SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4
ลักษณะของกิจกรรมนันทนาการ
ลักษณะของกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการ 11ประเภท ประโยชน์และคุณค่าของ
นันทนาการแต่ละประเภท
สุขภาพเป็นสิ่งสาคัญสาหรับคนทุกคน จุดมุ่งหมายของนันทนาการประการหนึ่ง ก็เพื่อพัฒนา
สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตของคนให้สมบูรณ์ ดังนั้น กิจกรรมนันทนาการอีกกิจกรรมหนึ่งที่มี
ความสาคัญเพิ่มขึ้น พร้อมกับความสนใจในสุขภาพของคนในปัจจุบัน คือ กิจกรรมนันทนาการประเภท
พัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพ ซึ่งกิจกรรมนันทนาการประเภทนี้เป็นกิจกรรมแบบผสมผสาน เป็นเรื่อง
เกี่ยวกับการจัดการลีลาชีวิต (Life Style Management) ซึ่งนักวิชาการ ได้ให้คาจากัดความของคาว่า
นันทนาการสุขภาพ (Wellness) ว่าหมายถึง กิจกรรมประเภทลีลาชีวิต (lifestyle) ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีความ
ประสงค์ที่จะฝึกฝนด้านสุขภาพและการทาให้มีสุขภาพดี หรืออีกความหมายหนึ่ง คือ สิ่งที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ
กับมนุษย์ ซึ่งสิ่งดังกล่าวนี้เป็นพื้นฐานของสุขภาพที่ดีและเป็นการพัฒนาของชุมชน และจะมีส่วนช่วยใน
การพัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งมีความสาคัญต่อสภาวะและสภาพความเป็นอยู่
ความหมายและคาจากัดความที่กว้างมากกว่า อาการหรือพฤติกรรม ดังที่นักวิชาการหลายๆท่าน ทั้งไทย
และต่างประเทศได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้
ยอร์ช ดี บัตเตอร์ ให้ความหมายว่า การใช้เวลาว่างนั้นเพื่อประโยชน์และคุณค่าในทางงดงาม
จากการเข้าร่วมกิจกรรม ในวัยเด็กจะเรียกว่า “การเล่น” แต่ในวัยหนุ่มสาวจะเรียกว่า “นันทนาการ”
ริชาร์ด จี ครูส ให้ความหมายว่า เวลาที่ว่างจากกิจกรรมที่จาเป็นอื่นๆว่างจากงานประจา เวลานอน
หรือเวลาที่ประกอบกิจวัตรประจาวัน
พีระพงศ์ ให้ความหมายว่า กิจกรรมที่บุคคลเข้าร่วมด้วยความสมัครใจในเวลาว่างโดยมีความ
พอใจ สมัครใจ ไม่มีการบังคับและ ได้รับความสุขสนุกสนานเพลิดเพลินใจจากการเข้าร่วมกิจกรรม
ชูชีพ เยาวพัฒน์ ให้ความหมายว่า เป็นกิจกรรมที่มีองค์ประกอบในลักษณะเดียวกันกับการเล่น จะ
แตกต่างกันในเรื่องอขงรูปแบบของนันทนาการ และมีบางสิ่งบางอย่างที่นอกเหนือจากการเล่น โดยเน้นใน
เรื่องการศึกษาความซาบซึ้งในการเสริมสร้างประสงการณ์ใหม่ๆ หรือมุ่งเน้นการพัฒนาการทางด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคมแบละจิตใจ ให้กระทาแต่ในสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ไม่ว่าบุคคลนั้นจะ
ใช้มันสมองหรือใช้กาลังกายประกอบสัมมาอาชีพก็ตาม
นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมที่กระทาในเวลาว่างจากภารกิจงานประจา ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรม
กระทาด้วยความสมัครใจและมีความพึงพอใจ โดยกิจกรรมนั้นไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม
และกฎหมายบ้านเมือง ทาให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินมีสุขภาพที่ดี
ลักษณะพื้นฐานของกิจกรรมนันทนาการ
ลักษณะสาคัญที่เป็นองค์ประกอบของนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการนี้ประกอบด้วยลักษณะที่
สาคัญ ซึ่งได้มีนักวิชาการหลายท่าน เช่น บัทเลอร์ 1959 และไมเยอร์ 1969 ได้วางหลักเกณฑ์ในเรื่องของ
ลักษณะพื้นฐานของนันทนาการดังนี้
1. นันทนาการนั้นต้องเป็นกิจกรรม ( Activity ) คือ ต้องมีการกระทาร่างกายกล้ามเนื้อหรืออวัยวะ
ส่วนใดส่วนหนึ่งได้มีการกระทาตั้งแต่เกมกีฬา ศิลปหัตถกรรม ดนตรี ละคร กิจกรรมกลางแจ้งนอกเมือง
งานอดิเรก การท่องเที่ยว โยคะ สมาธิ เป็นต้น กิจกรรมเกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานในการกระทา หรือถูก
กระทา ( การอยู่เฉยๆ เช่น นอนหลับ ถือว่าไม่เป็นกิจกรรมทางนันทนาการ เพราะการนอนไม่ถือว่าเป็น
กิจกรรม )
2.นันทนาการมีรูปแบบหลากหลาย มีขอบเขตไม่จากัด ตั้งแต่ในรูปแบบของหมวดหมู่ นันทนาการ
ยังมีรูปแบบที่จัดบริการเป็นสวัสดิการสังคม เป็นแหล่งนันทนาการบริการแก่กลุ่มประชากรทุกระดับวัยและ
ประชากรพิเศษการเข้าร่วมในกิจกรรมนั้นต้องเป็นการกระทาด้วยความสมัครใจ
3. นันทนาการจะต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจและมีแรงจูงใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการจะต้อง
เป็นการเข้าร่วมด้วยความสนใจ สมัครใจ มีแรงจูงใจในกิจกรรมเข้าร่วม โดยมิได้ถูกบังคับ
4.นันทนาการเกิดขึ้นได้ในเวลาที่ไม่จากัด บุคคลและชุมชนมีอิสระที่จะเข้าร่วมในสิ่งที่เขาต้องการ
จะเล่นหรือเข้าร่วมโดยไม่จากัดเวลา
5.นันทนาการจะต้องเป็นสิ่งที่จริงจังและมีจุดมุ่งหมาย ประสบการณ์นันทนาการเป็นการพัฒนา
คุณภาพชีวิต พัฒนาอารมณ์สุข มีคุณค่าสาระเป็นสิ่งจริงจังและมีจุดหมายเสมอ
6.นันทนาการเป็นการบาบัดรักษา กิจกรรมนันทนาการช่วยฟื้นฟูและรักษาคนไข้และเปิดโอกาส
ให้คนไข้เลือกกิจกรรมในเวลาว่าง กระทาเพื่อพัฒนาสุขภาพกายและจิตใจยามฟื้นไข้หรือระหว่างการ
บาบัดรักษา
7.นันทนาการเป็นกิจกรรมที่สามารถยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ ตามความเหมาะสมกิจกรรม
นันทนาการสามารถจัดได้ตามความเหมาะสม ตามสภาพแวดล้อม ความต้องการ และสนใจ ตลอดจน
อุปกรณ์และสถานที่สิ่งอานวยความสะดวก
8.นันทนาการจะต้องเป็นกิจกรรมที่พึงประสงค์ของสังคม กิจกรรมนันทนาการของสังคม หรือ
ชุมชนหนึ่ง อาจจะไม่เหมาะสมกับอีกชุมชนหนึ่ง เป็นขอบข่ายวิถีชีวิตของชุมชน ดังนั้นกิจกรรมนันทนาการ
จะต้องเป็นที่ยอมรับในสังคมนั้นๆ
ประเภทของนันทนาการ 11 ประเภท
กิจกรรมนันทนาการมีให้เลือกหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งคนเราควรมีกิจกรรมนันทนาการหลาย ๆ
อย่าง เพื่อจะได้ไม่เบื่อหน่าย แต่ควรเลือกให้เหมาะสมกับอัตภาพของตนเองกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ มี
ดังนี้
1.ศิลปหัตถกรรม (Art and Crafts)
กิจกรรมนันทนาการประเภทศิลปหัตถกรรม จะส่งเสริมความสามารถ ทักษะ สมาธิ ความประณีต
และความอุตสาหกรรม ให้แก่บุคคลที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้ได้รับการพัฒนาทางด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ไปพร้อมๆกัน
รูปที่ 1 กิจกรรมนันทนาการประเภทศิลปะหัตถกรรม
ที่มาของรูป: http://th.88db.com/thailand/Central-Region+Nonthaburi/Art-Craft/Handicraft/ad
http://www.kendimiz.com/ศิลปหัตถกรรมไทย/
ประเภทของกิจกรรมศิลปหัตถกรรม
- การประดิษฐ์เครื่องเล่น เครื่องใช้
- การพิมพ์ภาพ และลวดลายต่างๆ
- ศิลปะการตกแต่งบ้าน
- การเย็บปักถักร้อย
- การประกอบอาหาร
- ศิลปะการแกะสลัก
ประโยชน์ของศิลปหัตถกรรม
1.เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ จึงเหมาะแก่บุคคลทุกระดับวัย
2.เป็นกิจกรรมประสานงานของสมองและมือ ตลอดจนความคิด
3.เป็นกิจกรรมผ่อนคลายอารมณ์ ใช้พลังงาน และเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมได้พัฒนาอารมณ์สุข
4.เป็นกิจกรรมช่วยพัฒนานิสัย และทัศนคติที่พึงประสงค์
5.เป็นกิจกรรมช่วยให้บุคคลและชุมชน สามารถช่วยเหลือตนเองได้มีโอกาสเลือกตัดสินใจที่จะเข้า
ร่วมกิจกรรม ตามความสามารถของตน
6.เป็นกิจกรรมที่ช่วยสร้างความภาคภูมิใจในผลงานของตน และช่วยสร้างความมั่นใจให้กับตนเอง
7.ผลงานของศิลปหัตถกรรมช่วยให้นาไปใช้ในสภาพของความเป็นจริงจึงเป็นการประหยัดอีกด้วย
2.เกมกีฬา (Games and Sports) เป็นการออกกาลังกายซึ่งแยกเป็น -
- เกม มีความหลากหลายในรูปแบบต่างๆ เช่น เกมเบ็ดเตล็ด เกมที่นาไปสู่กีฬาใหญ่ เกมประกวด
เกมสร้างสรรค์ เกมกลุ่มสัมพันธ์ เกมพัฒนาสติปัญญา เกมส่งเสริมคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม และ
การละเล่นพื้นบ้าน เป็นต้น
- กีฬา เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณค่าทางด้านการศึกษา พัฒนาความเจริญเติบโตทางร่างกาย
อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
รูปที่ 2 กิจกรรมนันทนาการการประเภทเกมกีฬา
ที่มารูป : http://www.noodoba.com/2012/09/http://campus.sanook.com/u_life/activity_02529.php?page=0
ประเภทของกิจกรรมกีฬา แบ่งออกเป็น 6 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
1.กิจกรรมเกม การออกกาลังกายขั้นพื้นฐาน เช่น ชักเย่อ วิ่งเปี้ยว ลิงจับหลัก อีกาฟักไข่ และมอญ
ซ่อนผ้า เป็นต้น
2.กีฬาประเภทเดี่ยวและประเภทคู่ เช่น ยิงธนู กรีฑา ว่ายน้า แบดมินตัน ปิงปอง เป็นต้น
3.กีฬาประเภททีม ได้แก่ ฟุตบอล บาสเกตบอล ตะกร้อ ฮอกกี้วอลเลย์บอล แชร์บอล เป็นต้น
4.กีฬาสาหรับสตรีและเด็ก เช่น ห่วงยาง แชร์บอล ว่ายน้า วอลเลย์บอล และยิมนาสติก เป็ นต้น
5.กีฬานันทนาการ หมายถึง กีฬามวลชน ที่นิยมเล่นได้ทั้งชาย หญิง เด็ก ผู้ใหญ่ คนสูงอายุ และ
กีฬาในกลุ่มคนพิเศษ เช่น เดิน-วิ่ง ดาน้า ปีนเขา เป็นต้น
6.กีฬาเพื่อการแข่งขัน หมายถึง กีฬาที่เป็นเรื่องทักษะกีฬาเพื่อความเป็นเลิศในการแข่งขัน มีการ
ซ้อมอย่างต่อเนื่อง เช่น ฟุตบอล เชปักตะกร้อ มวยสากล เทนนิส และบาสเกตบอล เป็นต้น
ประโยชน์ของเกมกีฬา
1. พัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญา
2.สร้างความสามัคคีในหมู่คณะและต่างคณะ
3.ส่งเสริมการมีมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นได้ดี
4.มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
5.พัฒนาบุคลิกภาพ
6.มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อบุคคลอื่น และมีน้าใจเป็นนักกีฬา
7.เสริมสร้างการทางานร่วมกันเป็นทีม
3.การเต้นรา (Dances)
เป็นกิจกรรมทางสังคมที่ให้คุณค่าพัฒนาการทางด้านความเจริญเติบโตของร่างกาย
อารมณ์ สังคม และจิตใจ ส่งเสริมการกล้าแสดงออก เสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จัก
มารยาทของสังคมและวัฒนธรรม เป็นกิจกรรมทางวัฒนธรรมของมนุษย์ที่มีประวัติศาสตร์มาเป็นเวลาอัน
ยาวนาน เช่น นาฏกรรม เช่น ลีลาศ ราวง ฟ้ อนราและกิจกรรมเข้าจังหวะต่าง ๆ
รูปที่ 3 กิจกรรมนันทนาการประเภทการเต้นรา
ที่มาของรูป : http://www.zazana.com/Story-900/id7004.aspx
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/art02/02/contents/main.html
ประโยชน์ของการเต้นรา
1.ก่อให้เกิดความสนุกสนาน รวมทั้งพัฒนาสมรรถภาพทางร่างกาย
2.ได้เรียนรู้มารยาทในการเข้าสังคม
3.ส่งเสริมการประสานของระบบประสาทกับกล้ามเนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.เสริมสร้างบุคลิกภาพ ทรวดทรงดี
5.ส่งเสริมการกล้าแสดงออกของแต่ละบุคคล
6.ส่งเสริมการมีมนุษยสัมพันธ์ การปรับตัวของบุคคล
7.ส่งเสริมจังหวะและดนตรีให้แก่ผู้เข้าร่วม
4.การละคร (Drama)
เป็นการส่งเสริมการแสดงออก เพื่อให้เกิดจินตภาพ ภาพพจน์ แนวคิดเพื่อปลุกอารมณ์ในแบบต่าง
ๆ เช่น ละครร้อง ละครรา ละครชาตรี มโนราห์โขน หลังตะลุงหุ่นกระบอกนาฏศิลป์ อุปรากรละครพูด
รูปที่ 4 นันทนาการประเภทการละคร
ที่มาของรูป : http://writer.dek-d.com/army-gang/writer/viewlongc.php?id=790158&chapter=2
http://kanchanapisek.or.th/kp6 / New/sub/book/book.php?book=1 3 &chap=5 &page=t1 3 -5 -
infodetail06.html
ประโยชน์ของการละคร
1.เป็นการส่งเสริมการแสดงออกแห่งตน
2.เป็นศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชนชาติ
3.ส่งเสริมการเลียนแบบพฤติกรรมของมนุษย์
4.เป็นการพัฒนาทางอารมณ์สุข สนุกสนานเพลิดเพลิน
5.ช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5.งานอดิเรก (Hobby) เป็นกิจกรรมที่ทาในช่วงเวลาว่างของตน ทาเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจในยามว่าง
ตามความสมัครใจและความพึงพอใจเช่น การเก็บสะสมสิ่งต่างๆ สะสมแสตมป์ สะสมรูปภาพ เหรียญ
ธนบัตร หนังสือ เป็นต้น
รูปที่ 5 นันทนาการประเภทงานอดิเรก
ที่มาของรูป : http://phuketcity.olxthailand.com/iid-38424228
http://itgreenpj.wordpress.com/category/โรงเรียนคลองสาม/
http://business.treasury.go.th/webboard/view.php?qid=3701&gid=12&PageShow=89
ประโยชน์ของงานอดิเรก
1.ช่วยผ่อนคลายความเครียดของบุคคลและชุมชน
2.ส่งเสริมสุขภาพจิต
3.ต่อต้านความเบื่อหน่าย หรือเวลาว่างเชิงบังคับ
4.เป็นการบริการตนเองและชุมชน
5.เป็นการแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์
6.เป็นสิ่งที่มีจุดมุ่งหมายหรือทดแทนโอกาสขณะตกงาน
7.เป็นสื่อความรู้และทักษะการเรียนรู้ในสิ่งที่ตนไม่รู้มาก่อน
8.ส่งเสริมความสมดุลในกิจกรรมการงาน เวลาว่าง และนันทนาการ
9.ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการของสังคม
10.ส่งเสริมการได้กระทากิจกรรมที่ก่อให้เกิดคุณค่าและมีจุดมุ่งหมาย สร้างความสมดุล
ของชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ
6.การดนตรีและร้องเพลง (Music and Singing)
การดนตรีสามารถถ่ายทอดความรู้ สึกของมนุษย์เป็ นส่วนหนึ่งของการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน ทั้งในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การแสดงออกแห่งตน การท้าทาย การแสดงความสามารถ
ชั้นสูงที่บุคคลพึงกระทา เป็นการผ่อนคลายความเครียด ได้แก่ กิจกรรมทางดนตรีทุกชนิด ไม่ว่าการฟัง
ดนตรี การร้องเพลง การเล่นดนตรีหรือบรรเลงดนตรี กิจกรรมแบบสร้างสรรค์ กิจกรรมส่วนผสมดนตรี
รูปที่ 6 นันทนาการประเภทการดนตรีและร้องเพลง
ที่มาของรูป : http://www.learners.in.th/blogs/posts/401211
http://www.gotoknow.org/posts/73537?locale=en
ประโยชน์ของการดนตรีและร้องเพลง
1.เป็นกิจกรรมกระตุ้นมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
2.เป็นสิ่งสร้างอารมณ์เฉพาะ
3.เป็นการแสดงออกทางอารมณ์
4.ส่งเสริมความสามารถทางจิตใจและสติปัญญา
5.ส่งเสริมแสดงออกทางจิตใจและสติปัญญา
6.ช่วยลดความเครียดของบุคคลและสังคม
7.สร้างและส่งเสริมคุณค่าของศิลปะการสร้างสรรค์
8.เป็นการพัฒนาอาชีพเศรษฐกิจแก่สังคม
7.กิจกรรมกลางแจ้ง นอกเมือง (Outdoor Recreation)
เป็นกิจกรรมนันทนาการที่มีความหลากหลาย ส่งเสริมให้บุคคลมีโอกาสสัมผัสธรรมชาติและ
สภาพแวดล้อม ปลอดภัยจากมลภาวะเป็นพิษ แหล่งนันทนาการประเภทนี้ได้แก่ การอยู่ค่ายพักแรม การ
เดินทางไกล สวนหย่อม สวนสัตว์ พิพิธภัณฑ์
รูปที่ 7 นันทนาการ ประเภทกลางแจ้ง
นอกเมือง
ที่มาของรูป : http://202.28.68.150/eco_sichon/project/event.php?id=31
ประโยชน์ของกิจกรรมกลางแจ้ง นอกเมือง
1.ส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติ
2.สร้างความสนุกสนานตื่นเต้น สนุกสนานเพลิดเพลิน
3.รู้จักการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
4.ดารงชีวิตเข้ากับธรรมชาติได้
5.เรียนรู้และเห็นคุณค่าของธรรมชาติโดยตรง
8.วรรณกรรม (อ่าน,พูด,เขียน) (Reading, Speaking and Writing)
เพื่อส่งเสริมให้บุคคลพัฒนาการทักษะความรู้ และความสามารถ ปฏิบัติได้ทุกเพศทุกวัย
ก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน การแสดงออกแห่งตนอย่างสร้างสรรค์ ก่อให้เกิดการพัฒนาการ
จินตนาการ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างประหยัดเช่น การอ่านหนังสือประเภทต่างๆ การเขียนกลอน
เขียนบทความเป็นต้น
รูปที่ 8 กิจกรรมนันทนาการประเภทวรรณกรรม
ที่มาของรูป : http://www.thankyou.thmy.com/p.4.html
http://www.gotoknow.org/posts/103950?
ประโยชน์ของกิจกรรมวรรณกรรม
1.ฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการอ่าน เขียน พูด
2.ผ่อนคลายอารมณ์ สนุกสนานเพลิดเพลิน
3.มีความคิดสร้างสรรค์และได้แสดงออก
4.เป็นที่ยอมรับของสังคม 5.
รู้เท่าทันเหตุการณ์ปัจจุบัน มีความรู้กว้างขวาง
9.กิจกรรมทางสังคม (Sock Recreation)
เป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมโอกาสให้บุคคลมีมนุษยสัมพันธ์ มีความเข้าใจ มีความสามัคคี
อันดีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันได้แก่ กิจกรรมประเภทที่จัดขึ้นเป็นครั้งคราวตามวาระต่างๆอันเกี่ยวกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม เช่น งานรื่นเริงประจาปี งานเทศกาล งานพบปะสังสรรค์ เป็นต้น
รูปที่ 9 กิจกรรมนันทนาการประเภทกิจกรรมทางสังคม
ที่มาของรูป : http://www.gotoknow.org/posts/103950?
ประโยชน์ของกิจกรรมทางสังคม
1.เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีในครอบครัวและชุมชน
2.ได้เปลี่ยนบรรยากาศ ทาให้ชีวิตกระชุ่มกระชวย
3.มีความเห็นอกเห็นใจและเข้าใจกัน
4.ช่วยพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
5.ทาให้สังคมมีความเป็นอยู่อย่างสงบสุข
10.กิจกรรมพิเศษ (Special Events)
เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นในเทศกาลพิเศษ ต้องมีการจัดเตรียมอาคารสถานที่ เพื่อเปิดโอกาสให้ชุมชน
ได้ร่วมกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมอื่น ๆ ที่จัดขึ้นเพื่อความมุ่งหมายนอกเหนือจากที่กล่าวแล้ว ทั้งหมด เช่น การ
เล่นสงกรานต์ การแข่งขันพื้นเมือง การเที่ยวงานวันประจาปี งานเทศกาลประจาปี และงานมหกรรมต่าง ๆ
เป็นต้น
รูปที่ 10 กิจกรรมนันทนาการประเภทกิจกรรมพิเศษ
ที่มาของรูป : http://www.dailynews.co.th/thailand/169421
ประโยชน์ของกิจกรรมพิเศษ
1.เป็นศูนย์กลางของชุมชน เปิดโอกาสให้ชุมชนได้ทางานร่วมกัน และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
2.เปิดโอกาสการทางาน เพื่อการสร้างโปรแกรมนันทนาการ 3.
ใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ของชุมชน เพื่อก่อให้เกิดทัศนคติที่ดีของชุมชน 4.
เปิดโอกาสให้บุคคลได้รู้จักสมาชิกใหม่ สร้างมนุษยสัมพันธ์ 5.เ ป็ น ก า ร
ทางานร่วมกัน โดยมีเป้ าหมายเดียวกัน
11.กิจกรรมอาสาสมัคร (Voluntary Service)
การเข้าร่วมกิจกรรมอาสาสมัคร เป็นกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ต่างๆ ที่บุคคลเข้าร่วมในการ
ปฏิบัติด้วยความสมัครใจ เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยไม่หวังผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ
เป็นการส่วนตัว เช่น การเข้าร่วมพัฒนาชุมชน การเข้าร่วมพัฒนาหมู่บ้าน การเข้าร่วมพัฒนาโรงเรียน เป็น
ตัน
รูปที่ 11 กิจกรรมนันทนาการประเภทกิจกรรมอาสาสมัคร
ที่มาของรูป : http://www.rd1677.com/branch.php?id=65027
http://www.dmc.tv/page_print.php?p.html
ประโยชน์ของการบริการอาสาสมัคร
1.ได้บาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ
2.ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติบ้านเมือง
3.เป็นบุคคลตัวอย่างให้แก่สังคมและลูกหลาน
4.เกิดความสบายใจและสุขใจ
ประโยชน์และคุณค่าของนันทนาการ
เมื่อบุคคลและชุมชนได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการในช่วงเวลาว่างด้วยความสมัครใจ ก็
จะก่อให้ผลที่ได้รับในเรื่องของคุณค่าและประโยชน์ต่างๆ สมบัติ กาญจนกิจ และ ดารัส ดาราศักดิ์ 2520
คณิต เขียววิชัย 2529 และจรินทร์ ธานีรัตน์ 2538 ได้สรุปไว้ดังต่อไปนี้
1.ช่วยให้บุคคลและชุมชนได้รับความสุขสนุกสนาน มีความสุขในชีวิต และใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์
2.ช่วยให้บุคคลและชุมชนพัฒนาสุขภาพจิตและสมรรถภาพทางกายที่ดี เกิดความสมดุลของชีวิต
3.ช่วยป้ องกัน ปัญหาอาชญากรรม และพฤติกรรมเบี่ยงเบนในทางไม่พึงประสงค์ของเยาวชนและ
เด็ก การพัฒนาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนนับว่าเป็นสิ่งสาคัญในการเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่พึง
ประสงค์และเป็นกาลังคนที่มีประสิทธิภาพในอนาคต กิจกรรมนันทนาการประเภทต่างๆช่วยให้เด็กและ
เยาวชนเลือกได้ตามความสนใจและได้ใช้เวลาว่างในการพัฒนาลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ได้
4.ส่งเสริมความเป็นพลเมืองดี การที่ชุมชนได้มีโอกาสใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เข้าร่วมกิจกรรม
นันทนาการ จะได้เรียนรู้ในเรื่องของหน้าที่ความรับผิดชอบ คุณค่าทางสังคมเสรีประชาธิปไตย ลดความเห็น
แก่ตัว สร้างคุณค่า จริยธรรม มีน้าใจ ให้บริการ อาสาสมัครช่วยเหลือสังคม ซึ่งถือว่าเป็นกิจกรรมของความ
เป็นพลเมืองดีของประชาชาติ
5.ส่งเสริมการพัฒนาอารมณ์สุข กิจกรรมนันทนาการช่วยพัฒนาอารมณ์สุข รวมทั้งสุขสนุกสนาน
และความสุขสงบ ลดความเครียด ความวิตกกังวล ทาให้อารมณ์แจ่มใส และช่วยส่งเสริมให้รู้จักการ
พัฒนาการควบคุมอารมณ์ และบุคลิกภาพที่ดีอีกด้วย
6.ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ กิจกรรมนันทนาการเช่น การละเล่นพื้นเมือง วิถีชีวิตงาน
ประเพณีพื้นบ้าน ตลอดจนแหล่งนันทนาการประเภทอุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถาน และโบราณวัตถุ
ช่วยส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ ส่งเสริมการเรียนรู้ ทัศนคติ และความซาบซึ้ง อันจักก่อให้เกิด
การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของชาติต่อไป
7.ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรมกลางแจ้ง และนอกเมือง มีกิจกรรมอยู่ค่ายพัก
แรม เดินป่า ศึกษาธรรมชาติไต่เขา เป็นต้น ช่วยสอนผู้ที่เข้าร่วมรู้จักคุณค่าของธรรมชาติ ซาบซึ้งและ
สามารถช่วยดูแลอนุรักษ์ธรรมชาติอันจักเป็นประโยชน์ต่อชุมชน และประชาชาติของโลก
8.ส่งเสริมในเรื่องการบาบัดรักษา นันทนาการเพื่อการบาบัด เป็นกรรมวิธีและกิจกรรมที่ช่วยรักษา
คนไข้ ทั้งทางด้านร่างกายและด้านสุขภาพจิต เช่น งานอดิเรกประเภทประดิษฐ์ สร้างสรรค์ และกระทาช่วย
ส่งเสริมความหวัง ความคิด และการใช้เวลาว่างแก้คนไข้ ซึ่งกาลังต่อสู้กับความทุกข์ทางกายหรือกิจกรรม
นันทนาการ ประเภทกีฬานันทนาการช่วยส่งเสริมการพัฒนาร่างกาย กิจกรรมนันทนาการทางสังคม ช่วย
สร้างขวัญกาลังใจของคนไข้
9.ส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ และการทางานเป็นทีม กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ช่วยให้บุคคลได้แสดงออก
และละลายพฤติกรรมของกลุ่ม สอนคุณค่าทางสังคมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข กิจกรรมเกมกีฬา และ
กีฬาเพื่อการแข่งขันและการอยู่ค่ายพักแรม ช่วยสอนการทางานเป็นทีม ลดความเห็นแก่ตัว ความสามัคคี
และความเข้าใจอันดีในหมู่คณะ

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการteaw-sirinapa
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
Aom S
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์Wichai Likitponrak
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
Thanawut Rattanadon
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงMim Kaewsiri
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
orasa1971
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
Napaphat Bassnowy
 
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 

Similar to บทที่ 4

9789740331766
97897403317669789740331766
9789740331766CUPress
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
นันทนาการส่ง
นันทนาการส่งนันทนาการส่ง
นันทนาการส่งbaipool
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
Chalit Arm'k
 
Sport & law
Sport & lawSport & law
Sport & law
Wachira Pakdisi
 
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ททฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
earlychildhood024057
 
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
suraidabungasayu
 
Robert havighurst
Robert havighurstRobert havighurst
Robert havighurst
ping1393
 
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิตทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
hoossanee
 
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงนันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงpiyard
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
Wedjanuary2009 10-10-33
Wedjanuary2009 10-10-33Wedjanuary2009 10-10-33
Wedjanuary2009 10-10-33
ksauw
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้Ummara Kijruangsri
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5wichsitb
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 

Similar to บทที่ 4 (20)

9789740331766
97897403317669789740331766
9789740331766
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
นันทนาการส่ง
นันทนาการส่งนันทนาการส่ง
นันทนาการส่ง
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
Sport & law
Sport & lawSport & law
Sport & law
 
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ททฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
 
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
 
Robert havighurst
Robert havighurstRobert havighurst
Robert havighurst
 
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิตทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
 
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงนันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
 
ประโยชน์
ประโยชน์ประโยชน์
ประโยชน์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Wedjanuary2009 10-10-33
Wedjanuary2009 10-10-33Wedjanuary2009 10-10-33
Wedjanuary2009 10-10-33
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 

More from teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1teaw-sirinapa
 

More from teaw-sirinapa (20)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
 

บทที่ 4

  • 1. บทที่ 4 ลักษณะของกิจกรรมนันทนาการ ลักษณะของกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการ 11ประเภท ประโยชน์และคุณค่าของ นันทนาการแต่ละประเภท สุขภาพเป็นสิ่งสาคัญสาหรับคนทุกคน จุดมุ่งหมายของนันทนาการประการหนึ่ง ก็เพื่อพัฒนา สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตของคนให้สมบูรณ์ ดังนั้น กิจกรรมนันทนาการอีกกิจกรรมหนึ่งที่มี ความสาคัญเพิ่มขึ้น พร้อมกับความสนใจในสุขภาพของคนในปัจจุบัน คือ กิจกรรมนันทนาการประเภท พัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพ ซึ่งกิจกรรมนันทนาการประเภทนี้เป็นกิจกรรมแบบผสมผสาน เป็นเรื่อง เกี่ยวกับการจัดการลีลาชีวิต (Life Style Management) ซึ่งนักวิชาการ ได้ให้คาจากัดความของคาว่า นันทนาการสุขภาพ (Wellness) ว่าหมายถึง กิจกรรมประเภทลีลาชีวิต (lifestyle) ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีความ ประสงค์ที่จะฝึกฝนด้านสุขภาพและการทาให้มีสุขภาพดี หรืออีกความหมายหนึ่ง คือ สิ่งที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กับมนุษย์ ซึ่งสิ่งดังกล่าวนี้เป็นพื้นฐานของสุขภาพที่ดีและเป็นการพัฒนาของชุมชน และจะมีส่วนช่วยใน การพัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งมีความสาคัญต่อสภาวะและสภาพความเป็นอยู่ ความหมายและคาจากัดความที่กว้างมากกว่า อาการหรือพฤติกรรม ดังที่นักวิชาการหลายๆท่าน ทั้งไทย และต่างประเทศได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้ ยอร์ช ดี บัตเตอร์ ให้ความหมายว่า การใช้เวลาว่างนั้นเพื่อประโยชน์และคุณค่าในทางงดงาม จากการเข้าร่วมกิจกรรม ในวัยเด็กจะเรียกว่า “การเล่น” แต่ในวัยหนุ่มสาวจะเรียกว่า “นันทนาการ” ริชาร์ด จี ครูส ให้ความหมายว่า เวลาที่ว่างจากกิจกรรมที่จาเป็นอื่นๆว่างจากงานประจา เวลานอน หรือเวลาที่ประกอบกิจวัตรประจาวัน พีระพงศ์ ให้ความหมายว่า กิจกรรมที่บุคคลเข้าร่วมด้วยความสมัครใจในเวลาว่างโดยมีความ พอใจ สมัครใจ ไม่มีการบังคับและ ได้รับความสุขสนุกสนานเพลิดเพลินใจจากการเข้าร่วมกิจกรรม ชูชีพ เยาวพัฒน์ ให้ความหมายว่า เป็นกิจกรรมที่มีองค์ประกอบในลักษณะเดียวกันกับการเล่น จะ แตกต่างกันในเรื่องอขงรูปแบบของนันทนาการ และมีบางสิ่งบางอย่างที่นอกเหนือจากการเล่น โดยเน้นใน เรื่องการศึกษาความซาบซึ้งในการเสริมสร้างประสงการณ์ใหม่ๆ หรือมุ่งเน้นการพัฒนาการทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคมแบละจิตใจ ให้กระทาแต่ในสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ไม่ว่าบุคคลนั้นจะ ใช้มันสมองหรือใช้กาลังกายประกอบสัมมาอาชีพก็ตาม
  • 2. นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมที่กระทาในเวลาว่างจากภารกิจงานประจา ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรม กระทาด้วยความสมัครใจและมีความพึงพอใจ โดยกิจกรรมนั้นไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม และกฎหมายบ้านเมือง ทาให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินมีสุขภาพที่ดี ลักษณะพื้นฐานของกิจกรรมนันทนาการ ลักษณะสาคัญที่เป็นองค์ประกอบของนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการนี้ประกอบด้วยลักษณะที่ สาคัญ ซึ่งได้มีนักวิชาการหลายท่าน เช่น บัทเลอร์ 1959 และไมเยอร์ 1969 ได้วางหลักเกณฑ์ในเรื่องของ ลักษณะพื้นฐานของนันทนาการดังนี้ 1. นันทนาการนั้นต้องเป็นกิจกรรม ( Activity ) คือ ต้องมีการกระทาร่างกายกล้ามเนื้อหรืออวัยวะ ส่วนใดส่วนหนึ่งได้มีการกระทาตั้งแต่เกมกีฬา ศิลปหัตถกรรม ดนตรี ละคร กิจกรรมกลางแจ้งนอกเมือง งานอดิเรก การท่องเที่ยว โยคะ สมาธิ เป็นต้น กิจกรรมเกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานในการกระทา หรือถูก กระทา ( การอยู่เฉยๆ เช่น นอนหลับ ถือว่าไม่เป็นกิจกรรมทางนันทนาการ เพราะการนอนไม่ถือว่าเป็น กิจกรรม ) 2.นันทนาการมีรูปแบบหลากหลาย มีขอบเขตไม่จากัด ตั้งแต่ในรูปแบบของหมวดหมู่ นันทนาการ ยังมีรูปแบบที่จัดบริการเป็นสวัสดิการสังคม เป็นแหล่งนันทนาการบริการแก่กลุ่มประชากรทุกระดับวัยและ ประชากรพิเศษการเข้าร่วมในกิจกรรมนั้นต้องเป็นการกระทาด้วยความสมัครใจ 3. นันทนาการจะต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจและมีแรงจูงใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการจะต้อง เป็นการเข้าร่วมด้วยความสนใจ สมัครใจ มีแรงจูงใจในกิจกรรมเข้าร่วม โดยมิได้ถูกบังคับ 4.นันทนาการเกิดขึ้นได้ในเวลาที่ไม่จากัด บุคคลและชุมชนมีอิสระที่จะเข้าร่วมในสิ่งที่เขาต้องการ จะเล่นหรือเข้าร่วมโดยไม่จากัดเวลา 5.นันทนาการจะต้องเป็นสิ่งที่จริงจังและมีจุดมุ่งหมาย ประสบการณ์นันทนาการเป็นการพัฒนา คุณภาพชีวิต พัฒนาอารมณ์สุข มีคุณค่าสาระเป็นสิ่งจริงจังและมีจุดหมายเสมอ 6.นันทนาการเป็นการบาบัดรักษา กิจกรรมนันทนาการช่วยฟื้นฟูและรักษาคนไข้และเปิดโอกาส ให้คนไข้เลือกกิจกรรมในเวลาว่าง กระทาเพื่อพัฒนาสุขภาพกายและจิตใจยามฟื้นไข้หรือระหว่างการ บาบัดรักษา 7.นันทนาการเป็นกิจกรรมที่สามารถยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ ตามความเหมาะสมกิจกรรม นันทนาการสามารถจัดได้ตามความเหมาะสม ตามสภาพแวดล้อม ความต้องการ และสนใจ ตลอดจน อุปกรณ์และสถานที่สิ่งอานวยความสะดวก
  • 3. 8.นันทนาการจะต้องเป็นกิจกรรมที่พึงประสงค์ของสังคม กิจกรรมนันทนาการของสังคม หรือ ชุมชนหนึ่ง อาจจะไม่เหมาะสมกับอีกชุมชนหนึ่ง เป็นขอบข่ายวิถีชีวิตของชุมชน ดังนั้นกิจกรรมนันทนาการ จะต้องเป็นที่ยอมรับในสังคมนั้นๆ ประเภทของนันทนาการ 11 ประเภท กิจกรรมนันทนาการมีให้เลือกหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งคนเราควรมีกิจกรรมนันทนาการหลาย ๆ อย่าง เพื่อจะได้ไม่เบื่อหน่าย แต่ควรเลือกให้เหมาะสมกับอัตภาพของตนเองกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ มี ดังนี้ 1.ศิลปหัตถกรรม (Art and Crafts) กิจกรรมนันทนาการประเภทศิลปหัตถกรรม จะส่งเสริมความสามารถ ทักษะ สมาธิ ความประณีต และความอุตสาหกรรม ให้แก่บุคคลที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้ได้รับการพัฒนาทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ไปพร้อมๆกัน รูปที่ 1 กิจกรรมนันทนาการประเภทศิลปะหัตถกรรม ที่มาของรูป: http://th.88db.com/thailand/Central-Region+Nonthaburi/Art-Craft/Handicraft/ad http://www.kendimiz.com/ศิลปหัตถกรรมไทย/ ประเภทของกิจกรรมศิลปหัตถกรรม - การประดิษฐ์เครื่องเล่น เครื่องใช้ - การพิมพ์ภาพ และลวดลายต่างๆ - ศิลปะการตกแต่งบ้าน - การเย็บปักถักร้อย - การประกอบอาหาร - ศิลปะการแกะสลัก
  • 4. ประโยชน์ของศิลปหัตถกรรม 1.เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ จึงเหมาะแก่บุคคลทุกระดับวัย 2.เป็นกิจกรรมประสานงานของสมองและมือ ตลอดจนความคิด 3.เป็นกิจกรรมผ่อนคลายอารมณ์ ใช้พลังงาน และเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมได้พัฒนาอารมณ์สุข 4.เป็นกิจกรรมช่วยพัฒนานิสัย และทัศนคติที่พึงประสงค์ 5.เป็นกิจกรรมช่วยให้บุคคลและชุมชน สามารถช่วยเหลือตนเองได้มีโอกาสเลือกตัดสินใจที่จะเข้า ร่วมกิจกรรม ตามความสามารถของตน 6.เป็นกิจกรรมที่ช่วยสร้างความภาคภูมิใจในผลงานของตน และช่วยสร้างความมั่นใจให้กับตนเอง 7.ผลงานของศิลปหัตถกรรมช่วยให้นาไปใช้ในสภาพของความเป็นจริงจึงเป็นการประหยัดอีกด้วย 2.เกมกีฬา (Games and Sports) เป็นการออกกาลังกายซึ่งแยกเป็น - - เกม มีความหลากหลายในรูปแบบต่างๆ เช่น เกมเบ็ดเตล็ด เกมที่นาไปสู่กีฬาใหญ่ เกมประกวด เกมสร้างสรรค์ เกมกลุ่มสัมพันธ์ เกมพัฒนาสติปัญญา เกมส่งเสริมคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม และ การละเล่นพื้นบ้าน เป็นต้น - กีฬา เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณค่าทางด้านการศึกษา พัฒนาความเจริญเติบโตทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา รูปที่ 2 กิจกรรมนันทนาการการประเภทเกมกีฬา ที่มารูป : http://www.noodoba.com/2012/09/http://campus.sanook.com/u_life/activity_02529.php?page=0
  • 5. ประเภทของกิจกรรมกีฬา แบ่งออกเป็น 6 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1.กิจกรรมเกม การออกกาลังกายขั้นพื้นฐาน เช่น ชักเย่อ วิ่งเปี้ยว ลิงจับหลัก อีกาฟักไข่ และมอญ ซ่อนผ้า เป็นต้น 2.กีฬาประเภทเดี่ยวและประเภทคู่ เช่น ยิงธนู กรีฑา ว่ายน้า แบดมินตัน ปิงปอง เป็นต้น 3.กีฬาประเภททีม ได้แก่ ฟุตบอล บาสเกตบอล ตะกร้อ ฮอกกี้วอลเลย์บอล แชร์บอล เป็นต้น 4.กีฬาสาหรับสตรีและเด็ก เช่น ห่วงยาง แชร์บอล ว่ายน้า วอลเลย์บอล และยิมนาสติก เป็ นต้น 5.กีฬานันทนาการ หมายถึง กีฬามวลชน ที่นิยมเล่นได้ทั้งชาย หญิง เด็ก ผู้ใหญ่ คนสูงอายุ และ กีฬาในกลุ่มคนพิเศษ เช่น เดิน-วิ่ง ดาน้า ปีนเขา เป็นต้น 6.กีฬาเพื่อการแข่งขัน หมายถึง กีฬาที่เป็นเรื่องทักษะกีฬาเพื่อความเป็นเลิศในการแข่งขัน มีการ ซ้อมอย่างต่อเนื่อง เช่น ฟุตบอล เชปักตะกร้อ มวยสากล เทนนิส และบาสเกตบอล เป็นต้น ประโยชน์ของเกมกีฬา 1. พัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญา 2.สร้างความสามัคคีในหมู่คณะและต่างคณะ 3.ส่งเสริมการมีมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นได้ดี 4.มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม 5.พัฒนาบุคลิกภาพ 6.มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อบุคคลอื่น และมีน้าใจเป็นนักกีฬา 7.เสริมสร้างการทางานร่วมกันเป็นทีม 3.การเต้นรา (Dances) เป็นกิจกรรมทางสังคมที่ให้คุณค่าพัฒนาการทางด้านความเจริญเติบโตของร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ ส่งเสริมการกล้าแสดงออก เสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จัก มารยาทของสังคมและวัฒนธรรม เป็นกิจกรรมทางวัฒนธรรมของมนุษย์ที่มีประวัติศาสตร์มาเป็นเวลาอัน ยาวนาน เช่น นาฏกรรม เช่น ลีลาศ ราวง ฟ้ อนราและกิจกรรมเข้าจังหวะต่าง ๆ
  • 6. รูปที่ 3 กิจกรรมนันทนาการประเภทการเต้นรา ที่มาของรูป : http://www.zazana.com/Story-900/id7004.aspx http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/art02/02/contents/main.html ประโยชน์ของการเต้นรา 1.ก่อให้เกิดความสนุกสนาน รวมทั้งพัฒนาสมรรถภาพทางร่างกาย 2.ได้เรียนรู้มารยาทในการเข้าสังคม 3.ส่งเสริมการประสานของระบบประสาทกับกล้ามเนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เสริมสร้างบุคลิกภาพ ทรวดทรงดี 5.ส่งเสริมการกล้าแสดงออกของแต่ละบุคคล 6.ส่งเสริมการมีมนุษยสัมพันธ์ การปรับตัวของบุคคล 7.ส่งเสริมจังหวะและดนตรีให้แก่ผู้เข้าร่วม 4.การละคร (Drama) เป็นการส่งเสริมการแสดงออก เพื่อให้เกิดจินตภาพ ภาพพจน์ แนวคิดเพื่อปลุกอารมณ์ในแบบต่าง ๆ เช่น ละครร้อง ละครรา ละครชาตรี มโนราห์โขน หลังตะลุงหุ่นกระบอกนาฏศิลป์ อุปรากรละครพูด
  • 7. รูปที่ 4 นันทนาการประเภทการละคร ที่มาของรูป : http://writer.dek-d.com/army-gang/writer/viewlongc.php?id=790158&chapter=2 http://kanchanapisek.or.th/kp6 / New/sub/book/book.php?book=1 3 &chap=5 &page=t1 3 -5 - infodetail06.html ประโยชน์ของการละคร 1.เป็นการส่งเสริมการแสดงออกแห่งตน 2.เป็นศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชนชาติ 3.ส่งเสริมการเลียนแบบพฤติกรรมของมนุษย์ 4.เป็นการพัฒนาทางอารมณ์สุข สนุกสนานเพลิดเพลิน 5.ช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ 5.งานอดิเรก (Hobby) เป็นกิจกรรมที่ทาในช่วงเวลาว่างของตน ทาเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจในยามว่าง ตามความสมัครใจและความพึงพอใจเช่น การเก็บสะสมสิ่งต่างๆ สะสมแสตมป์ สะสมรูปภาพ เหรียญ ธนบัตร หนังสือ เป็นต้น รูปที่ 5 นันทนาการประเภทงานอดิเรก ที่มาของรูป : http://phuketcity.olxthailand.com/iid-38424228 http://itgreenpj.wordpress.com/category/โรงเรียนคลองสาม/ http://business.treasury.go.th/webboard/view.php?qid=3701&gid=12&PageShow=89 ประโยชน์ของงานอดิเรก 1.ช่วยผ่อนคลายความเครียดของบุคคลและชุมชน
  • 8. 2.ส่งเสริมสุขภาพจิต 3.ต่อต้านความเบื่อหน่าย หรือเวลาว่างเชิงบังคับ 4.เป็นการบริการตนเองและชุมชน 5.เป็นการแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ 6.เป็นสิ่งที่มีจุดมุ่งหมายหรือทดแทนโอกาสขณะตกงาน 7.เป็นสื่อความรู้และทักษะการเรียนรู้ในสิ่งที่ตนไม่รู้มาก่อน 8.ส่งเสริมความสมดุลในกิจกรรมการงาน เวลาว่าง และนันทนาการ 9.ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการของสังคม 10.ส่งเสริมการได้กระทากิจกรรมที่ก่อให้เกิดคุณค่าและมีจุดมุ่งหมาย สร้างความสมดุล ของชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ 6.การดนตรีและร้องเพลง (Music and Singing) การดนตรีสามารถถ่ายทอดความรู้ สึกของมนุษย์เป็ นส่วนหนึ่งของการดาเนิน ชีวิตประจาวัน ทั้งในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การแสดงออกแห่งตน การท้าทาย การแสดงความสามารถ ชั้นสูงที่บุคคลพึงกระทา เป็นการผ่อนคลายความเครียด ได้แก่ กิจกรรมทางดนตรีทุกชนิด ไม่ว่าการฟัง ดนตรี การร้องเพลง การเล่นดนตรีหรือบรรเลงดนตรี กิจกรรมแบบสร้างสรรค์ กิจกรรมส่วนผสมดนตรี รูปที่ 6 นันทนาการประเภทการดนตรีและร้องเพลง ที่มาของรูป : http://www.learners.in.th/blogs/posts/401211 http://www.gotoknow.org/posts/73537?locale=en
  • 9. ประโยชน์ของการดนตรีและร้องเพลง 1.เป็นกิจกรรมกระตุ้นมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เป็นสิ่งสร้างอารมณ์เฉพาะ 3.เป็นการแสดงออกทางอารมณ์ 4.ส่งเสริมความสามารถทางจิตใจและสติปัญญา 5.ส่งเสริมแสดงออกทางจิตใจและสติปัญญา 6.ช่วยลดความเครียดของบุคคลและสังคม 7.สร้างและส่งเสริมคุณค่าของศิลปะการสร้างสรรค์ 8.เป็นการพัฒนาอาชีพเศรษฐกิจแก่สังคม 7.กิจกรรมกลางแจ้ง นอกเมือง (Outdoor Recreation) เป็นกิจกรรมนันทนาการที่มีความหลากหลาย ส่งเสริมให้บุคคลมีโอกาสสัมผัสธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม ปลอดภัยจากมลภาวะเป็นพิษ แหล่งนันทนาการประเภทนี้ได้แก่ การอยู่ค่ายพักแรม การ เดินทางไกล สวนหย่อม สวนสัตว์ พิพิธภัณฑ์ รูปที่ 7 นันทนาการ ประเภทกลางแจ้ง นอกเมือง ที่มาของรูป : http://202.28.68.150/eco_sichon/project/event.php?id=31 ประโยชน์ของกิจกรรมกลางแจ้ง นอกเมือง 1.ส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติ 2.สร้างความสนุกสนานตื่นเต้น สนุกสนานเพลิดเพลิน 3.รู้จักการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
  • 10. 4.ดารงชีวิตเข้ากับธรรมชาติได้ 5.เรียนรู้และเห็นคุณค่าของธรรมชาติโดยตรง 8.วรรณกรรม (อ่าน,พูด,เขียน) (Reading, Speaking and Writing) เพื่อส่งเสริมให้บุคคลพัฒนาการทักษะความรู้ และความสามารถ ปฏิบัติได้ทุกเพศทุกวัย ก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน การแสดงออกแห่งตนอย่างสร้างสรรค์ ก่อให้เกิดการพัฒนาการ จินตนาการ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างประหยัดเช่น การอ่านหนังสือประเภทต่างๆ การเขียนกลอน เขียนบทความเป็นต้น รูปที่ 8 กิจกรรมนันทนาการประเภทวรรณกรรม ที่มาของรูป : http://www.thankyou.thmy.com/p.4.html http://www.gotoknow.org/posts/103950?
  • 11. ประโยชน์ของกิจกรรมวรรณกรรม 1.ฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการอ่าน เขียน พูด 2.ผ่อนคลายอารมณ์ สนุกสนานเพลิดเพลิน 3.มีความคิดสร้างสรรค์และได้แสดงออก 4.เป็นที่ยอมรับของสังคม 5. รู้เท่าทันเหตุการณ์ปัจจุบัน มีความรู้กว้างขวาง 9.กิจกรรมทางสังคม (Sock Recreation) เป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมโอกาสให้บุคคลมีมนุษยสัมพันธ์ มีความเข้าใจ มีความสามัคคี อันดีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันได้แก่ กิจกรรมประเภทที่จัดขึ้นเป็นครั้งคราวตามวาระต่างๆอันเกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม เช่น งานรื่นเริงประจาปี งานเทศกาล งานพบปะสังสรรค์ เป็นต้น รูปที่ 9 กิจกรรมนันทนาการประเภทกิจกรรมทางสังคม ที่มาของรูป : http://www.gotoknow.org/posts/103950? ประโยชน์ของกิจกรรมทางสังคม 1.เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีในครอบครัวและชุมชน 2.ได้เปลี่ยนบรรยากาศ ทาให้ชีวิตกระชุ่มกระชวย 3.มีความเห็นอกเห็นใจและเข้าใจกัน 4.ช่วยพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม 5.ทาให้สังคมมีความเป็นอยู่อย่างสงบสุข
  • 12. 10.กิจกรรมพิเศษ (Special Events) เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นในเทศกาลพิเศษ ต้องมีการจัดเตรียมอาคารสถานที่ เพื่อเปิดโอกาสให้ชุมชน ได้ร่วมกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมอื่น ๆ ที่จัดขึ้นเพื่อความมุ่งหมายนอกเหนือจากที่กล่าวแล้ว ทั้งหมด เช่น การ เล่นสงกรานต์ การแข่งขันพื้นเมือง การเที่ยวงานวันประจาปี งานเทศกาลประจาปี และงานมหกรรมต่าง ๆ เป็นต้น รูปที่ 10 กิจกรรมนันทนาการประเภทกิจกรรมพิเศษ ที่มาของรูป : http://www.dailynews.co.th/thailand/169421 ประโยชน์ของกิจกรรมพิเศษ 1.เป็นศูนย์กลางของชุมชน เปิดโอกาสให้ชุมชนได้ทางานร่วมกัน และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2.เปิดโอกาสการทางาน เพื่อการสร้างโปรแกรมนันทนาการ 3. ใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ของชุมชน เพื่อก่อให้เกิดทัศนคติที่ดีของชุมชน 4. เปิดโอกาสให้บุคคลได้รู้จักสมาชิกใหม่ สร้างมนุษยสัมพันธ์ 5.เ ป็ น ก า ร ทางานร่วมกัน โดยมีเป้ าหมายเดียวกัน
  • 13. 11.กิจกรรมอาสาสมัคร (Voluntary Service) การเข้าร่วมกิจกรรมอาสาสมัคร เป็นกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ต่างๆ ที่บุคคลเข้าร่วมในการ ปฏิบัติด้วยความสมัครใจ เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยไม่หวังผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ เป็นการส่วนตัว เช่น การเข้าร่วมพัฒนาชุมชน การเข้าร่วมพัฒนาหมู่บ้าน การเข้าร่วมพัฒนาโรงเรียน เป็น ตัน รูปที่ 11 กิจกรรมนันทนาการประเภทกิจกรรมอาสาสมัคร ที่มาของรูป : http://www.rd1677.com/branch.php?id=65027 http://www.dmc.tv/page_print.php?p.html ประโยชน์ของการบริการอาสาสมัคร 1.ได้บาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ 2.ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติบ้านเมือง 3.เป็นบุคคลตัวอย่างให้แก่สังคมและลูกหลาน 4.เกิดความสบายใจและสุขใจ
  • 14. ประโยชน์และคุณค่าของนันทนาการ เมื่อบุคคลและชุมชนได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการในช่วงเวลาว่างด้วยความสมัครใจ ก็ จะก่อให้ผลที่ได้รับในเรื่องของคุณค่าและประโยชน์ต่างๆ สมบัติ กาญจนกิจ และ ดารัส ดาราศักดิ์ 2520 คณิต เขียววิชัย 2529 และจรินทร์ ธานีรัตน์ 2538 ได้สรุปไว้ดังต่อไปนี้ 1.ช่วยให้บุคคลและชุมชนได้รับความสุขสนุกสนาน มีความสุขในชีวิต และใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ 2.ช่วยให้บุคคลและชุมชนพัฒนาสุขภาพจิตและสมรรถภาพทางกายที่ดี เกิดความสมดุลของชีวิต 3.ช่วยป้ องกัน ปัญหาอาชญากรรม และพฤติกรรมเบี่ยงเบนในทางไม่พึงประสงค์ของเยาวชนและ เด็ก การพัฒนาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนนับว่าเป็นสิ่งสาคัญในการเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่พึง ประสงค์และเป็นกาลังคนที่มีประสิทธิภาพในอนาคต กิจกรรมนันทนาการประเภทต่างๆช่วยให้เด็กและ เยาวชนเลือกได้ตามความสนใจและได้ใช้เวลาว่างในการพัฒนาลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ได้ 4.ส่งเสริมความเป็นพลเมืองดี การที่ชุมชนได้มีโอกาสใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เข้าร่วมกิจกรรม นันทนาการ จะได้เรียนรู้ในเรื่องของหน้าที่ความรับผิดชอบ คุณค่าทางสังคมเสรีประชาธิปไตย ลดความเห็น แก่ตัว สร้างคุณค่า จริยธรรม มีน้าใจ ให้บริการ อาสาสมัครช่วยเหลือสังคม ซึ่งถือว่าเป็นกิจกรรมของความ เป็นพลเมืองดีของประชาชาติ 5.ส่งเสริมการพัฒนาอารมณ์สุข กิจกรรมนันทนาการช่วยพัฒนาอารมณ์สุข รวมทั้งสุขสนุกสนาน และความสุขสงบ ลดความเครียด ความวิตกกังวล ทาให้อารมณ์แจ่มใส และช่วยส่งเสริมให้รู้จักการ พัฒนาการควบคุมอารมณ์ และบุคลิกภาพที่ดีอีกด้วย 6.ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ กิจกรรมนันทนาการเช่น การละเล่นพื้นเมือง วิถีชีวิตงาน ประเพณีพื้นบ้าน ตลอดจนแหล่งนันทนาการประเภทอุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ช่วยส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ ส่งเสริมการเรียนรู้ ทัศนคติ และความซาบซึ้ง อันจักก่อให้เกิด การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของชาติต่อไป 7.ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรมกลางแจ้ง และนอกเมือง มีกิจกรรมอยู่ค่ายพัก แรม เดินป่า ศึกษาธรรมชาติไต่เขา เป็นต้น ช่วยสอนผู้ที่เข้าร่วมรู้จักคุณค่าของธรรมชาติ ซาบซึ้งและ สามารถช่วยดูแลอนุรักษ์ธรรมชาติอันจักเป็นประโยชน์ต่อชุมชน และประชาชาติของโลก 8.ส่งเสริมในเรื่องการบาบัดรักษา นันทนาการเพื่อการบาบัด เป็นกรรมวิธีและกิจกรรมที่ช่วยรักษา คนไข้ ทั้งทางด้านร่างกายและด้านสุขภาพจิต เช่น งานอดิเรกประเภทประดิษฐ์ สร้างสรรค์ และกระทาช่วย
  • 15. ส่งเสริมความหวัง ความคิด และการใช้เวลาว่างแก้คนไข้ ซึ่งกาลังต่อสู้กับความทุกข์ทางกายหรือกิจกรรม นันทนาการ ประเภทกีฬานันทนาการช่วยส่งเสริมการพัฒนาร่างกาย กิจกรรมนันทนาการทางสังคม ช่วย สร้างขวัญกาลังใจของคนไข้ 9.ส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ และการทางานเป็นทีม กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ช่วยให้บุคคลได้แสดงออก และละลายพฤติกรรมของกลุ่ม สอนคุณค่าทางสังคมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข กิจกรรมเกมกีฬา และ กีฬาเพื่อการแข่งขันและการอยู่ค่ายพักแรม ช่วยสอนการทางานเป็นทีม ลดความเห็นแก่ตัว ความสามัคคี และความเข้าใจอันดีในหมู่คณะ