเลื่อนที่มีพลังและมีการยกตัวของแผ่นดินขึ้นเป็นภูเขาสูง บริเวณที่ทางน้้ากัดเซาะเป็นโตรกเขาลึกและชัน บริเวณที่มีแนวรอยแตกและรอยแยกหนาแน่นบนลาด เขา บริเวณที่มีการผุพังของหินและท้าให้เกิดชั้นดินหนาบนลาดเขา ในบริเวณที่มีความลาดชันต่้าและมี ดินที่เกิดจากการผุพังของชั้นหินบนลาดเขาหนา ดินถล่มมักเกิดจากการที่น้าซึมลงในชั้นดินบนลาดเขา และเกิดแรงดันของน้้าเพิ่มขึ้นในชั้นดินโดยเฉพาะในช่วงที่ฝนตกหนัก การจาแนกชนิดของดินถล่ม ประเภทของดินถล่มจ้าแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุที่พังทลายลงมา ได้แก่ • การร่วงหล่น ( Falls) เป็นการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วลงมาตามลาดเขาหรือ หน้าผาสูงชัน โดยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลก อาจเกิด การตกอย่างอิสระ หรือมีการกลิ้งลงมาตามลาดเขาร่วมด้วย โดยมีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องน้อย หรือไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง • การล้มควา ( Topples) เป็นการเคลื่อนที่โดยมีการหมุน หรือล้มคว่้าลงมาตาม ลาดเขา มักพบว่าเกิดเชิงหน้าผาดินหรือ หินที่มีรอยแตกรอยแยกมาก โดยกระบวนการเกิดดินถล่มมี น้้าเข้ามาเกี่ยวข้องน้อย หรือไม่มีน้าเข้ามาเกี่ยวข้อง
  • 2. • การลืนไถล ( Slides) การเกิดดินถล่มชนิดนี้มีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ สามารถ จ้าแนกตามลักษณะ ของระนาบการเคลื่อนที่ ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ - Rotational slide เป็นการลื่นไถล ของวัตถุลงมาตาม ระนาบของการเคลื่อนที่ที่มีลักษณะโค้งครึ่งวงกลมคล้ายช้อน ( Spoon-shaped ) ท้าให้มีการหมุนตัวของวัตถุขณะเคลื่อนที่ การ เคลื่อนที่จะเป็นไปอย่างช้าๆ ซึ่งลักษณะดังกล่าวมักเกิดขึ้นใน บริเวณที่ดินมีความเป็นเนื้อเดียวกัน ( Homogeneous material ) เช่น บริเวณที่ชั้นดินหนามาก หรือ ดินที่น้ามาถม เป็นต้น - Translational slide เป็นการลื่นไถลลงมาตามระนาบการ เคลื่อนที่มีลักษณะค่อนข้างตรง ส่วนใหญ่เป็นการเคลื่อนที่ตาม ระนาบของโครงสร้างทางธรณีวิทยา เช่น ตามระนาบรอย แตก ( joint ) ระนาบทิศทางการวางตัวของชั้นหิน ( bed ) รอยต่อ ระหว่างชั้นดินและหิน • การแผ่ออกทางด้านข้าง ( Lateral spread ) ส่วนใหญ่จะเกิด บนพื้นราบ หรือพื้นที่ที่มีความลาดชันน้อย โดยชั้นดินจะ ประกอบด้วยตะกอนขนาดละเอียดมาก การเกิดส่วนมาก มาจาก การที่มีหินหรือดินที่แข็งและไม่อุ้มน้้าวางตัวทับอยู่บนชั้นดินที่อุ้ม น้้า เมื่อชั้นดินที่อุ้มน้้าถูกทับด้วยน้้าหนักที่มากก็จะไหลออก ด้านข้าง ท้าให้ชั้นดิน ชั้นหินที่อยู่ด้านบนแตกออกและยุบตัว • การไหล (Flows) กระบวนการเกิดดินถล่มมีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องมากที่สุด น้้าท้าให้ ตะกอนมีลักษณะ เป็นของไหลและเคลื่อนที่ไปบนพื้นระนาบลาดเขา ลงไปกองทับถมกันที่ช่วงล่างของ ลาดเขาหรือเชิงเขา ตะกอนอาจเคลื่อนที่ไปได้เป็นระยะทางไกล และความเร็วในการเคลื่อนที่อาจสูงมาก ถ้าลาดเขามีความ ชันสูง
  • 3. ปัจจัยการเกิดดินถล่ม 1.สภาพธรณีวิทยา โดยปกติชั้นดินที่เกิดการถล่มลงมาจากภูเขา เป็นชั้นดินที่เกิดจากการผุกร่อนของหิน ให้เกิด เป็นดิน โดยหินแต่ละชนิดเวลาผุจะให้ชนิดและความหนาของดินที่แตกต่างกันออกไป เนื่องจากชั้นหิน แต่ละชนิดมีอัตราการผุพังไม่เท่ากัน 2.สภาพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศเป็นผลที่เกิดจากขบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก การผุพังที่แตกต่าง กันของชั้นหินและลักษณะการวางตัวของโครงสร้างชั้นหิน ซึ่งเป็นปัจจัยอีกตัวที่มีผลต่อเสถียรภาพของ ดินบนภูเขา ค่าความลาดชันจะมีความสัมพันธ์โดยตรง กับเสถียรภาพของดินที่อยู่บนภูเขา 3.ปริมาณน้้าฝน ดินถล่มจะเกิดขึ้นเมื่อฝนตกหนักเป็นเวลานาน โดยน้้าฝนจะไหลซึมลงไปในชั้นดินจนกระทั่งชั้น ดินชุ่มน้้า ไม่สามารถอุ้มน้้าไว้ได้ เนื่องจากความดันของน้้าในดินเพิ่มขึ้น ( Piezometric head ) เป็นการ เพิ่มความดันในช่องว่างของเม็ดดิน ( Pore Pressure ) ดันให้ดินมีการเคลื่อนที่ลงมาตามลาดเขาได้ง่าย 4.สภาพสิ่งแวดล้อม พบว่าพื้นที่เกิดดินถล่มส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ภูเขาสูงชันและหลายๆ พื้นที่พบว่ามีการ เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีการเปลี่ยนแปลงสภาพป่าเป็นสวนยางพาราโดยเฉพาะพวกต้นยาง ที่ยังมีขนาดเล็ก มีการบุกรุกท้าลายป่าไม้เพื่อท้าไร่และท้าการเกษตรบนที่สูง ลักษณะพื้นทีเสียงภัยดินถล่ม - อยู่ติดภูเขาและใกล้ล้าห้วย - มีร่องรอยดินไหลหรือดินเลื่อนบนภูเขา - มีรอยแยกของพื้นดินบนภูเขา - อยู่บนเนินหน้าหุบเขาและเคยมีโคลนถล่มมาบ้าง - ถูกน้้าป่าไหลหลากและท่วมบ่อย ข้อสังเกตุหรือสิงบอกเหตุ - มีฝนตกหนักถึงหนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน) - ระดับน้้าในห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว - สีของน้้าเปลี่ยนเป็นสีของดินบนภูเขา - มีเสียงดัง อื้ออึง ผิดปกติดังมาจากภูเขาและล้าห้วย - น้้าท่วมหมู่บ้าน และเพิ่มระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว ทีมา : ส้านักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและธรณีพิบัติภัย กรมทรัพยากรธรณี