SlideShare a Scribd company logo
1
นันทนาการ
ในแตละวันนอกจากเราจะจัดสรรเวลาเพื่อการทํางานและการพักผอนนอนหลับแลว
นันทนาการ หรือ กิจกรรมที่บุคคลเลือกทําในยามวาง นับเปนสิ่งจําเปนที่เราจะตองจัดสรรเวลาไว
ใหเพื่อความเพลิดเพลิน และผอนคลายจากความตึงเครียดในการทํางาน
นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลเลือกทําดวยความสมัครใจ ในเวลาวาง โดยมีความ
พอใจหรือความสุขใจในการทํากิจกรรมเปนจูงใจในการเขารวมกิจกรรมนั้น
นันทนาการ มีลักษณะสําคัญหลายประการ ไดแก
1. มีลักษณะเปนกิจกรรม คือ ตองมีการกระทําที่ทําใหกลามเนื้อ หรือ อวัยวะสวนใดสวน
หนึ่งมีการเคลื่อนที่ หากอยูเฉย ๆ เชน การนอนหลับหรือพฤติกรรมที่แสดงออกถึง
ความเกียจครานไมถือวาเปนนันทนาการ
2. เปนกิจกรรมที่ผูกระทําเขารวมดวยความสมัครใจ ไมมีใครหรือเหตุปจจัยที่มาบังคับให
ทํากิจกรรมนั้น มีความสุขความพอใจที่จะทําและไมเกิดความตึงเครียดในการทํากิจ
กรรมนั้น
3. เปนกิจกรรมที่ทําในเวลาวาง วางจากการทํางาน ภาระกิจประวัน และไมนําเวลาที่
ควรจะนอนหลับพักผอนมาทํากิจกรรมนั้นจนเสียสุขภาพ
4. กิจกรรมที่ทํานั้นไมไดมุงเนนเพื่อหารายได หรือเปนอาชีพ
5. เปนกิจกรรมที่มีคุณคาตอผูประกอบกิจกรรม และเปนกิจกรรมที่พึงประสงคของสังคม
ไมเปนอบายมุข
การเลือกเขารวมกิจกรรมนันทนาการ
นันทนาการมีอยูมากมาย ใหเราเลือกเขารวมกิจกรรมได เชน
ในชุมชน มักจะมีการจัดงานในเทศกาลตาง ๆ เชน งานสงกรานต งานลอยกระทง งาน
ฤดูหนาว
ในที่ทํางาน หากเปนองคกรที่มีขนาดใหญก็มักจะมีหองออกกําลังกาย หรือสนามกีฬา
จัดไวให รวมทั้งการจัดงานสังสรรคประจําประหวางพนักงาน
ในโรงเรียน ผูบริหารโรงเรียน มักจัดกิจกรรมสําหรับนักเรียนในชวงเทศกาลตาง ๆ เชนกัน
รวมทั้งงานกีฬานักเรียนและงานวันเด็ก
ในครอบครัว หัวหนาครอบครัว ควรใสใจ จัดใหมีกิจกรรมนันทนาการรวมกันระหวาง
สมาชิกในครอบครัว อาจเปนงานอดิเรกที่ทํารวมกัน การรับประทานอาหาร การทองเที่ยวในชวง
วันหยุด เพื่อใหสมาชิกในครอบครัวมีความอบอุนมากขึ้น
2
นอกจากที่กลาวมาแลวปจจุบันยังมีกิจกรรมนันทนาการที่มีผูจัดขึ้นในลักษณะการคา เรา
อาจไปหาความเพลิดเพลินไดเปนครั้งคราว เชน สวนสัตว สวนสนุก โรงภาพยนตร และสถาน
บันเทิงรูปแบบอื่น ๆ
ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ
กิจกรรมนันทนาการมีหลายประเภท เพื่อใหบุคคลเขารวมทํากิจกรรมไดตามความสนใน
ดังนี้
1. การฝมือและศิลปหัตถกรรม (Arts and crafts) เปนงานฝมือหรือสิ่งประดิษฐตาง ๆ
เชน การวาดรูป งานแกะสลัก งานปน การประดิษฐดอกไม เย็บปกถักรอย ทําตุกตา
ประดิษฐขาวของเครื่องใช และงานศิลปะอื่น ๆ
2. เกมส กีฬา และกรีฑา (Games, sport and track and fields) กิจกรรมนันทนาการ
ประเภทนี้เปนที่นิยมกันอยางแพรหลาย แบงไดเปน 2 กลุมใหญ คือ กีฬากลางแจง
(Outdoor Games) ไดแก กีฬาที่ตองใชสนามกลางแจง เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอล
และกิจกรรมกลางแจงอื่น ๆ กีฬาในรม (Indoor Games) ไดแก กิจกรรมในโรง
ยิมเนเซียม หรือในหองนันทนาการ เชน แบดมินตัน เทเบิลเทนนิส หมากรุก ฯลฯ
3. ดนตรีและรองเพลง (Music) เปนกิจกรรมนันทนาการที่ใหความบันเทิง ดนตรีเปน
ภาษาสากลที่ทุกชาติทุกภาษาสามารถเขาใจเหมือนกัน แตละชาติแตละทองถิ่นจะมี
เพลงพื้นบานของตนเอง และเครื่องดนตรีพื้นบาน เราสามารถเลือกไดตามความสนใจ
ไมวาจะเปนสากลหรือพื้นบาน
4. ละครและภาพยนตร (Drama) เปนนันทนาการประเภทใหความรูความบันเทิง ความ
สนุกสนานเพลิดเพลิน และสะทอนใหเห็นถึงสภาพจริงของสังคมยุคนั้น ๆ
5. งานอดิเรก (Hobbies) เปนกิจกรรมนันทนาการที่ชวยใหการดําเนินชีวิตประจําวัน มี
ความสุข เพลิดเพลิน งานอดิเรกมีหลายประเภท สามารถเลือกไดตามความสนใจ
เชน
5.1 ประเภทสะสม เปนการใชเวลาวางในการสะสม สิ่งที่ชอบสิ่งที่สนใจ ที่นิยมกัน
มาก ไดแก การสะสมแสตมป เหรียญเงินในสมัยตาง ๆ อาจเปนของในประเทศ
และตางประเทศ การสะสมบัตรโทรศัพท ฯลฯ
5.2 การปลูกตนไม เปนงานอดิเรกที่ใหทั้งความเพลิดเพลิน และไดออกกําลังกาย
และไดผักสดปลอดจากสารพิษไวรับประทานหากเปนการปลูกพืชผักสวนครัว
5.3 การเลี้ยงสัตว อาจเปนการเลี้ยงในลักษณะไวเปนอาหาร เชน เลี้ยงเปด เลี้ยงไก
นกกระทา หรือเลี้ยงไวดูเลน เชน เลี้ยงสุนัข แมว นกปลา ฯ การเลี้ยงสัตวเปนกิจ
3
กรรมที่ชวยเสริมสรางลักษณะนิสัยของเด็กใหมีจิตใจออนโยน และฝกความรับ
ผิดชอบ
5.4 การถายรูป เปนงานอดิเรกที่นาสนใจอีกอยางหนึ่ง แตคาใชจายอาจจะคอนขาง
สูง เนื่องจากอุปกรณราคาแพง และมีคาใชจายเกี่ยวกับการเดินทางเขามาเกี่ยว
ของ หากไมมีขอจํากัดทางดานเศรษฐกิจ การถายรูปก็เปนกิจกรรมที่ใหความ
เพลินเพลิดและความภาคภูมิใจตอผูทํากิจกรรมมาก
6. กิจกรรมทางสังคม (Social activities) เปนกิจกรรมที่กลุมคนในสังคมรวมจัดขึ้น โดย
มี จุดมุงหมายเดียวกัน เชน การจัดเลี้ยงปใหม งานเลี้ยงวันเกิด กานฉลองในโอกาส
พิเศษตาง ๆ
7. เตนรํา ฟอนรํา (Dance) เปนกิจกรรมที่ใชจังหวะตาง ๆ เปนกิจกรรมที่ใหความสนุก
สนาน เชน เตนรําพื้นเมือง การรําไทย รําวง นาฏศิลป ลีลาศ
8. กิจกรรมนอกเมือง (Outdoor activities) เปนกิจกรรมนันทนาการนอกสถานที่ ที่ให
โอกาสมนุษยไดเรียนรูธรรมชาติ ไดพักผอน เชน การอยูคายพักแรม ไปทองเที่ยวตาม
แหลงธรรมชาติ
9. ทัศนศึกษา (Field trip) เพื่อศึกษาศิลปวัฒนธรรม ตามวัดวาอาราม หรือศึกษาความ
กาวหนาในดานตาง ๆ ในนิทรรศการหรืองานแสดงตาง ๆ
10. กิจกรรมพูด เขียน อาน ฟง (Speaking Writing and Reading) การพูด เขียน อาน
ฟง ที่นับวาเปนกิจกรรมนันทนาการ ไดแก
10.1 การพูด ไดแก การคุย การโตวาที การปาถกถา ฯ
10.2 การเขียน ไดแก การเขียนบันทึกเรื่องราวประจําวัน เขียนบทกวี เขียนเพลง เรื่อง
สั้น บทความ ฯ
10.3 การอาน ไดแก การอานหนังสือพิมพ อานหนังสือทั่ว ๆ ไป ที่ใหทั้งความรูและ
ความเพลิดเพลิน
10.4 การฟง ไดแก การฟงวิทยุ ฟงอภิปราย โตวาที ทอลคโชว ฯ
11. กิจกรรมอาสาสมัคร (Voluntary Recreation) เปนกิจกรรมบะเพ็ญประโยชนที่บุคคล
เขารวมดวยความสมัครใจ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนา และกิจกรรมอาสาสมัครตาง ๆ
หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ
กิจกรรมนันทนาการมีหลายประเภท บุคคลแตละคนยอมมีความแตกตางกันในเรื่องความ
ชอบและความถนัด นอกจากนี้ การเลือกกิจกรรมนันทนาการยังตองคํานึงลักษณะงานประจําที่ทํา
4
อยู และฐานะทางเศรษฐกิจ เพื่อใหการดําเนินชีวิตเปนไปอยางมีความสุข หลักการเลือกกิจกรรม
นันทนาการมี ดังนี้
1. คํานึงถึงวัย การเลือกกิจกรรมนันทนาการควรเหมาะกับวัยของผูทํากิจกรรม เชน เด็ก
ควรใหมีกิจกรรมประเภทที่มีการเคลื่อนไหวรางกาย เพื่อใหพัฒนาการทางรางกาย
เปนไปอยางเหมาะสม การดูวีดีทัศน หรือการเลนเกมสคอมพิวเตอรติดตอกันนาน ๆ
นานทําใหเด็กเกิดความตึงเครียด กิจกรรมประเภทนี้ควรกําหนดชวงเวลาไมเกิน 1 ชั่ว
โมง สวนในผูสูงอายุมักมีขอจํากัดในดานการใชแรงกาย โดยเฉพาะผูที่ไมไดออกกําลัง
กายมาตั้งแตวัยหนุมสาว การเลือกกิจกรรมนันทนาการ จึงควรเลือกประเภทที่ไมใช
แรงกายมากนัก เชน ดูแลตนไม ดูโทรทัศน งานสะสมสิ่งที่มีคุณคาทางจิตใจ ฯ
2. คํานึงถึงสุขภาพ บางคนอาจมีขอจํากัดทางดานสุขภาพ ทําใหไมเหมาะแกการเขารวม
กิจกรรมบางประเภท เชน ผูเปนโรคหัวใจไมเหมาะกับกีฬาประเภทหักโหม คนสายตา
ไมดีอาจไมเหมาะกับงานเย็บปกที่ตองใชสายตามาก เราจึงควรหลีกเลี่ยงนันทนาการ
ที่อาจเปนผลเสียตอสุขภาพของตนเอง แมนวาสิ่งนั้นจะเปนสิ่งที่ชอบหรือถนัด
3. คํานึงถึงความถนัดหรือความชอบของตนเอง การเลือกสิ่งที่ตนเองชอบหรือถนัดจะ
ชวยใหเกิดความรูสึกเพลิดเพลินในการทํากิจกรรมนั้น ในกลุมวัยรุนบางครั้งพบวาอยู
ในชวงของการแสวงหา ยังไมพบวาแทจริงแลวตนเองชอบอะไร จึงพบวาทํากิจกรรม
บางอยางไมสําเร็จ แลวละทิ้ง
4. คํานึงถึงลักษณะงานประจําวัน งานแตละประเภทจะมีความแตกตางกันดานการใช
ความคิด และการเคลื่อนไหว เราควรเลือกนันทนาการที่สอดคลองกับลักษณะของ
งานประจํา เชน คนที่ทํางานสํานักงานที่สวนใหญนั่งอยูกับที่ ควรเลือกกิจกรรม
ประเภทที่ไดเคลื่อนไหวบาง เชน กีฬา ปลูกตนไม เลี้ยงสัตว สวนคนที่ตองใชแรงกาย
มากแลว นาจะเลือกกิจกรรมที่ไดพักกลามเนื้อ เชน ฟงเพลง ดูโทรทัศน หรือในชนบท
จะพบวา พอเสร็จจากงานในไรนา ชาวบานจะทํางานจักสาน เลนดนตรี หรือมี
การละเลนพื้นบานหลังฤดูเก็บเกี่ยว
5. คํานึงฐานะทางเศรษฐกิจ ดังที่ไดกลาวมาแลววา กิจกรรมบางประเภท มีคาใชจาย
คอนขางมาก การเลือกกิจกรรมนันทนาการ จึงควรหลีกเลี่ยงจากกิจกรรมที่อาจกอให
เกิดผลกระทบทางลบตอเศรษฐกิจของตนเองและครอบครัว
5
การปลูกผักสวนครัว
การปลูกผักสวนครัวเปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหสมาชิกภายในบาน ไดมีเวลาทํากิจกรรม
รวมกัน สรางความสัมพันธอันดีภายในครอบครัว เด็ก ๆ ไดเรียนรูการใชเวลาวางใหเปนประโยชน
ไดเรียนรูเรื่องพืชผัก สิ่งมีชีวิต แมลง ดิน จากการลงมือปฏิบัติเอง นอกจากนี้การปลูกพืชสวนครัว
ยังชวยใหผูปลูกลดความเสี่ยงจากการบริโภคผักที่ปนเปอนสารเคมีที่เกษตรกรสวนใหญนิยมใช กิจ
กรรมนี้จึงนับไดวาชวยสงเสริมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตของสมาชิกในครอบครัวใหดีขึ้น
พื้นที่ปลูก
การปลูกผักสวนครัวไมจําเปนตองปลูกบนพื้นดินเสมอไป หากไมมีบริเวณบานหรือมีพื้นที่
ดินนอย เราก็สามารถปลูกในกระถาง กะละมัง หรือภาชนะแขวนอื่น ๆ ได หากเปนดาดฟาอาจใช
ผาไนลอนชวยพลางแสง เพื่อใชเปนพื้นที่ปลูกไดเชนกัน
การปลูกเพื่อใหไดผลดี เราควรศึกษาวาพืชชนิดใด ชอบพื้นที่อยางไร โดยปกติผักกินใบ
และผักกินผล เชน คะนา กวางตุง พริก มะเขือ จะชอบที่โลงแจงแดดจัด สะระแหน ตะไคร ใบ
ชะพลู ใบบัวบก ชอบที่มีรมเงา หากเจอแดดจัดอาจตายได ดังนั้นกอนปลูกจึงตองศึกษาธรรมชาติ
ของพืชแตละชนิดกอน
คุณภาพดิน
ดินนับไดวาเปนหัวใจสําคัญของการปลูกพืช หากดินที่นํามาปลูกพืชมีคุณภาพไมดี เชน
ดินเปนดินเหนียวหรือดินเค็ม จําเปนตองปรับปรุงคุณภาพดินใหเหมาะแกการปลูกพืชชนิดที่
ตองการปลูก หรือเลือกปลูกพืชที่เหมาะกับสภาพดินที่มีอยู เชน หนอไมฝรั่งและมะเขือเทศ
สามารถปลูกไดในดินเค็ม
การปรับปรุงดินเหนียวและดินเค็ม สามารถทําไดโดยนําขี้เถาแกลบและปุยคอกมาผสม
คลุกเคลากับดิน จะทําใหดินรวนซุยขึ้นและพืชดูดซึมเกลือเขาสูลําตนไดนอยลง สวนผูนิยมซื้อดิน
สําเร็จใหเลือกชนิดที่มีใบกามปูและเปลือกถั่วมาก ๆ เพราะมีคุณภาพดีกวาดินที่ผสมดวยกาบ
มะพราวและแกลบ
การขยายพันธุพืช
การขยายพันธพืชโดยทั่วไปมีการขยายพันธโดยวิธีการใชเมล็ดและใชสวนของพืช
1. ใชเมล็ด การเลือกซื้อเมล็ดพันธุมาปลูก มีขอสังเกตในการเลือกโดยพิจารณา จากวัน
รวบรวมพันธุ ทดสอบพันธุ วันหมดอายุ เปอรเซ็นตความงอก ความบริสุทธิ์ของเมล็ด
6
พันธุ และดูคําแนะนําในการปลูกวาพืชนั้นเหมาะที่จะปลูกในชวงเวลาใด สภาพอากาศ
อยางไร การปลูกพืชโดยใชเมล็ด นิยมใชกับพืชจําพวกไมดอก พืชไรที่มีอายุสั้น และพืช
ที่ไมสามารถขยายพันธุโดยวิธีอื่นได การเพาะเมล็ดหากเปนพืชไรราคาเมล็ดไมแพง
นิยมเพาะในแปลงปลูกโดยตรงหากขึ้นหนาแนนมากจะถางออก แตหากเมล็ดราคา
แพงจะเพาะในแปลงกลาหรือกะบะกอน แลวจึงยายมาปลูกในแปลงจริง
2. การขยายพันธพืชโดยใชสวนตาง ๆ ของพืช เชน กิ่ง ลําตน หัว หนอ เหงา ทําไดหลาย
วิธีเชน การติดตา การทาบกิ่ง การตัดชํา และการแบงแยกหัว หนอ เปนตน การปลูกไม
ผลเพื่อใหไดผลผลิตเร็ว ไมกลายพันธุควรเลือกวิธี การตอน การทาบกิ่ง
การดูแลรักษา
1. การปลูกพืชตองมีการดูแลเรื่องการใหนํ้า ในขนาดที่เหมาะสมกับพืชแตละชนิด พืชบาง
ชนิดชอบนํ้ามาก บางชนิดชอบนํ้านอย
2. ความพอเหมาะของแสง ผักสวนครัวชนิดกินใบสวนใหญชอบแดดจัด เชน คะนา
กวางตุง ผักกาดขาว สวนชะพลู สะระแหน ชอบที่รม
3. การใหปุย การปลูกสวนครัวไมจําเปนตองใชปุยเคมี เพราะไมไดตองการเรงการเจริญ
เติบโตของพืชเพื่อประโยชนทางการคา การใชปุยเคมีเพียงอยางเดียวอาจทําใหโครง
สรางของดินเสียไป การบํารุงดินทําไดโดยการใชอินทรียวัตถุ เชน มูลสัตว และปุยหมัก
ที่ไดจากเศษวัชพืช หรือรดดวยนํ้าหมักเศษอาหารและอินทรียวัตถุตาง ๆ ที่เรียกกันวา
อีเอ็ม (Effective Microorganism)
4. การกําจัดศัตรูพืช ควรหลีกเลี่ยงการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช การปองกันโรคพืช
และศัตรูพืชเริ่มตนดวยการคัดเลือกเมล็ดพันธุที่ปราศจากโรค การทําความสะอาด
แปลงปลูก กําจัดวัชพืชและตอซัง และผึ่งแดดเพื่อกําจัดเชื้อโรค การปลูกพืชหลายชนิด
ๆ ในแปลงปลูกและการปลูกพืชหมุนเวียนจะชวยปองกันการระบาดของศัตรูพืช หาก
พบโรคพืชใหทําลายตนที่เปนกอนโรคระบาด สําหรับหนอนแมลงใหเลือกใชวิธีกล หรือ
ชีววิธีแทนการใชสารเคมี กรณีที่มีการระบาดมากใหใชสมุนไพรกําจัดแมลงแทนสาร
เคมี
การเก็บเกี่ยว
การเก็บเกี่ยวพืชสวนครัวเพื่อนํามารับประทาน หากเปนผักใบ เชน คะนา ผักกาดหอม
ควรเด็ดกินเฉพาะใบลาง แลวเหลือยอดไว จะกินไดนานโดยไมตองปลูกบอย แตผักสวนครัวบาง
7
ประเภทยิ่งเด็ดยอด ยิ่งแตกกิ่งใหม เชน สะระแหน คื่นฉาย กะเพรา โหรพา แมงลัก เราจึงควรเก็บ
ดวยการเด็ดยอด
การปลูกผักในกระถาง
บานที่มีเนื้อที่จํากัด หรือไมมีที่เปนพื้นดินหากตองการปลูกพืชสวนครัว ก็สามารถทําได
โดยเลือกปลูกพืชผักที่มีรากหยั่งไมลึกมากนัก และหาภาชนะปลูกใหเหมาะสม เชน กระถาง กะบะ
กาละมัง ตะกรา ฯ อาจเปนแบบตั้งพื้นหรือแบบแขวนก็ได
ผักที่มีระบบรากหยั่งตื้น ไดแก ผักชี ตนหอม คะนา ผักบุงจีน ผักกาดขาว กะหลํ่าปลี
สะระแหน ยี่หรา ตั้งโอ ฯ
ผักที่มีระบบหยั่งรากลึกปานกลาง ไดแก พริก มะเขือ แตงกวา ถั่วแขก ตะไคร กะเพรา โหร
พา สามารถปลูกไดในกระถางไมตองใชแปลงปลูก
รั้วกินได
มีพืชผักหลายชนิดที่เราสามารถปลูกเปนรั้วบานได หากบานใครมีอาณาบริเวณ และอยู
ในที่ปลอดภัยพอที่จะใชรั้วจากธรรมชาติได รั้วกินไดก็จะเปนเครื่องบอกอาณาเขตที่สวยแปลกตา
และสามารถ ใหใบ ใหหนอ หรือผลเปนอาหารแกเราไดดวย
รั้วจากพืชยืนตน มีพืชหลายชนิดที่เปนไมยืนตนหรือไมพุม ที่สามารถตัดแตงกิ่งใหเปนรั้ว
ไดสวยงาม และกินเปนอาหารได เชน ชะอม กระถิน ผักหวานบาน มะขาม มะกอก สะเดา ฯ
รั้วจากพืชชนิดเลื้อยเกาะ พืชกลุมนี้มีลําตนเปนเถาเลื้อย จึงจําเปนตองทํารั้วลวดหนาม รั้ว
ไมไผ หรือรั้วเหล็กดัด เพื่อใหพืชไดเลื้อยพัน พืชที่สามารถนํามาปลูกเปนรั้วกินได คือ ตําลึง ขจร ถั่ว
พู ถั่วฝกยาว บวบ มะระ นํ้าเตา ฟก พวงชมพู ฯ
การเลี้ยงสัตวเพื่องานอดิเรก
การเลี้ยงสัตวเพื่องานอดิเรก หมายถึง การเลี้ยงสัตวควบคูไปกับการทําอาชีพอื่น ๆ โดยมี
จุดประสงคเพื่อที่จะใชเวลาวางใหเปนประโยชน แตมีผลพลอยไดหลายประการ เชน ประหยัดคา
ใชจายเกี่ยวกับคาอาหารภายในครอบครัว เปนการเพิ่มพูนรายได หากผลผลิตมีมากพอที่จะ
จําหนาย เปนการศึกษาเรื่องเกี่ยวกับสัตวโดยการปฏิบัติจริง และเสริมสรางลักษณะนิสัยดานความ
โอบออมอารี รักสัตว เขมแข็ง มีความรับผิดชอบ อดทนในการปฏิบัติงาน ฯลฯ
ขอพิจารณาในการเลี้ยงสัตว
1. หากเลี้ยงสัตวจํานวนมาก ควรเลือกสถานที่มีนํ้าบริบูรณ นํ้าทวมไมถึง การระบาย
อากาศดี และแสงแดดสองถึง
8
2. การคัดเลือกพันธุสัตว การตัดสินใจเลือกพันธุควรคํานึงถึงวัตถุประสงคในการเลี้ยง
หากเปนสัตวที่เลี้ยงไวเพื่อเปนอาหาร ตองคํานึงถึงผลผลิตวามีคุณภาพหรือไม และ
ควรเปนพันธุที่เลี้ยงไดงาย โตเร็ว
3. การใหอาหารสัตว สัตวแตละชนิดมีความตองการอาหารแตกตางกัน ผูเลี้ยงควรศึกษา
ลักษณะอาหารและจัดอาหารใหสัตวตามความเหมาะสม
4. การสุขาภิบาลและการปองกันโรค ทําไดโดยวิธีการตอไปนี้
• โรงเรือนมีขนาดพอเหมาะ ไมแออัด ไมอับทึบ หรือสกปรก
• ปองกันไมใชสัตวทํารายกัน เชน ตัดเขา
• ไมปลอยใหสัตวอดอาหารและนํ้า
• ฉีด หรือ หยอดวัคซีนตามกําหนดเวลา
• หามบุคคลภายนอกเขาคอกสัตว
• ตรวจสัตวเปนประจํา ถาพบวาเปนโรคใหรีบรักษา
• หากมีสัตวใหม ควรแยกไวกอน ประมาณ 15 วัน จนแนใจวาไมเปนโรคจึงนํามา
ไวในโรงเรือนเดียวกัน
• โรคสัตวมีหลายชนิด อาจเกิดจากการขาดแรธาตุ และวิตามิน เกิดจากอุบัติเหตุ
หรือเกิด จากเชื้อโรค ผูเลี้ยงจึงจําเปนตองศึกษาจากผูรูและสัตวแพทย
5. มีสัตวเลี้ยงหลายชนิดสามารถเปนพาหะนําโรคมาสูคนได นอกจากผูเลี้ยงจะตองให
ความสนใจเรื่องการสุขาภิบาลโรงเรือน ไมใหเปนแหลงเพาะพันธุเชื้อโรค และดูแลให
วัคซีนสัตวตามกําหนดเวลาแลว ผูเลี้ยงควรระมัดระวังไมใกลชิดกับสัตวเลี้ยงจนเกิน
ไป โดยเฉพาะเด็กเพราะอาจทําใหเจ็บปวยได

More Related Content

What's hot

แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
Donnapha Bor-sap
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
Kruthai Kidsdee
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
593non
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
Niwat Yod
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
Ponpirun Homsuwan
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
Wijitta DevilTeacher
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
Utai Sukviwatsirikul
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
Prachaya Sriswang
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 

What's hot (20)

แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 

Viewers also liked

ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 3 การสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต
ปฏิบัติการที่ 3 การสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตปฏิบัติการที่ 3 การสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต
ปฏิบัติการที่ 3 การสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตteaw-sirinapa
 
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 6 การใช้งานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล 1
ปฏิบัติการที่ 6 การใช้งานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล 1ปฏิบัติการที่ 6 การใช้งานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล 1
ปฏิบัติการที่ 6 การใช้งานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล 1teaw-sirinapa
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 

Viewers also liked (8)

ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
ปฏิบัติการที่ 3 การสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต
ปฏิบัติการที่ 3 การสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตปฏิบัติการที่ 3 การสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต
ปฏิบัติการที่ 3 การสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต
 
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
ปฏิบัติการที่ 6 การใช้งานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล 1
ปฏิบัติการที่ 6 การใช้งานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล 1ปฏิบัติการที่ 6 การใช้งานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล 1
ปฏิบัติการที่ 6 การใช้งานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล 1
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 

More from teaw-sirinapa

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการteaw-sirinapa
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
teaw-sirinapa
 

More from teaw-sirinapa (20)

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
 

นันทนาการ

  • 1. 1 นันทนาการ ในแตละวันนอกจากเราจะจัดสรรเวลาเพื่อการทํางานและการพักผอนนอนหลับแลว นันทนาการ หรือ กิจกรรมที่บุคคลเลือกทําในยามวาง นับเปนสิ่งจําเปนที่เราจะตองจัดสรรเวลาไว ใหเพื่อความเพลิดเพลิน และผอนคลายจากความตึงเครียดในการทํางาน นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลเลือกทําดวยความสมัครใจ ในเวลาวาง โดยมีความ พอใจหรือความสุขใจในการทํากิจกรรมเปนจูงใจในการเขารวมกิจกรรมนั้น นันทนาการ มีลักษณะสําคัญหลายประการ ไดแก 1. มีลักษณะเปนกิจกรรม คือ ตองมีการกระทําที่ทําใหกลามเนื้อ หรือ อวัยวะสวนใดสวน หนึ่งมีการเคลื่อนที่ หากอยูเฉย ๆ เชน การนอนหลับหรือพฤติกรรมที่แสดงออกถึง ความเกียจครานไมถือวาเปนนันทนาการ 2. เปนกิจกรรมที่ผูกระทําเขารวมดวยความสมัครใจ ไมมีใครหรือเหตุปจจัยที่มาบังคับให ทํากิจกรรมนั้น มีความสุขความพอใจที่จะทําและไมเกิดความตึงเครียดในการทํากิจ กรรมนั้น 3. เปนกิจกรรมที่ทําในเวลาวาง วางจากการทํางาน ภาระกิจประวัน และไมนําเวลาที่ ควรจะนอนหลับพักผอนมาทํากิจกรรมนั้นจนเสียสุขภาพ 4. กิจกรรมที่ทํานั้นไมไดมุงเนนเพื่อหารายได หรือเปนอาชีพ 5. เปนกิจกรรมที่มีคุณคาตอผูประกอบกิจกรรม และเปนกิจกรรมที่พึงประสงคของสังคม ไมเปนอบายมุข การเลือกเขารวมกิจกรรมนันทนาการ นันทนาการมีอยูมากมาย ใหเราเลือกเขารวมกิจกรรมได เชน ในชุมชน มักจะมีการจัดงานในเทศกาลตาง ๆ เชน งานสงกรานต งานลอยกระทง งาน ฤดูหนาว ในที่ทํางาน หากเปนองคกรที่มีขนาดใหญก็มักจะมีหองออกกําลังกาย หรือสนามกีฬา จัดไวให รวมทั้งการจัดงานสังสรรคประจําประหวางพนักงาน ในโรงเรียน ผูบริหารโรงเรียน มักจัดกิจกรรมสําหรับนักเรียนในชวงเทศกาลตาง ๆ เชนกัน รวมทั้งงานกีฬานักเรียนและงานวันเด็ก ในครอบครัว หัวหนาครอบครัว ควรใสใจ จัดใหมีกิจกรรมนันทนาการรวมกันระหวาง สมาชิกในครอบครัว อาจเปนงานอดิเรกที่ทํารวมกัน การรับประทานอาหาร การทองเที่ยวในชวง วันหยุด เพื่อใหสมาชิกในครอบครัวมีความอบอุนมากขึ้น
  • 2. 2 นอกจากที่กลาวมาแลวปจจุบันยังมีกิจกรรมนันทนาการที่มีผูจัดขึ้นในลักษณะการคา เรา อาจไปหาความเพลิดเพลินไดเปนครั้งคราว เชน สวนสัตว สวนสนุก โรงภาพยนตร และสถาน บันเทิงรูปแบบอื่น ๆ ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการมีหลายประเภท เพื่อใหบุคคลเขารวมทํากิจกรรมไดตามความสนใน ดังนี้ 1. การฝมือและศิลปหัตถกรรม (Arts and crafts) เปนงานฝมือหรือสิ่งประดิษฐตาง ๆ เชน การวาดรูป งานแกะสลัก งานปน การประดิษฐดอกไม เย็บปกถักรอย ทําตุกตา ประดิษฐขาวของเครื่องใช และงานศิลปะอื่น ๆ 2. เกมส กีฬา และกรีฑา (Games, sport and track and fields) กิจกรรมนันทนาการ ประเภทนี้เปนที่นิยมกันอยางแพรหลาย แบงไดเปน 2 กลุมใหญ คือ กีฬากลางแจง (Outdoor Games) ไดแก กีฬาที่ตองใชสนามกลางแจง เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอล และกิจกรรมกลางแจงอื่น ๆ กีฬาในรม (Indoor Games) ไดแก กิจกรรมในโรง ยิมเนเซียม หรือในหองนันทนาการ เชน แบดมินตัน เทเบิลเทนนิส หมากรุก ฯลฯ 3. ดนตรีและรองเพลง (Music) เปนกิจกรรมนันทนาการที่ใหความบันเทิง ดนตรีเปน ภาษาสากลที่ทุกชาติทุกภาษาสามารถเขาใจเหมือนกัน แตละชาติแตละทองถิ่นจะมี เพลงพื้นบานของตนเอง และเครื่องดนตรีพื้นบาน เราสามารถเลือกไดตามความสนใจ ไมวาจะเปนสากลหรือพื้นบาน 4. ละครและภาพยนตร (Drama) เปนนันทนาการประเภทใหความรูความบันเทิง ความ สนุกสนานเพลิดเพลิน และสะทอนใหเห็นถึงสภาพจริงของสังคมยุคนั้น ๆ 5. งานอดิเรก (Hobbies) เปนกิจกรรมนันทนาการที่ชวยใหการดําเนินชีวิตประจําวัน มี ความสุข เพลิดเพลิน งานอดิเรกมีหลายประเภท สามารถเลือกไดตามความสนใจ เชน 5.1 ประเภทสะสม เปนการใชเวลาวางในการสะสม สิ่งที่ชอบสิ่งที่สนใจ ที่นิยมกัน มาก ไดแก การสะสมแสตมป เหรียญเงินในสมัยตาง ๆ อาจเปนของในประเทศ และตางประเทศ การสะสมบัตรโทรศัพท ฯลฯ 5.2 การปลูกตนไม เปนงานอดิเรกที่ใหทั้งความเพลิดเพลิน และไดออกกําลังกาย และไดผักสดปลอดจากสารพิษไวรับประทานหากเปนการปลูกพืชผักสวนครัว 5.3 การเลี้ยงสัตว อาจเปนการเลี้ยงในลักษณะไวเปนอาหาร เชน เลี้ยงเปด เลี้ยงไก นกกระทา หรือเลี้ยงไวดูเลน เชน เลี้ยงสุนัข แมว นกปลา ฯ การเลี้ยงสัตวเปนกิจ
  • 3. 3 กรรมที่ชวยเสริมสรางลักษณะนิสัยของเด็กใหมีจิตใจออนโยน และฝกความรับ ผิดชอบ 5.4 การถายรูป เปนงานอดิเรกที่นาสนใจอีกอยางหนึ่ง แตคาใชจายอาจจะคอนขาง สูง เนื่องจากอุปกรณราคาแพง และมีคาใชจายเกี่ยวกับการเดินทางเขามาเกี่ยว ของ หากไมมีขอจํากัดทางดานเศรษฐกิจ การถายรูปก็เปนกิจกรรมที่ใหความ เพลินเพลิดและความภาคภูมิใจตอผูทํากิจกรรมมาก 6. กิจกรรมทางสังคม (Social activities) เปนกิจกรรมที่กลุมคนในสังคมรวมจัดขึ้น โดย มี จุดมุงหมายเดียวกัน เชน การจัดเลี้ยงปใหม งานเลี้ยงวันเกิด กานฉลองในโอกาส พิเศษตาง ๆ 7. เตนรํา ฟอนรํา (Dance) เปนกิจกรรมที่ใชจังหวะตาง ๆ เปนกิจกรรมที่ใหความสนุก สนาน เชน เตนรําพื้นเมือง การรําไทย รําวง นาฏศิลป ลีลาศ 8. กิจกรรมนอกเมือง (Outdoor activities) เปนกิจกรรมนันทนาการนอกสถานที่ ที่ให โอกาสมนุษยไดเรียนรูธรรมชาติ ไดพักผอน เชน การอยูคายพักแรม ไปทองเที่ยวตาม แหลงธรรมชาติ 9. ทัศนศึกษา (Field trip) เพื่อศึกษาศิลปวัฒนธรรม ตามวัดวาอาราม หรือศึกษาความ กาวหนาในดานตาง ๆ ในนิทรรศการหรืองานแสดงตาง ๆ 10. กิจกรรมพูด เขียน อาน ฟง (Speaking Writing and Reading) การพูด เขียน อาน ฟง ที่นับวาเปนกิจกรรมนันทนาการ ไดแก 10.1 การพูด ไดแก การคุย การโตวาที การปาถกถา ฯ 10.2 การเขียน ไดแก การเขียนบันทึกเรื่องราวประจําวัน เขียนบทกวี เขียนเพลง เรื่อง สั้น บทความ ฯ 10.3 การอาน ไดแก การอานหนังสือพิมพ อานหนังสือทั่ว ๆ ไป ที่ใหทั้งความรูและ ความเพลิดเพลิน 10.4 การฟง ไดแก การฟงวิทยุ ฟงอภิปราย โตวาที ทอลคโชว ฯ 11. กิจกรรมอาสาสมัคร (Voluntary Recreation) เปนกิจกรรมบะเพ็ญประโยชนที่บุคคล เขารวมดวยความสมัครใจ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนา และกิจกรรมอาสาสมัครตาง ๆ หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการมีหลายประเภท บุคคลแตละคนยอมมีความแตกตางกันในเรื่องความ ชอบและความถนัด นอกจากนี้ การเลือกกิจกรรมนันทนาการยังตองคํานึงลักษณะงานประจําที่ทํา
  • 4. 4 อยู และฐานะทางเศรษฐกิจ เพื่อใหการดําเนินชีวิตเปนไปอยางมีความสุข หลักการเลือกกิจกรรม นันทนาการมี ดังนี้ 1. คํานึงถึงวัย การเลือกกิจกรรมนันทนาการควรเหมาะกับวัยของผูทํากิจกรรม เชน เด็ก ควรใหมีกิจกรรมประเภทที่มีการเคลื่อนไหวรางกาย เพื่อใหพัฒนาการทางรางกาย เปนไปอยางเหมาะสม การดูวีดีทัศน หรือการเลนเกมสคอมพิวเตอรติดตอกันนาน ๆ นานทําใหเด็กเกิดความตึงเครียด กิจกรรมประเภทนี้ควรกําหนดชวงเวลาไมเกิน 1 ชั่ว โมง สวนในผูสูงอายุมักมีขอจํากัดในดานการใชแรงกาย โดยเฉพาะผูที่ไมไดออกกําลัง กายมาตั้งแตวัยหนุมสาว การเลือกกิจกรรมนันทนาการ จึงควรเลือกประเภทที่ไมใช แรงกายมากนัก เชน ดูแลตนไม ดูโทรทัศน งานสะสมสิ่งที่มีคุณคาทางจิตใจ ฯ 2. คํานึงถึงสุขภาพ บางคนอาจมีขอจํากัดทางดานสุขภาพ ทําใหไมเหมาะแกการเขารวม กิจกรรมบางประเภท เชน ผูเปนโรคหัวใจไมเหมาะกับกีฬาประเภทหักโหม คนสายตา ไมดีอาจไมเหมาะกับงานเย็บปกที่ตองใชสายตามาก เราจึงควรหลีกเลี่ยงนันทนาการ ที่อาจเปนผลเสียตอสุขภาพของตนเอง แมนวาสิ่งนั้นจะเปนสิ่งที่ชอบหรือถนัด 3. คํานึงถึงความถนัดหรือความชอบของตนเอง การเลือกสิ่งที่ตนเองชอบหรือถนัดจะ ชวยใหเกิดความรูสึกเพลิดเพลินในการทํากิจกรรมนั้น ในกลุมวัยรุนบางครั้งพบวาอยู ในชวงของการแสวงหา ยังไมพบวาแทจริงแลวตนเองชอบอะไร จึงพบวาทํากิจกรรม บางอยางไมสําเร็จ แลวละทิ้ง 4. คํานึงถึงลักษณะงานประจําวัน งานแตละประเภทจะมีความแตกตางกันดานการใช ความคิด และการเคลื่อนไหว เราควรเลือกนันทนาการที่สอดคลองกับลักษณะของ งานประจํา เชน คนที่ทํางานสํานักงานที่สวนใหญนั่งอยูกับที่ ควรเลือกกิจกรรม ประเภทที่ไดเคลื่อนไหวบาง เชน กีฬา ปลูกตนไม เลี้ยงสัตว สวนคนที่ตองใชแรงกาย มากแลว นาจะเลือกกิจกรรมที่ไดพักกลามเนื้อ เชน ฟงเพลง ดูโทรทัศน หรือในชนบท จะพบวา พอเสร็จจากงานในไรนา ชาวบานจะทํางานจักสาน เลนดนตรี หรือมี การละเลนพื้นบานหลังฤดูเก็บเกี่ยว 5. คํานึงฐานะทางเศรษฐกิจ ดังที่ไดกลาวมาแลววา กิจกรรมบางประเภท มีคาใชจาย คอนขางมาก การเลือกกิจกรรมนันทนาการ จึงควรหลีกเลี่ยงจากกิจกรรมที่อาจกอให เกิดผลกระทบทางลบตอเศรษฐกิจของตนเองและครอบครัว
  • 5. 5 การปลูกผักสวนครัว การปลูกผักสวนครัวเปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหสมาชิกภายในบาน ไดมีเวลาทํากิจกรรม รวมกัน สรางความสัมพันธอันดีภายในครอบครัว เด็ก ๆ ไดเรียนรูการใชเวลาวางใหเปนประโยชน ไดเรียนรูเรื่องพืชผัก สิ่งมีชีวิต แมลง ดิน จากการลงมือปฏิบัติเอง นอกจากนี้การปลูกพืชสวนครัว ยังชวยใหผูปลูกลดความเสี่ยงจากการบริโภคผักที่ปนเปอนสารเคมีที่เกษตรกรสวนใหญนิยมใช กิจ กรรมนี้จึงนับไดวาชวยสงเสริมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตของสมาชิกในครอบครัวใหดีขึ้น พื้นที่ปลูก การปลูกผักสวนครัวไมจําเปนตองปลูกบนพื้นดินเสมอไป หากไมมีบริเวณบานหรือมีพื้นที่ ดินนอย เราก็สามารถปลูกในกระถาง กะละมัง หรือภาชนะแขวนอื่น ๆ ได หากเปนดาดฟาอาจใช ผาไนลอนชวยพลางแสง เพื่อใชเปนพื้นที่ปลูกไดเชนกัน การปลูกเพื่อใหไดผลดี เราควรศึกษาวาพืชชนิดใด ชอบพื้นที่อยางไร โดยปกติผักกินใบ และผักกินผล เชน คะนา กวางตุง พริก มะเขือ จะชอบที่โลงแจงแดดจัด สะระแหน ตะไคร ใบ ชะพลู ใบบัวบก ชอบที่มีรมเงา หากเจอแดดจัดอาจตายได ดังนั้นกอนปลูกจึงตองศึกษาธรรมชาติ ของพืชแตละชนิดกอน คุณภาพดิน ดินนับไดวาเปนหัวใจสําคัญของการปลูกพืช หากดินที่นํามาปลูกพืชมีคุณภาพไมดี เชน ดินเปนดินเหนียวหรือดินเค็ม จําเปนตองปรับปรุงคุณภาพดินใหเหมาะแกการปลูกพืชชนิดที่ ตองการปลูก หรือเลือกปลูกพืชที่เหมาะกับสภาพดินที่มีอยู เชน หนอไมฝรั่งและมะเขือเทศ สามารถปลูกไดในดินเค็ม การปรับปรุงดินเหนียวและดินเค็ม สามารถทําไดโดยนําขี้เถาแกลบและปุยคอกมาผสม คลุกเคลากับดิน จะทําใหดินรวนซุยขึ้นและพืชดูดซึมเกลือเขาสูลําตนไดนอยลง สวนผูนิยมซื้อดิน สําเร็จใหเลือกชนิดที่มีใบกามปูและเปลือกถั่วมาก ๆ เพราะมีคุณภาพดีกวาดินที่ผสมดวยกาบ มะพราวและแกลบ การขยายพันธุพืช การขยายพันธพืชโดยทั่วไปมีการขยายพันธโดยวิธีการใชเมล็ดและใชสวนของพืช 1. ใชเมล็ด การเลือกซื้อเมล็ดพันธุมาปลูก มีขอสังเกตในการเลือกโดยพิจารณา จากวัน รวบรวมพันธุ ทดสอบพันธุ วันหมดอายุ เปอรเซ็นตความงอก ความบริสุทธิ์ของเมล็ด
  • 6. 6 พันธุ และดูคําแนะนําในการปลูกวาพืชนั้นเหมาะที่จะปลูกในชวงเวลาใด สภาพอากาศ อยางไร การปลูกพืชโดยใชเมล็ด นิยมใชกับพืชจําพวกไมดอก พืชไรที่มีอายุสั้น และพืช ที่ไมสามารถขยายพันธุโดยวิธีอื่นได การเพาะเมล็ดหากเปนพืชไรราคาเมล็ดไมแพง นิยมเพาะในแปลงปลูกโดยตรงหากขึ้นหนาแนนมากจะถางออก แตหากเมล็ดราคา แพงจะเพาะในแปลงกลาหรือกะบะกอน แลวจึงยายมาปลูกในแปลงจริง 2. การขยายพันธพืชโดยใชสวนตาง ๆ ของพืช เชน กิ่ง ลําตน หัว หนอ เหงา ทําไดหลาย วิธีเชน การติดตา การทาบกิ่ง การตัดชํา และการแบงแยกหัว หนอ เปนตน การปลูกไม ผลเพื่อใหไดผลผลิตเร็ว ไมกลายพันธุควรเลือกวิธี การตอน การทาบกิ่ง การดูแลรักษา 1. การปลูกพืชตองมีการดูแลเรื่องการใหนํ้า ในขนาดที่เหมาะสมกับพืชแตละชนิด พืชบาง ชนิดชอบนํ้ามาก บางชนิดชอบนํ้านอย 2. ความพอเหมาะของแสง ผักสวนครัวชนิดกินใบสวนใหญชอบแดดจัด เชน คะนา กวางตุง ผักกาดขาว สวนชะพลู สะระแหน ชอบที่รม 3. การใหปุย การปลูกสวนครัวไมจําเปนตองใชปุยเคมี เพราะไมไดตองการเรงการเจริญ เติบโตของพืชเพื่อประโยชนทางการคา การใชปุยเคมีเพียงอยางเดียวอาจทําใหโครง สรางของดินเสียไป การบํารุงดินทําไดโดยการใชอินทรียวัตถุ เชน มูลสัตว และปุยหมัก ที่ไดจากเศษวัชพืช หรือรดดวยนํ้าหมักเศษอาหารและอินทรียวัตถุตาง ๆ ที่เรียกกันวา อีเอ็ม (Effective Microorganism) 4. การกําจัดศัตรูพืช ควรหลีกเลี่ยงการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช การปองกันโรคพืช และศัตรูพืชเริ่มตนดวยการคัดเลือกเมล็ดพันธุที่ปราศจากโรค การทําความสะอาด แปลงปลูก กําจัดวัชพืชและตอซัง และผึ่งแดดเพื่อกําจัดเชื้อโรค การปลูกพืชหลายชนิด ๆ ในแปลงปลูกและการปลูกพืชหมุนเวียนจะชวยปองกันการระบาดของศัตรูพืช หาก พบโรคพืชใหทําลายตนที่เปนกอนโรคระบาด สําหรับหนอนแมลงใหเลือกใชวิธีกล หรือ ชีววิธีแทนการใชสารเคมี กรณีที่มีการระบาดมากใหใชสมุนไพรกําจัดแมลงแทนสาร เคมี การเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยวพืชสวนครัวเพื่อนํามารับประทาน หากเปนผักใบ เชน คะนา ผักกาดหอม ควรเด็ดกินเฉพาะใบลาง แลวเหลือยอดไว จะกินไดนานโดยไมตองปลูกบอย แตผักสวนครัวบาง
  • 7. 7 ประเภทยิ่งเด็ดยอด ยิ่งแตกกิ่งใหม เชน สะระแหน คื่นฉาย กะเพรา โหรพา แมงลัก เราจึงควรเก็บ ดวยการเด็ดยอด การปลูกผักในกระถาง บานที่มีเนื้อที่จํากัด หรือไมมีที่เปนพื้นดินหากตองการปลูกพืชสวนครัว ก็สามารถทําได โดยเลือกปลูกพืชผักที่มีรากหยั่งไมลึกมากนัก และหาภาชนะปลูกใหเหมาะสม เชน กระถาง กะบะ กาละมัง ตะกรา ฯ อาจเปนแบบตั้งพื้นหรือแบบแขวนก็ได ผักที่มีระบบรากหยั่งตื้น ไดแก ผักชี ตนหอม คะนา ผักบุงจีน ผักกาดขาว กะหลํ่าปลี สะระแหน ยี่หรา ตั้งโอ ฯ ผักที่มีระบบหยั่งรากลึกปานกลาง ไดแก พริก มะเขือ แตงกวา ถั่วแขก ตะไคร กะเพรา โหร พา สามารถปลูกไดในกระถางไมตองใชแปลงปลูก รั้วกินได มีพืชผักหลายชนิดที่เราสามารถปลูกเปนรั้วบานได หากบานใครมีอาณาบริเวณ และอยู ในที่ปลอดภัยพอที่จะใชรั้วจากธรรมชาติได รั้วกินไดก็จะเปนเครื่องบอกอาณาเขตที่สวยแปลกตา และสามารถ ใหใบ ใหหนอ หรือผลเปนอาหารแกเราไดดวย รั้วจากพืชยืนตน มีพืชหลายชนิดที่เปนไมยืนตนหรือไมพุม ที่สามารถตัดแตงกิ่งใหเปนรั้ว ไดสวยงาม และกินเปนอาหารได เชน ชะอม กระถิน ผักหวานบาน มะขาม มะกอก สะเดา ฯ รั้วจากพืชชนิดเลื้อยเกาะ พืชกลุมนี้มีลําตนเปนเถาเลื้อย จึงจําเปนตองทํารั้วลวดหนาม รั้ว ไมไผ หรือรั้วเหล็กดัด เพื่อใหพืชไดเลื้อยพัน พืชที่สามารถนํามาปลูกเปนรั้วกินได คือ ตําลึง ขจร ถั่ว พู ถั่วฝกยาว บวบ มะระ นํ้าเตา ฟก พวงชมพู ฯ การเลี้ยงสัตวเพื่องานอดิเรก การเลี้ยงสัตวเพื่องานอดิเรก หมายถึง การเลี้ยงสัตวควบคูไปกับการทําอาชีพอื่น ๆ โดยมี จุดประสงคเพื่อที่จะใชเวลาวางใหเปนประโยชน แตมีผลพลอยไดหลายประการ เชน ประหยัดคา ใชจายเกี่ยวกับคาอาหารภายในครอบครัว เปนการเพิ่มพูนรายได หากผลผลิตมีมากพอที่จะ จําหนาย เปนการศึกษาเรื่องเกี่ยวกับสัตวโดยการปฏิบัติจริง และเสริมสรางลักษณะนิสัยดานความ โอบออมอารี รักสัตว เขมแข็ง มีความรับผิดชอบ อดทนในการปฏิบัติงาน ฯลฯ ขอพิจารณาในการเลี้ยงสัตว 1. หากเลี้ยงสัตวจํานวนมาก ควรเลือกสถานที่มีนํ้าบริบูรณ นํ้าทวมไมถึง การระบาย อากาศดี และแสงแดดสองถึง
  • 8. 8 2. การคัดเลือกพันธุสัตว การตัดสินใจเลือกพันธุควรคํานึงถึงวัตถุประสงคในการเลี้ยง หากเปนสัตวที่เลี้ยงไวเพื่อเปนอาหาร ตองคํานึงถึงผลผลิตวามีคุณภาพหรือไม และ ควรเปนพันธุที่เลี้ยงไดงาย โตเร็ว 3. การใหอาหารสัตว สัตวแตละชนิดมีความตองการอาหารแตกตางกัน ผูเลี้ยงควรศึกษา ลักษณะอาหารและจัดอาหารใหสัตวตามความเหมาะสม 4. การสุขาภิบาลและการปองกันโรค ทําไดโดยวิธีการตอไปนี้ • โรงเรือนมีขนาดพอเหมาะ ไมแออัด ไมอับทึบ หรือสกปรก • ปองกันไมใชสัตวทํารายกัน เชน ตัดเขา • ไมปลอยใหสัตวอดอาหารและนํ้า • ฉีด หรือ หยอดวัคซีนตามกําหนดเวลา • หามบุคคลภายนอกเขาคอกสัตว • ตรวจสัตวเปนประจํา ถาพบวาเปนโรคใหรีบรักษา • หากมีสัตวใหม ควรแยกไวกอน ประมาณ 15 วัน จนแนใจวาไมเปนโรคจึงนํามา ไวในโรงเรือนเดียวกัน • โรคสัตวมีหลายชนิด อาจเกิดจากการขาดแรธาตุ และวิตามิน เกิดจากอุบัติเหตุ หรือเกิด จากเชื้อโรค ผูเลี้ยงจึงจําเปนตองศึกษาจากผูรูและสัตวแพทย 5. มีสัตวเลี้ยงหลายชนิดสามารถเปนพาหะนําโรคมาสูคนได นอกจากผูเลี้ยงจะตองให ความสนใจเรื่องการสุขาภิบาลโรงเรือน ไมใหเปนแหลงเพาะพันธุเชื้อโรค และดูแลให วัคซีนสัตวตามกําหนดเวลาแลว ผูเลี้ยงควรระมัดระวังไมใกลชิดกับสัตวเลี้ยงจนเกิน ไป โดยเฉพาะเด็กเพราะอาจทําใหเจ็บปวยได