SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ความเป็นมา ความจาเป็น ความสาคัญและปรากฏการณ์ของนันทนาการมีมาแต่โบราณกาล ใน
ยุคโบราณนอกจากที่มนุษย์จะต้องแสวงหาอาหารเพื่อเลี้ยงชีพด้วยการล่าสัตว์เป็นอาหารแล้วมนุษย์จะต้อง
เรียนรู้การป้ องกันจากสัตว์ร้ายและภัยธรรมชาติ จึงต้องปรับสภาพร่างกายให้แข็งแรง ยิงธนูหรือใช้อาวุธ
ต่างๆ ซึ่งดัดแปลงมาจากธรรมชาติ เช่น ไม้ หิน เพื่อเป็นอาวุธในการล่าสัตว์และใช้เพื่อป้ องกันอันตราย
ในช่วงว่างจากกิจกรรมใช้เวลาเพื่อการฝึกซ้อมต่อสู้ เพื่อฝึกทักษะความชานาญของตน ตั้งแต่ยุคเริ่มยุค
อารยะธรรม โดยยามว่างจากการประกอบกิจกรรมหาเลี้ยงชีพ มนุษย์ก็จะประกอบกิจกรรมงานศิลปะต่างๆ
เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของตนเอง ดังปรากฏหลักฐาน เช่น เครื่องใช้
จาพวกเครื่องปั้นดินเผา ภาพเขียนสี การเล่นดนตรี ร้องราทาเพลง และการละเล่นเกมกีฬาต่างๆที่ล้วนเป็น
หลักฐานที่แสดงถึงความเจริญก้าวหน้าทางวัฒนธรรม รวมทั้ง ภาพขีดเขียนตามผนังถ้า หรือบนหลุมฝังศพ
ของฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณลักษณะของภาพย่อมแสดงให้เห็นถึงสภาพชีวิตความเป้ นอยู่ในยุคนั้นๆ
1.นันทนาการยุคโบราณ
นันทนาการในยุคนี้ตอบสนองต่อความต้องการในการดารงชีวิตอยู่(Existence) การต่อสู้กับศัตรู
ดังนั้น กิจกรรมนันทนาการจึงเกี่ยวข้องกับการฝึกใช้อาวุธต่างๆ เช่น การใช้ง้าว พลอง หอก แหลน ตะบอง
นอกจากนี้กลุ่มชนชาวอียิปต์ซึ่งนับว่ามีความเจริญทางอารยะธรรมสูงสุด มีความเป็นอยู่ที่อุดมสมบูรณ์
การใช้เวลาว่างจึงเป็นไปเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินได้เริ่มเล่านิทาน การร้องรา การแต่งเพลง การ
แกะสลัก ประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน มีการก่อสร้างบ้านเรือนที่สวยงาม การเล่นกีฬา
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กีฬาว่ายน้าที่นิยมกันมาก สาหรับนันทนาการในยุคโบราณนั้นชาวอียิปต์นับว่ามี
อิทธิพลอย่างมากในรูปแบบการจัดงานพบปะสังสรรค์ที่มีนักดนตรี และนักเต้นราสุภาพสตรีที่มาให้ความ
บันเทิง มีการดื่มเหล้า ร้องเพลงเพื่อแสดงความซาบซึ้งในบทกวี
การแกะสลักและสิ่งก่อสร้างของชาวอียิปต์
อ้างอิงรูปภาพ http://www.bobthai.com/wp-content/uploads/2012/05/Pyramid.jpg
2.นันทนาการในยุคกรีก
ในสมัยกรีกโบราณ พวกนักรบเชื่อว่า ร่างกาย จิตใจ และน้าใจ แยกกันคนละส่วน ดังนั้น ในการฝึก
ต้องแยกกันคนละอย่าง การฝึกร่างการต้องฝึกให้แข็งแรงโดยใช้วิชายิมนาสติก (คือ วิชาพลศึกษา) การฝึก
จิตใจ โดยให้รู้จักเหตุผล การปล่อยให้อยู่ตามลาพังแต่เพียงผู้เดียวและการทรมานบางอย่างเพื่อให้มีความ
อดทน ส่วนการฝึกน้าใจโดยใช้ดนตรีและจังหวะประกอบ เพื่อให้รู้จักจิตเมตตาปราณีในโอกาสอันสมควร
แต่ต่อมาในยุครุ่งเรืองเห็นว่า ทั้งสามอย่างนี้แยกจากกันไม่ได้ โดยกล่าวว่า “A Sound Mild is in a sound
Body” (จิตใจที่ดีย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง) เป็นคุณลักษณะสมบูรณ์ของชีวิตของชนชาติกรีกในสมัยนั้น
ชาวกรีกในสมัยนั้น นิยมเข้าไปทากิจกรรมในสถานที่ 2 แห่ง คือ เปเลสต้า และเยมนาเซีย โดยนิยมเล่นมวย
ปล้า วิ่ง เดินเล่น นั่งเล่น เต้นรา และกีฬาที่หลากหลายโดยเฉพาะทุ่มน้าหนัก พุ่งแหลน ขว้างจักร สาหรับ
ผู้ใหญ่จะคอยดูแลการเล่นของลูกหลาน ส่วนการเล่านิทานนิยมเล่าในระหว่างหยุดพักผ่อน หรือยามว่าง ใน
ที่สุด สถานที่ทั้งสองแห่ง กลายเป็นศูนย์กลางของนันทนาการสาหรับชาวกรีก กิจกรรมที่ชาวกรีกฝึกเป็น
ประจา ได้แก่ กีฬา การเต้นรา ทุ่มน้าหนัก ขว้างจักร พุ่งแหลน เพื่อฝึกทหาร และจะมีการแข่งขันประลอง
ความสามารถกัน จนกระทั่งกลายมาเป็นกิจกรรมบูชาเทพเจ้า โดยจัดขึ้นทุกปีในบริเวณเทือกเขาโอลิมปัส
ซึ่งได้กลายมาเป็นแบบย่างของกรแข่งขันกีฬานานาประเทศทั่วโลกคือ การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก
นอกจากนี้แล้ว ชาวกรีกยังมีนันทนาการที่นอกเหนือไปอีก ได้แก่ การกระทาตามลัทธินิยมบางอย่าง เช่น
การเต้นราในหมู่หนุ่มสาว ส่วนการเล่นเกมส์จะเล่นในงานพิธีต่างๆ ทั้งสองอย่างนี้ถือเป็นวัฒนธรรมของชาว
กรีก เพลโต นักปรัชญาที่มีชื่อเสียงของชาวกรีกได้กล่าว “ทั้งดนตรีและยิมนาสติกทาให้ชาวกรีกมีสุขภาพดี”
(ยิมนาสติกและดนตรีคือ กิจกรรมนันทนาการอย่างหนึ่ง)
3.นันทนาการของชาวเมโสโปเตเมีย
ดินแดนเมโสโปเตเมียประกอบด้วยหลายชนเผ่า ความเป็นอยู่และนันทนาการจึงแตกต่างกันไป
บ้าง แต่ไม่มากนัก เนื่องมาจากสภาพดินฟ้ าอากาศ การดารงชีวิตของแต่ละชนเผ่าที่คล้ายคลึงกัน
นันทนาการสาหรับชาวเมโสโปเตเมียที่พบมักเป็นการแสดงออกในด้านวัตถุเช่น ต่างหู สร้อยคอ ลุกปัดที่ทา
จากหิน ทองคา เสื้อผ้า ที่ทาจากสายเงิน การสวมมงกุฎของสตรีในพิธีฝังศพ การร้องเพลงการบรรเลงเพลง
ระหว่างเคลื่อนย้ายศพ
4.นันทนาการในยุคโรมัน
ในยุคนี้ชาวโรมันเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการเพื่อสร้างความสมดุลในชีวิต โดยเฉพาะกับกลุ่ม
เศรษฐีที่มีทาสทางานแทน ซึ่งมีเวลาว่างมากก็มาอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ฝึกหัดวาดเขียน ปั้น แกะสลักลวดลาย
ต่างๆ ชาวโรมันมีความเป็นอยู่อย่างมั่งคั่ง นันทนาการส่วนใหญ่ของชาวโรมันจึงเป็นเพียงลักษณะผู้ดู
เท่านั้น ผู้แสดงส่วนใหญ่จะเป็นนักโทษหรือเชลย ชมการแสดงต่อสู้ของคนกับคน หรือสัตว์กับสัตว์ ที่
โหดร้ายถึงชีวิตมรดกทางนันทนาการที่ชาวโรมันได้ให้ไว้กับคนรุ่นหลังนั้นมีประโยชน์อย่างแท้จริงทั้ง
ทางด้านศิลปะ วรรณคดี การละครและกีฬา ซึ่งชาวโรมันได้แบบอย่างมาจากกรีก เช่นการแกะสลัก

การแกะสลักและประดับประดาหัวเสาของโรมันที่ได้รับอิทธิพลมาจากกรีก
อ้างอิงรูปภาพhttp://dc183.4shared.com/doc/pzwTJ5ju/preview_html_79945a09.jpg
5.นันทนาการในยุคมืด
ในตอนต้นจักรวรรดิ ชาวโรมันที่มั่งคั่งมากได้ใช้เงินทองตกแต่งบ้านเมืองอย่างงดงาม นักการเมือง
ต่างแข่งขันกันจัดงานเลี้ยงและงานมหรสพต่างๆให้คนส่วนมากได้รื่นเริงเพื่อได้คะแนนนิยมเป็นผลให้เกิด
ความเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงในอาณาจักรโรม ผู้คนเริ่มหย่อนสมรรถภาพลง คนชั้นสูงไม่เอาใจใส่งาน
คนจนได้รับความคับแค้น รัฐรายได้น้องลง เศรษฐกิจตกต่า นันทนาการสมัยนี้เน้นในด้านกีฬา การแข่งรถ
การต่อสู้ระหว่างคนกับสัตว์ ไม่ให้ความสนใจกับนันทนาการศิลปะวิทยาการด้านอื่นเลย มีแต่ความฟุ้ งเฟ้ อ
สุรุ่ยสุร่าย ไม่มีระเบียบวินัย ฝักใฝ่ในอบายมุข และเกิดการหย่าร้างมากมาย โรมันเริ่มเสื่อมลงและในที่สุด
ถูกรุกรานโดยชนเผ่าเยอรมัน ติวโตนิค คณะพระในสมัยนี้ดูถูกเหยียบหยามการออกกาลังกายมาก ผู้ที่
เป็นนักกีฬาหรือเรียนการต่อสู้ คณะพระจะไม่ยอมทาพิธีทางศาสนาให้จนกว่าบุคคลนั้นสัญญาว่าจะไม่เล่น
กีฬาอีกต่อไป ส่งผลให้เกิดความเชื่อว่า ร่างการเป็นวัตถุที่มีแต่ความชั่วร้ายต่างๆ ควรจะต้องได้รับการ
ทรมานที่เจ็บปวด เช่น การใส่เสื้อผ้าหยาบๆ เดินบนกองไฟ ล่ามขาด้วยโซ่ ต่อมาได้ประกาศยกเลิกการ
แข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่ชาวกรีกเคยมีมาแต่เดิม นันทนาการสมัยนี้จึงเต็มไปด้วยอบายมุข ชาวโรมันนิยมเป็น
ผู้ดู โดยใช้ทาสและนักต่อสู้ ระหว่างคนกับสัตว์ โรมันสมัยนี้จึงอ่อนแอและทรุดโทรมมาก
6.นันทนาการในยุคอัศวิน
นันทนาการในยุคอัศวินถูกยอมรับเป็นอย่างดีอีกครั้งหลังยุคมืด ตัวอย่างเช่น การฝึกหัดอบรมให้
ประชาชนเป็นคนดี ให้รู้จักเกียรติ รักประเทศชาติ กล้าหาญ ได้เปิดโรงเรียนพลศึกษาขึ้นโดยมีวิชาเรียน 2
อย่างคือ 1. วิชาการ ได้แก่ การเรียน สอนอ่าน ร้องเพลง ดนตรี เต้นรา วิชาการในสนามเล่น เทนนิส เกมส์
ลูกหิน หมากรุก และกิจกรรมอื่นๆที่ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. วิชาอัศวิน ได้แก่การฝึกขี่ม้า การใช้อาวุธสั้น
ยาว ชนิดต่างๆ การรักษาอาวุธ การต่อสู้เดี่ยวบนหลังม้า วินัยตนเอง มารยาท ซึ่งวิชาอัศวินเป็นวิชาที่ฝึก
ความกล้าหาญ ความสง่างาม ดังนั้นนันทนาการในยุคนี้มีการเล่นเกมส์ต่างๆ เต้นรา ร้องเพลง กรีฑา วิ่ง
ทุ่ม ขว้าง การเล่นไพ่ การต่อสู้บนหลังม้า งานเลี้ยงและพิธีต่างๆ ซึ่งนับว่ามีความจาเป็นมากๆสาหรับมนุษย์
ในยุคนี้ และมีความเจริญกว่ายุคมืด สตรีในยุคอัศวินมักใช้เวลาว่างไปกับการทากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
อัศวินเช่น การทักทอเสื้อผ้าอัศวิน และศิลปะที่แสดงถึงความเป็นอัศวิน
7.นันทนาการยุคฟื้นฟู
ในยุคนี้ศิลปะวิทยาการและวรรณกรรมในสมัยโบราณได้รับการฟื้นฟูขึ้น และมีความสนใจใน
บุคคลแต่ละคนมากขึ้น มีการศึกษาวิชาครูสมัยใหม่ วิตโตริโน ดา เฟลตรา ครูชาวอิตาเลียน ได้เขียนหนังสือ
ร่วมกับ ปิเออร์ เปาโล เวอร์เจอริโอ กล่าวว่า “ แม้ว่าเราไม่สามารถทางานได้ตลอดทั้งวัน แต่หากเราใช้
เวลาว่างเพื่อนันทนาการก็นับได้ว่าถูกต้องแล้ว” นันทนาการจึงเริ่มกว้างขวางและพัฒนาอย่างมีรูปแบบ
มากขึ้น เขาได้ส่งเสริมและสนับสนุนการอยู่ค่ายพักแรมกับนักเรียน มีรูปแบบการเดินในเวลาเช้าอีกด้วย ซึ่ง
เป็นผลต่อมาให้มีการบรรจุวิชาที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการและพลศึกษาไว้ในหลักสูตรโรงเรียน
8.นันทนาการยุคปฏิรูปถึงยุคอาณานิคม
ยุคนี้เป็นยุคของการดิ้นรนเพื่อแสวงหาอานาจ และอาณาจักร หลายประเทศในยุโรปตื่นตัวกับการ
แสวงหาดินแดนใหม่ไว้เป็นอาณานิคมของตน แต่มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนันทนาการเช่น ต้องการได้
คนเรียนยิมนาสติก เพื่อฝึกให้แข็งแรงกล้าหาญ ไว้ต่อสู้ในการสงคราม กิจกรรมนันทนาการที่เกิดขึ้นในสมัย
ที่แสวงหาอาณานิคมจึงแพร่หลายโดบทหารและนักล่าอาณานิคม เป็นกิจกรรมนันทนาการที่ง่ายๆไม่ต้อง
ใช้อุปกรณ์มาก เช่น โยนโบว์ลิ่งเล่นในสนามฟุตบอล
9.นันทนาการยุคอาณานิคม
ประเทศที่เป็นอาณานิคมไม่มีเวลาว่างนักสาหรับกิจกรรมนันทนาการ เพราะต้องทางานให้
ผู้ปกครองอาณานิคม จะมีบ้างก็ล้วนเป็นไปเพื่อจุดมุ่งหมายในการตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ
เจ้าของอาณานิคมเช่น การประดิษฐ์ทาอาวุธ จัดงานรื่นเริงในฤดูเก็บเกี่ยว การเต้นราในระหว่างเก็บผลองุ่น
เป็นต้น ประเทศอังกฤษได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งการกีฬาเนื่องจากเป็นผู้ริเริ่มกีฬาหลายประเทศและเป็นที่
นิยมกันอย่างแพร่หลายคือ ฟุตบอล รักบี้กอล์ฟ ฮอกกี้และเทนนิส ส่วนกีฬาที่อังกฤษนิยมมาตั้งแต่สมัย
ดังเดิมและยึดถือกันมาจนปัจจุบันเช่น กรีฑา ฟุตบอล ชกมวย แข่งม้า
นันทนาการนานาชาติ
ลักษณะความเป็นมาและประวัติการจัดนันทนาการของชาติต่างๆทั่วโลก ตามภูมิประเทศพื้นฐาน
และรูปแบบการจัดที่แตกต่างกันออกไปตามวัฒนธรรมประเพณีของแต่ละชาติ โดยยึดอุดมการณ์เดียวกันที่
มุ่งเน้นเพื่อการพัฒนาคุณค่าแห่งชีวิต ด้วยการกาหนดวัตถุประสงค์ในแนวทางเดียวกัน ดังนี้
1.เพื่อให้มีความเข้าใจและรู้จักเสียสละช่วยเหลือ แบ่งปันซึ่งกันและกัน
2.เพื่อให้เกิดการสื่อสารและร่วมมือกันในด้านการจดและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี
3.เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในการเผยแร่เอกลักษณ์แห่งตนและเพิ่มพูนประสบการณ์ความรู้ให้
กว้างขึ้น
4.เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทางร่างกาย ศิลปวัฒนธรรม จิตใจ อารมณ์ สติปัญญาและสุขภาพ
จากการที่ประเทศต่างๆ ได้เริ่มมีการจัดนันทนาการเพื่อตอบสนองความต้องการในการเคลื่อนไหว
ของเยาวชนตามธรรมชาติในอเมริกัน จนเกิดการจัดบริการกิจกรรมนันทนาการอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่ ค.ศ.
1906 เป็นต้นมา ทาให้เป็นที่สนใจของคนทั่วไป จนกระทั่งในปี ค.ศ.1912 ครอบครัวโกเต ได้ริเริ่มการจัด
สวนสาธารณะแห่งแรก ได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายอย่างกว้างขวางทั่วโลก
นันทนาการของชาติต่างๆ
นันทนาการในประเทศไทย
สาหรับประเทศไทยนั้นยากที่จะทราบประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับนันทนาการได้อย่างแน่ชัด แต่
อย่างไรก็ตามการละเล่น และการกีฬาของไทยมีมานานแล้ว เช่น กระบี่กระบอง มวยไทย เกมส์ ซึ่งชาวไทย
โบราณนิยมเล่นกันในวันสาคัญต่างๆแต่มิได้บันทึกไว้เป็นหลักฐานและมิได้สอนกันอย่างเป็ นระเบียบ
เรียนรู้จากการปฏิบัติเท่านั้น ก่อนสมัยสุโขทัยได้มีการจัดนันทนาการให้แก่เหล่าทัพ แม่ทัพ นายกอง และ
ประชาชน ในยามที่มีรัฐพิธี หรือเทศกาลต่างๆมีระบาราฟ้ อน และการละเล่นของไทยที่มิได้มีของเล่นราคา
สูง หรือสถานที่เล่นที่โอ่อ่า กว้างใหญ่ แต่จะเป็นการเล่นที่สนุก และง่ายตามแต่โอกาส สิ่งแวดล้อมตาม
ธรรมชาติจะอานวยให้เท่านั้นซึ่งปัจจุบันหาดูได้ยาก นันทนาการประเทศดนตรีของไทยนั้นได้มีมานานแล้ว
เครื่องดนตรีไทย สันนิษฐานว่าได้เกิดขึ้นมาตั้งแต่โบราณ เช่น แคน ขลุ่ย พิณ สล้อ ซอ ซึง
เด็กไทยมีการละเล่นหลายอย่างที่เหมือนกับเด็กชาติต่างๆ เช่น การเล่นหมากเก็บ โพงพาง ซ่อนหา
กระโดดเชือก ลูกข่าง การเล่นว่าว แต่ในขณะเดียวกันก็มีการละเล่นเฉพาะตัว เช่น การเล่นจ้าจี้แมงมุม
รีรีข้าวสาร เสือข้ามห้วย ซึ่งการละเล่นของเด็กไทยไม่ได้จากัดอยู่แต่ภายในเมืองหลวงเท่านั้น แต่ยังมีอยู่
ตามภาคต่างๆทั่วประเทศ มีวิธีการเล่นที่เหมือนและแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวัสดุที่จะหามาประกอบการ
เล่นได้ในท้องถิ่นนั้นๆ
คุณค่าการละเล่นของเด็กไทย
ด้านวัฒนธรรม
1.เสริมสร้างทักษะพลานามัยให้สมบูรณ์
2.เสริมสร้างทักษะต่างๆให้เจริญ เช่น ทักษะในการใช้สายตาสังเกต ทักษะในการเคลื่อนไหว
อวัยวะ เป็นต้น
3.ส่งเสริมความเจริญทางด้านจิตใจ โดยปลูกฝังให้มีคุณธรรมอันจาเป็นแก่การเป็น พลเมืองที่ดี เช่น
ความซื่อสัตย์ ความอดทน ความรับผิดชอบ ความสามัคคี
4.ส่งเสริมความเจริญทางสติปัญญา เช่น ฝึกให้ใช้ความคิด ฝึกให้มีไหวพริบ ฝึกการคาดคะเน
เหตุการณ์
ด้านสังคม
1.การละเล่นของเด็กไทย สะท้อนให้เห็นสภาพของไทยในด้านต่างๆ เช่น สภาพความเป็นอยู่และ
อาชีพของชาวบ้าน ตลอดจนความเชื่อและค่านิยมของคนไทยสมัยโบราณ
2.การละเล่นช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพของเด็กทั้งกายและจิตใจ ฝึกให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย มีความ
รับผิดชอบ
ด้านภาษา
บทร้องประกอบการละเล่นของเด็กไทยในแต่ละภาคนั้น มีคุณค่าด้านภาษาทั้งในแง่ของวรรณศิลป์
และในแง่ของการสื่อสาร ในแง่วรรณศิลป์ นั้น บทร้องมีรูปแบบไม่จากัดตายตัว มีการใช้คาเป็นวรรคสั้นๆ
และมีเสียงสัมผัส คล้องจองทาให้เกิดความไพเราะทานองที่ใช้เป็นทานองง่ายๆมีจังหวะเข้ากับวิธีการเล่นมี
การใช้คาที่เลียนเสียต่างๆและมีการใช้สัญลักษณ์ในเนื้อร้องแฝงไปด้วยความหมายที่น่าสนใจ ในแง่ของ
การสื่อสาร นับว่าบทร้องประกอบการละเล่นได้มีส่วนช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านภาษา
ภาพที่1 ภาพที่2 ภาพที่3
แหล่งอ้างอิงรูปภาพ
1 http://www.osrd.go.th/data/news/other_large/520800000063.JPG
2 http://student.swu.ac.th/sc511010362/workhome/images/m5.gif
3 http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcTQ3-
zn5YyyagyVeCPwOq3A0Px2EDyYbwADbAtOqGMQxWPCNJzQAB5eUVH5
นันทนาการในประเทศอังกฤษ
ชาวอังกฤษเป็นชาติที่มีความกระตือรือร้นในกิจกรรมการออกกาลังกายและการกีฬา มีกีฬาที่นิยม
กันมากที่เกิดขึ้นในอังกฤษมากมาย เช่น แข่งม้า แข่งเรือใบ รักบี้ฟุตบอล มวย เทนนิส เป็นต้น เนื่องจากมี
ภูมิประเทศเป็นเกาะ มีทะเลล้อมรอบ การเล่นเรือใบหรือการขางเรือจึงเป็นที่นิยมกันมากอังกฤษได้ชื่อว่า
เป็นแม่แบบแห่งการเต้นรา หรือการลีลาศโดยได้รับแบบอย่างมาจากเจ้าชาย รีเจน์ แห้งอังกฤษได้นาแบบ
การเต้นราในจังหวะวอลซ์ จากฝรั่งเศสมาสู่ราชสานักอังกฤษในปีค.ศ.1816 จนกระทั่งเป็นที่นิยมแพร่หลาย
และประยุกต์ไปเป็นการเต้นราที่นิยมสองแบบ คือ ฮอฟวอลซ์ หรือ โรตารีวอลซ์ และ สโลว์วอลซ์ พัฒนาจน
กลายเป็นต้นฉบับการลีลาศในปัจจุบัน
นันทนาการในประเทศญี่ปุ่น
โดยธรรมชาติชาวญี่ปุ่นเป็นชาติที่รักสวยรักงาม มีศิลปกรรมและหัตกรรมต่างๆที่แสดงออกถึง
เอกลักษณ์ขอชาวญี่ปุ่นมากมาย เครื่องแกะสลัก ลายคราม เครื่องเคลือบ งาช้างแกะสลัก หรือโลหะ เป็น
ต้น ชาวญี่ปุ่นมีความตื่นตัวในการออกกลังกายและการกีฬาเป็นอันดับหนึ่งในเอเชีย นับแต่สมัยโบราณมา
ชาวญี่ปุ่นมีกิจกรรมการต่อสู้ที่รู้จักกันมานานคือ มวยปล้า ยูโดและเคนโด ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายไปทั่วโลก
ได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว ทั้งการส่งเสริมและผลิตอุปกรณ์ต่างๆ ทางด้านการกีฬา
เคนโด ยูโด http://www.buzz-leak.com/wp-
อ้างอิงรูปภาพ: http://image.dek-d.com/23/2517181/105423303
http://content/uploads/2012/08/e65.jpg
นันทนาการในประเทศออสเตรเลีย
เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงทางด้านดนตรีและเพลง ออสเตรเลียจัดอยู่ในกลุ่มประเทศยุโรป เป็นต้นกาเนิด
ของการเต้นราแบบหมุนซึ่งเรียนว่า เวลเลอร์ (Weller) ที่พัฒนากลายมาเป็นจังหวะวอลซ์ มีการบรรเลง
เพลงในจังหวะวอลซ์อย่างแพร่หลาย
อ้างอิงรูปภาพ:http://www.thaigoodview.com/files/u31207/krapez1ld5.jpg
นันทนาการประเทศรัสเซีย
ในด้านของประเพณีและวัฒนธรรม ชาวรัสเซียถูกจากัดเสรีภาพ พอมีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
การปกครองในช่วงหลังจึงต้องมีการพัฒนากิจกรรมต่างๆไปสู่ระบบใหม่ๆมีการจัดด้านสวนสาธารณะ มี
ศูนย์กลางจัดการกีฬา สถานพักผ่อนหย่อนใจ สถานตากอากาศ การเดินทางไกล การปืนเขา ซึ่งจัดว่าเป็ น
กิจกรรมที่นิยมกันมาก นอกจากนี้กิจกรรมยิมนาสติก กีฬาต่างๆ ก็นิยมกันแพร่หลาย มีการขี่ม้าล่าสัตว์
การท่องเที่ยว การจัดค่ายพักแรมตามป่าเขา ชายฝั่งทะเล โดยมีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้จัดบริการ
นันทนาการในประเทศเดนมาร์ก
ชาวเดนมาร์กให้ความสนใจกับนันทนาการมาก นอกจากการมีการสอนพลศึกษาในโรงเรียน และ
ในมหาวิทยาลัย รวมถึงสถาบันการกีฬาในประเทศขึ้นแล้ว ยังมีสมาคมกีฬาซึ่งมีสมาชิกตามเมืองต่างๆเป็น
จานวนมาก เช่น สมาคมว่ายน้า ยิงปืน ฟุตบอล เรือใบ จักรยาน ในวันหยุดชาวเดนมาร์กนิยมพักผ่อนด้วย
การตากอากาศกันตามหัวเมืองท่องเที่ยว มีการนากิจกรรมเข้าจังหวะมาสอนในโรงเรียน การออกกาลังกาย
โดยใช้ดนตรีประกอบ กิจกรรมนันทนาการที่นิยมมากกว่า 2 ศตวรรษที่เดนมาร์กนี้คือ การเต้นราพื้นเมือง
เพราะเชื่อว่าจะทาให้ชีวิตมั่นคง มีความสนุกสนานและเป็นการสืบต่อทางวัฒนธรรมด้วย
การแต่งกายและการเต้นราของชาวเดนมาร์ก
แหล่งอ้างอิง http://202.143.144.83/~natty/other/usa/f3.gif
สรุป
นันทนาการเริ่มเกิดพร้อมกับอารยธรรมของมนุษย์ในยุคโบราณ ซึ่งมนุษย์จะใช้เวลาว่างในการฝึก
ทักษะความชานาญในด้านการใช้อาวุธเพื่อความอยู่รอด และเสริมสร้างสุขภาพนอกจากนี้ยังมีการร้องรา
ทาเพลงเฉลิมฉลองในโอกาสพิเศษ การเขียนภาพแกะสลักต่างๆและเกมซึ่งจัดเป็นกิจกรรมนันทนาการเพื่อ
ชีวิต

More Related Content

What's hot

นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการteaw-sirinapa
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
Beerza Kub
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
Napaphat Bassnowy
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
PakChee
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
Sompak3111
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
Kobwit Piriyawat
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 

What's hot (20)

นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 

More from teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
teaw-sirinapa
 

More from teaw-sirinapa (20)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
 

บทที่ 3

  • 1. บทที่ 3 ประวัติศาสตร์นันทนาการ ความเป็นมา ความจาเป็น ความสาคัญและปรากฏการณ์ของนันทนาการมีมาแต่โบราณกาล ใน ยุคโบราณนอกจากที่มนุษย์จะต้องแสวงหาอาหารเพื่อเลี้ยงชีพด้วยการล่าสัตว์เป็นอาหารแล้วมนุษย์จะต้อง เรียนรู้การป้ องกันจากสัตว์ร้ายและภัยธรรมชาติ จึงต้องปรับสภาพร่างกายให้แข็งแรง ยิงธนูหรือใช้อาวุธ ต่างๆ ซึ่งดัดแปลงมาจากธรรมชาติ เช่น ไม้ หิน เพื่อเป็นอาวุธในการล่าสัตว์และใช้เพื่อป้ องกันอันตราย ในช่วงว่างจากกิจกรรมใช้เวลาเพื่อการฝึกซ้อมต่อสู้ เพื่อฝึกทักษะความชานาญของตน ตั้งแต่ยุคเริ่มยุค อารยะธรรม โดยยามว่างจากการประกอบกิจกรรมหาเลี้ยงชีพ มนุษย์ก็จะประกอบกิจกรรมงานศิลปะต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของตนเอง ดังปรากฏหลักฐาน เช่น เครื่องใช้ จาพวกเครื่องปั้นดินเผา ภาพเขียนสี การเล่นดนตรี ร้องราทาเพลง และการละเล่นเกมกีฬาต่างๆที่ล้วนเป็น หลักฐานที่แสดงถึงความเจริญก้าวหน้าทางวัฒนธรรม รวมทั้ง ภาพขีดเขียนตามผนังถ้า หรือบนหลุมฝังศพ ของฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณลักษณะของภาพย่อมแสดงให้เห็นถึงสภาพชีวิตความเป้ นอยู่ในยุคนั้นๆ 1.นันทนาการยุคโบราณ นันทนาการในยุคนี้ตอบสนองต่อความต้องการในการดารงชีวิตอยู่(Existence) การต่อสู้กับศัตรู ดังนั้น กิจกรรมนันทนาการจึงเกี่ยวข้องกับการฝึกใช้อาวุธต่างๆ เช่น การใช้ง้าว พลอง หอก แหลน ตะบอง นอกจากนี้กลุ่มชนชาวอียิปต์ซึ่งนับว่ามีความเจริญทางอารยะธรรมสูงสุด มีความเป็นอยู่ที่อุดมสมบูรณ์ การใช้เวลาว่างจึงเป็นไปเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินได้เริ่มเล่านิทาน การร้องรา การแต่งเพลง การ แกะสลัก ประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน มีการก่อสร้างบ้านเรือนที่สวยงาม การเล่นกีฬา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กีฬาว่ายน้าที่นิยมกันมาก สาหรับนันทนาการในยุคโบราณนั้นชาวอียิปต์นับว่ามี อิทธิพลอย่างมากในรูปแบบการจัดงานพบปะสังสรรค์ที่มีนักดนตรี และนักเต้นราสุภาพสตรีที่มาให้ความ บันเทิง มีการดื่มเหล้า ร้องเพลงเพื่อแสดงความซาบซึ้งในบทกวี การแกะสลักและสิ่งก่อสร้างของชาวอียิปต์ อ้างอิงรูปภาพ http://www.bobthai.com/wp-content/uploads/2012/05/Pyramid.jpg
  • 2. 2.นันทนาการในยุคกรีก ในสมัยกรีกโบราณ พวกนักรบเชื่อว่า ร่างกาย จิตใจ และน้าใจ แยกกันคนละส่วน ดังนั้น ในการฝึก ต้องแยกกันคนละอย่าง การฝึกร่างการต้องฝึกให้แข็งแรงโดยใช้วิชายิมนาสติก (คือ วิชาพลศึกษา) การฝึก จิตใจ โดยให้รู้จักเหตุผล การปล่อยให้อยู่ตามลาพังแต่เพียงผู้เดียวและการทรมานบางอย่างเพื่อให้มีความ อดทน ส่วนการฝึกน้าใจโดยใช้ดนตรีและจังหวะประกอบ เพื่อให้รู้จักจิตเมตตาปราณีในโอกาสอันสมควร แต่ต่อมาในยุครุ่งเรืองเห็นว่า ทั้งสามอย่างนี้แยกจากกันไม่ได้ โดยกล่าวว่า “A Sound Mild is in a sound Body” (จิตใจที่ดีย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง) เป็นคุณลักษณะสมบูรณ์ของชีวิตของชนชาติกรีกในสมัยนั้น ชาวกรีกในสมัยนั้น นิยมเข้าไปทากิจกรรมในสถานที่ 2 แห่ง คือ เปเลสต้า และเยมนาเซีย โดยนิยมเล่นมวย ปล้า วิ่ง เดินเล่น นั่งเล่น เต้นรา และกีฬาที่หลากหลายโดยเฉพาะทุ่มน้าหนัก พุ่งแหลน ขว้างจักร สาหรับ ผู้ใหญ่จะคอยดูแลการเล่นของลูกหลาน ส่วนการเล่านิทานนิยมเล่าในระหว่างหยุดพักผ่อน หรือยามว่าง ใน ที่สุด สถานที่ทั้งสองแห่ง กลายเป็นศูนย์กลางของนันทนาการสาหรับชาวกรีก กิจกรรมที่ชาวกรีกฝึกเป็น ประจา ได้แก่ กีฬา การเต้นรา ทุ่มน้าหนัก ขว้างจักร พุ่งแหลน เพื่อฝึกทหาร และจะมีการแข่งขันประลอง ความสามารถกัน จนกระทั่งกลายมาเป็นกิจกรรมบูชาเทพเจ้า โดยจัดขึ้นทุกปีในบริเวณเทือกเขาโอลิมปัส ซึ่งได้กลายมาเป็นแบบย่างของกรแข่งขันกีฬานานาประเทศทั่วโลกคือ การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก นอกจากนี้แล้ว ชาวกรีกยังมีนันทนาการที่นอกเหนือไปอีก ได้แก่ การกระทาตามลัทธินิยมบางอย่าง เช่น การเต้นราในหมู่หนุ่มสาว ส่วนการเล่นเกมส์จะเล่นในงานพิธีต่างๆ ทั้งสองอย่างนี้ถือเป็นวัฒนธรรมของชาว กรีก เพลโต นักปรัชญาที่มีชื่อเสียงของชาวกรีกได้กล่าว “ทั้งดนตรีและยิมนาสติกทาให้ชาวกรีกมีสุขภาพดี” (ยิมนาสติกและดนตรีคือ กิจกรรมนันทนาการอย่างหนึ่ง) 3.นันทนาการของชาวเมโสโปเตเมีย ดินแดนเมโสโปเตเมียประกอบด้วยหลายชนเผ่า ความเป็นอยู่และนันทนาการจึงแตกต่างกันไป บ้าง แต่ไม่มากนัก เนื่องมาจากสภาพดินฟ้ าอากาศ การดารงชีวิตของแต่ละชนเผ่าที่คล้ายคลึงกัน นันทนาการสาหรับชาวเมโสโปเตเมียที่พบมักเป็นการแสดงออกในด้านวัตถุเช่น ต่างหู สร้อยคอ ลุกปัดที่ทา จากหิน ทองคา เสื้อผ้า ที่ทาจากสายเงิน การสวมมงกุฎของสตรีในพิธีฝังศพ การร้องเพลงการบรรเลงเพลง ระหว่างเคลื่อนย้ายศพ
  • 3. 4.นันทนาการในยุคโรมัน ในยุคนี้ชาวโรมันเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการเพื่อสร้างความสมดุลในชีวิต โดยเฉพาะกับกลุ่ม เศรษฐีที่มีทาสทางานแทน ซึ่งมีเวลาว่างมากก็มาอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ฝึกหัดวาดเขียน ปั้น แกะสลักลวดลาย ต่างๆ ชาวโรมันมีความเป็นอยู่อย่างมั่งคั่ง นันทนาการส่วนใหญ่ของชาวโรมันจึงเป็นเพียงลักษณะผู้ดู เท่านั้น ผู้แสดงส่วนใหญ่จะเป็นนักโทษหรือเชลย ชมการแสดงต่อสู้ของคนกับคน หรือสัตว์กับสัตว์ ที่ โหดร้ายถึงชีวิตมรดกทางนันทนาการที่ชาวโรมันได้ให้ไว้กับคนรุ่นหลังนั้นมีประโยชน์อย่างแท้จริงทั้ง ทางด้านศิลปะ วรรณคดี การละครและกีฬา ซึ่งชาวโรมันได้แบบอย่างมาจากกรีก เช่นการแกะสลัก การแกะสลักและประดับประดาหัวเสาของโรมันที่ได้รับอิทธิพลมาจากกรีก อ้างอิงรูปภาพhttp://dc183.4shared.com/doc/pzwTJ5ju/preview_html_79945a09.jpg 5.นันทนาการในยุคมืด ในตอนต้นจักรวรรดิ ชาวโรมันที่มั่งคั่งมากได้ใช้เงินทองตกแต่งบ้านเมืองอย่างงดงาม นักการเมือง ต่างแข่งขันกันจัดงานเลี้ยงและงานมหรสพต่างๆให้คนส่วนมากได้รื่นเริงเพื่อได้คะแนนนิยมเป็นผลให้เกิด ความเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงในอาณาจักรโรม ผู้คนเริ่มหย่อนสมรรถภาพลง คนชั้นสูงไม่เอาใจใส่งาน คนจนได้รับความคับแค้น รัฐรายได้น้องลง เศรษฐกิจตกต่า นันทนาการสมัยนี้เน้นในด้านกีฬา การแข่งรถ การต่อสู้ระหว่างคนกับสัตว์ ไม่ให้ความสนใจกับนันทนาการศิลปะวิทยาการด้านอื่นเลย มีแต่ความฟุ้ งเฟ้ อ สุรุ่ยสุร่าย ไม่มีระเบียบวินัย ฝักใฝ่ในอบายมุข และเกิดการหย่าร้างมากมาย โรมันเริ่มเสื่อมลงและในที่สุด ถูกรุกรานโดยชนเผ่าเยอรมัน ติวโตนิค คณะพระในสมัยนี้ดูถูกเหยียบหยามการออกกาลังกายมาก ผู้ที่ เป็นนักกีฬาหรือเรียนการต่อสู้ คณะพระจะไม่ยอมทาพิธีทางศาสนาให้จนกว่าบุคคลนั้นสัญญาว่าจะไม่เล่น กีฬาอีกต่อไป ส่งผลให้เกิดความเชื่อว่า ร่างการเป็นวัตถุที่มีแต่ความชั่วร้ายต่างๆ ควรจะต้องได้รับการ ทรมานที่เจ็บปวด เช่น การใส่เสื้อผ้าหยาบๆ เดินบนกองไฟ ล่ามขาด้วยโซ่ ต่อมาได้ประกาศยกเลิกการ
  • 4. แข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่ชาวกรีกเคยมีมาแต่เดิม นันทนาการสมัยนี้จึงเต็มไปด้วยอบายมุข ชาวโรมันนิยมเป็น ผู้ดู โดยใช้ทาสและนักต่อสู้ ระหว่างคนกับสัตว์ โรมันสมัยนี้จึงอ่อนแอและทรุดโทรมมาก 6.นันทนาการในยุคอัศวิน นันทนาการในยุคอัศวินถูกยอมรับเป็นอย่างดีอีกครั้งหลังยุคมืด ตัวอย่างเช่น การฝึกหัดอบรมให้ ประชาชนเป็นคนดี ให้รู้จักเกียรติ รักประเทศชาติ กล้าหาญ ได้เปิดโรงเรียนพลศึกษาขึ้นโดยมีวิชาเรียน 2 อย่างคือ 1. วิชาการ ได้แก่ การเรียน สอนอ่าน ร้องเพลง ดนตรี เต้นรา วิชาการในสนามเล่น เทนนิส เกมส์ ลูกหิน หมากรุก และกิจกรรมอื่นๆที่ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. วิชาอัศวิน ได้แก่การฝึกขี่ม้า การใช้อาวุธสั้น ยาว ชนิดต่างๆ การรักษาอาวุธ การต่อสู้เดี่ยวบนหลังม้า วินัยตนเอง มารยาท ซึ่งวิชาอัศวินเป็นวิชาที่ฝึก ความกล้าหาญ ความสง่างาม ดังนั้นนันทนาการในยุคนี้มีการเล่นเกมส์ต่างๆ เต้นรา ร้องเพลง กรีฑา วิ่ง ทุ่ม ขว้าง การเล่นไพ่ การต่อสู้บนหลังม้า งานเลี้ยงและพิธีต่างๆ ซึ่งนับว่ามีความจาเป็นมากๆสาหรับมนุษย์ ในยุคนี้ และมีความเจริญกว่ายุคมืด สตรีในยุคอัศวินมักใช้เวลาว่างไปกับการทากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ อัศวินเช่น การทักทอเสื้อผ้าอัศวิน และศิลปะที่แสดงถึงความเป็นอัศวิน 7.นันทนาการยุคฟื้นฟู ในยุคนี้ศิลปะวิทยาการและวรรณกรรมในสมัยโบราณได้รับการฟื้นฟูขึ้น และมีความสนใจใน บุคคลแต่ละคนมากขึ้น มีการศึกษาวิชาครูสมัยใหม่ วิตโตริโน ดา เฟลตรา ครูชาวอิตาเลียน ได้เขียนหนังสือ ร่วมกับ ปิเออร์ เปาโล เวอร์เจอริโอ กล่าวว่า “ แม้ว่าเราไม่สามารถทางานได้ตลอดทั้งวัน แต่หากเราใช้ เวลาว่างเพื่อนันทนาการก็นับได้ว่าถูกต้องแล้ว” นันทนาการจึงเริ่มกว้างขวางและพัฒนาอย่างมีรูปแบบ มากขึ้น เขาได้ส่งเสริมและสนับสนุนการอยู่ค่ายพักแรมกับนักเรียน มีรูปแบบการเดินในเวลาเช้าอีกด้วย ซึ่ง เป็นผลต่อมาให้มีการบรรจุวิชาที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการและพลศึกษาไว้ในหลักสูตรโรงเรียน 8.นันทนาการยุคปฏิรูปถึงยุคอาณานิคม ยุคนี้เป็นยุคของการดิ้นรนเพื่อแสวงหาอานาจ และอาณาจักร หลายประเทศในยุโรปตื่นตัวกับการ แสวงหาดินแดนใหม่ไว้เป็นอาณานิคมของตน แต่มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนันทนาการเช่น ต้องการได้ คนเรียนยิมนาสติก เพื่อฝึกให้แข็งแรงกล้าหาญ ไว้ต่อสู้ในการสงคราม กิจกรรมนันทนาการที่เกิดขึ้นในสมัย ที่แสวงหาอาณานิคมจึงแพร่หลายโดบทหารและนักล่าอาณานิคม เป็นกิจกรรมนันทนาการที่ง่ายๆไม่ต้อง ใช้อุปกรณ์มาก เช่น โยนโบว์ลิ่งเล่นในสนามฟุตบอล
  • 5. 9.นันทนาการยุคอาณานิคม ประเทศที่เป็นอาณานิคมไม่มีเวลาว่างนักสาหรับกิจกรรมนันทนาการ เพราะต้องทางานให้ ผู้ปกครองอาณานิคม จะมีบ้างก็ล้วนเป็นไปเพื่อจุดมุ่งหมายในการตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ เจ้าของอาณานิคมเช่น การประดิษฐ์ทาอาวุธ จัดงานรื่นเริงในฤดูเก็บเกี่ยว การเต้นราในระหว่างเก็บผลองุ่น เป็นต้น ประเทศอังกฤษได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งการกีฬาเนื่องจากเป็นผู้ริเริ่มกีฬาหลายประเทศและเป็นที่ นิยมกันอย่างแพร่หลายคือ ฟุตบอล รักบี้กอล์ฟ ฮอกกี้และเทนนิส ส่วนกีฬาที่อังกฤษนิยมมาตั้งแต่สมัย ดังเดิมและยึดถือกันมาจนปัจจุบันเช่น กรีฑา ฟุตบอล ชกมวย แข่งม้า นันทนาการนานาชาติ ลักษณะความเป็นมาและประวัติการจัดนันทนาการของชาติต่างๆทั่วโลก ตามภูมิประเทศพื้นฐาน และรูปแบบการจัดที่แตกต่างกันออกไปตามวัฒนธรรมประเพณีของแต่ละชาติ โดยยึดอุดมการณ์เดียวกันที่ มุ่งเน้นเพื่อการพัฒนาคุณค่าแห่งชีวิต ด้วยการกาหนดวัตถุประสงค์ในแนวทางเดียวกัน ดังนี้ 1.เพื่อให้มีความเข้าใจและรู้จักเสียสละช่วยเหลือ แบ่งปันซึ่งกันและกัน 2.เพื่อให้เกิดการสื่อสารและร่วมมือกันในด้านการจดและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี 3.เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในการเผยแร่เอกลักษณ์แห่งตนและเพิ่มพูนประสบการณ์ความรู้ให้ กว้างขึ้น 4.เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทางร่างกาย ศิลปวัฒนธรรม จิตใจ อารมณ์ สติปัญญาและสุขภาพ จากการที่ประเทศต่างๆ ได้เริ่มมีการจัดนันทนาการเพื่อตอบสนองความต้องการในการเคลื่อนไหว ของเยาวชนตามธรรมชาติในอเมริกัน จนเกิดการจัดบริการกิจกรรมนันทนาการอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่ ค.ศ. 1906 เป็นต้นมา ทาให้เป็นที่สนใจของคนทั่วไป จนกระทั่งในปี ค.ศ.1912 ครอบครัวโกเต ได้ริเริ่มการจัด สวนสาธารณะแห่งแรก ได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายอย่างกว้างขวางทั่วโลก นันทนาการของชาติต่างๆ นันทนาการในประเทศไทย สาหรับประเทศไทยนั้นยากที่จะทราบประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับนันทนาการได้อย่างแน่ชัด แต่ อย่างไรก็ตามการละเล่น และการกีฬาของไทยมีมานานแล้ว เช่น กระบี่กระบอง มวยไทย เกมส์ ซึ่งชาวไทย โบราณนิยมเล่นกันในวันสาคัญต่างๆแต่มิได้บันทึกไว้เป็นหลักฐานและมิได้สอนกันอย่างเป็ นระเบียบ เรียนรู้จากการปฏิบัติเท่านั้น ก่อนสมัยสุโขทัยได้มีการจัดนันทนาการให้แก่เหล่าทัพ แม่ทัพ นายกอง และ
  • 6. ประชาชน ในยามที่มีรัฐพิธี หรือเทศกาลต่างๆมีระบาราฟ้ อน และการละเล่นของไทยที่มิได้มีของเล่นราคา สูง หรือสถานที่เล่นที่โอ่อ่า กว้างใหญ่ แต่จะเป็นการเล่นที่สนุก และง่ายตามแต่โอกาส สิ่งแวดล้อมตาม ธรรมชาติจะอานวยให้เท่านั้นซึ่งปัจจุบันหาดูได้ยาก นันทนาการประเทศดนตรีของไทยนั้นได้มีมานานแล้ว เครื่องดนตรีไทย สันนิษฐานว่าได้เกิดขึ้นมาตั้งแต่โบราณ เช่น แคน ขลุ่ย พิณ สล้อ ซอ ซึง เด็กไทยมีการละเล่นหลายอย่างที่เหมือนกับเด็กชาติต่างๆ เช่น การเล่นหมากเก็บ โพงพาง ซ่อนหา กระโดดเชือก ลูกข่าง การเล่นว่าว แต่ในขณะเดียวกันก็มีการละเล่นเฉพาะตัว เช่น การเล่นจ้าจี้แมงมุม รีรีข้าวสาร เสือข้ามห้วย ซึ่งการละเล่นของเด็กไทยไม่ได้จากัดอยู่แต่ภายในเมืองหลวงเท่านั้น แต่ยังมีอยู่ ตามภาคต่างๆทั่วประเทศ มีวิธีการเล่นที่เหมือนและแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวัสดุที่จะหามาประกอบการ เล่นได้ในท้องถิ่นนั้นๆ คุณค่าการละเล่นของเด็กไทย ด้านวัฒนธรรม 1.เสริมสร้างทักษะพลานามัยให้สมบูรณ์ 2.เสริมสร้างทักษะต่างๆให้เจริญ เช่น ทักษะในการใช้สายตาสังเกต ทักษะในการเคลื่อนไหว อวัยวะ เป็นต้น 3.ส่งเสริมความเจริญทางด้านจิตใจ โดยปลูกฝังให้มีคุณธรรมอันจาเป็นแก่การเป็น พลเมืองที่ดี เช่น ความซื่อสัตย์ ความอดทน ความรับผิดชอบ ความสามัคคี 4.ส่งเสริมความเจริญทางสติปัญญา เช่น ฝึกให้ใช้ความคิด ฝึกให้มีไหวพริบ ฝึกการคาดคะเน เหตุการณ์ ด้านสังคม 1.การละเล่นของเด็กไทย สะท้อนให้เห็นสภาพของไทยในด้านต่างๆ เช่น สภาพความเป็นอยู่และ อาชีพของชาวบ้าน ตลอดจนความเชื่อและค่านิยมของคนไทยสมัยโบราณ 2.การละเล่นช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพของเด็กทั้งกายและจิตใจ ฝึกให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย มีความ รับผิดชอบ ด้านภาษา บทร้องประกอบการละเล่นของเด็กไทยในแต่ละภาคนั้น มีคุณค่าด้านภาษาทั้งในแง่ของวรรณศิลป์ และในแง่ของการสื่อสาร ในแง่วรรณศิลป์ นั้น บทร้องมีรูปแบบไม่จากัดตายตัว มีการใช้คาเป็นวรรคสั้นๆ
  • 7. และมีเสียงสัมผัส คล้องจองทาให้เกิดความไพเราะทานองที่ใช้เป็นทานองง่ายๆมีจังหวะเข้ากับวิธีการเล่นมี การใช้คาที่เลียนเสียต่างๆและมีการใช้สัญลักษณ์ในเนื้อร้องแฝงไปด้วยความหมายที่น่าสนใจ ในแง่ของ การสื่อสาร นับว่าบทร้องประกอบการละเล่นได้มีส่วนช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านภาษา ภาพที่1 ภาพที่2 ภาพที่3 แหล่งอ้างอิงรูปภาพ 1 http://www.osrd.go.th/data/news/other_large/520800000063.JPG 2 http://student.swu.ac.th/sc511010362/workhome/images/m5.gif 3 http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcTQ3- zn5YyyagyVeCPwOq3A0Px2EDyYbwADbAtOqGMQxWPCNJzQAB5eUVH5 นันทนาการในประเทศอังกฤษ ชาวอังกฤษเป็นชาติที่มีความกระตือรือร้นในกิจกรรมการออกกาลังกายและการกีฬา มีกีฬาที่นิยม กันมากที่เกิดขึ้นในอังกฤษมากมาย เช่น แข่งม้า แข่งเรือใบ รักบี้ฟุตบอล มวย เทนนิส เป็นต้น เนื่องจากมี ภูมิประเทศเป็นเกาะ มีทะเลล้อมรอบ การเล่นเรือใบหรือการขางเรือจึงเป็นที่นิยมกันมากอังกฤษได้ชื่อว่า เป็นแม่แบบแห่งการเต้นรา หรือการลีลาศโดยได้รับแบบอย่างมาจากเจ้าชาย รีเจน์ แห้งอังกฤษได้นาแบบ การเต้นราในจังหวะวอลซ์ จากฝรั่งเศสมาสู่ราชสานักอังกฤษในปีค.ศ.1816 จนกระทั่งเป็นที่นิยมแพร่หลาย และประยุกต์ไปเป็นการเต้นราที่นิยมสองแบบ คือ ฮอฟวอลซ์ หรือ โรตารีวอลซ์ และ สโลว์วอลซ์ พัฒนาจน กลายเป็นต้นฉบับการลีลาศในปัจจุบัน นันทนาการในประเทศญี่ปุ่น
  • 8. โดยธรรมชาติชาวญี่ปุ่นเป็นชาติที่รักสวยรักงาม มีศิลปกรรมและหัตกรรมต่างๆที่แสดงออกถึง เอกลักษณ์ขอชาวญี่ปุ่นมากมาย เครื่องแกะสลัก ลายคราม เครื่องเคลือบ งาช้างแกะสลัก หรือโลหะ เป็น ต้น ชาวญี่ปุ่นมีความตื่นตัวในการออกกลังกายและการกีฬาเป็นอันดับหนึ่งในเอเชีย นับแต่สมัยโบราณมา ชาวญี่ปุ่นมีกิจกรรมการต่อสู้ที่รู้จักกันมานานคือ มวยปล้า ยูโดและเคนโด ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายไปทั่วโลก ได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว ทั้งการส่งเสริมและผลิตอุปกรณ์ต่างๆ ทางด้านการกีฬา เคนโด ยูโด http://www.buzz-leak.com/wp- อ้างอิงรูปภาพ: http://image.dek-d.com/23/2517181/105423303 http://content/uploads/2012/08/e65.jpg นันทนาการในประเทศออสเตรเลีย เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงทางด้านดนตรีและเพลง ออสเตรเลียจัดอยู่ในกลุ่มประเทศยุโรป เป็นต้นกาเนิด ของการเต้นราแบบหมุนซึ่งเรียนว่า เวลเลอร์ (Weller) ที่พัฒนากลายมาเป็นจังหวะวอลซ์ มีการบรรเลง เพลงในจังหวะวอลซ์อย่างแพร่หลาย อ้างอิงรูปภาพ:http://www.thaigoodview.com/files/u31207/krapez1ld5.jpg นันทนาการประเทศรัสเซีย
  • 9. ในด้านของประเพณีและวัฒนธรรม ชาวรัสเซียถูกจากัดเสรีภาพ พอมีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน การปกครองในช่วงหลังจึงต้องมีการพัฒนากิจกรรมต่างๆไปสู่ระบบใหม่ๆมีการจัดด้านสวนสาธารณะ มี ศูนย์กลางจัดการกีฬา สถานพักผ่อนหย่อนใจ สถานตากอากาศ การเดินทางไกล การปืนเขา ซึ่งจัดว่าเป็ น กิจกรรมที่นิยมกันมาก นอกจากนี้กิจกรรมยิมนาสติก กีฬาต่างๆ ก็นิยมกันแพร่หลาย มีการขี่ม้าล่าสัตว์ การท่องเที่ยว การจัดค่ายพักแรมตามป่าเขา ชายฝั่งทะเล โดยมีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้จัดบริการ นันทนาการในประเทศเดนมาร์ก ชาวเดนมาร์กให้ความสนใจกับนันทนาการมาก นอกจากการมีการสอนพลศึกษาในโรงเรียน และ ในมหาวิทยาลัย รวมถึงสถาบันการกีฬาในประเทศขึ้นแล้ว ยังมีสมาคมกีฬาซึ่งมีสมาชิกตามเมืองต่างๆเป็น จานวนมาก เช่น สมาคมว่ายน้า ยิงปืน ฟุตบอล เรือใบ จักรยาน ในวันหยุดชาวเดนมาร์กนิยมพักผ่อนด้วย การตากอากาศกันตามหัวเมืองท่องเที่ยว มีการนากิจกรรมเข้าจังหวะมาสอนในโรงเรียน การออกกาลังกาย โดยใช้ดนตรีประกอบ กิจกรรมนันทนาการที่นิยมมากกว่า 2 ศตวรรษที่เดนมาร์กนี้คือ การเต้นราพื้นเมือง เพราะเชื่อว่าจะทาให้ชีวิตมั่นคง มีความสนุกสนานและเป็นการสืบต่อทางวัฒนธรรมด้วย การแต่งกายและการเต้นราของชาวเดนมาร์ก แหล่งอ้างอิง http://202.143.144.83/~natty/other/usa/f3.gif สรุป นันทนาการเริ่มเกิดพร้อมกับอารยธรรมของมนุษย์ในยุคโบราณ ซึ่งมนุษย์จะใช้เวลาว่างในการฝึก ทักษะความชานาญในด้านการใช้อาวุธเพื่อความอยู่รอด และเสริมสร้างสุขภาพนอกจากนี้ยังมีการร้องรา ทาเพลงเฉลิมฉลองในโอกาสพิเศษ การเขียนภาพแกะสลักต่างๆและเกมซึ่งจัดเป็นกิจกรรมนันทนาการเพื่อ ชีวิต