SlideShare a Scribd company logo
สัททุลวิกกีฬิต ฉันท์ ๑๙
    จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี

ธาสู่ วสาลี
       ิ                                                        นคร

   โดยทางอันพระทวารเปิ ดนรนิกร

ฤารอจะต่อรอน                                                    อะไร

    เบื้องนั้นท่านคุรุวสสการทิชก็ไป
                       ั

นาทัพชเนนทร์ไท                                                  มคธ

    เข้าปราบลิจฉวิขตติยรัฐชนบท
                   ั ์

สู ้เงื้อมพระหัตถ์หมด                                           และโดย

    ไป่ พักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย

แรงเปลืองระดมโปรย                                               ประยุทธ์

    ราบคาบเสด็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต

ดมเขตบุเรศดุจ                                                   ณ เดิม

ชิ ต บุรทัตได้ ยกพุทธภาษิต แสดงคุณและโทษความสามัคคี ดังนี้

    พุทธาทิบณฑิต
            ั                                                   พิเคราะห์คิดพินิจปรา

รถสรรเสริ ญสา                                                   ธุสมัครภาพผล

    ว่าอาจจะอวยผา                                               สุ กภาวมาดล

ดีสู่ ณ หมู่ตน                                                  บ นิราศนิรันดร
หมู่ใดผิสามัค               คยพรรคสโมสร

ไปปราศนิราศรอน                  คุณไร้ไฉนดล

    พร้อมเพรี ยงประเสริ ฐครัน   เพราะฉะนั้นแหละบุคคล

ผูหวังเจริ ญตน
  ้                             ธุ ระเกี่ยวกะหมู่เขา

   พึงหมายสมัครเป็ น            มุขเป็ นประธานเอา

ธูรทัว ณ ตัวเรา
     ่                          บ่ มิเห็น ณ ฝ่ ายเดียว

    ควรยกประโยชน์ยน
                  ื่            นรอื่นก็แลเหลียว

ดูบางและกลมเกลียว
   ้                            มิตรภาพผดุงครอง

    ยั้งทิฐิมานหย่อน            ทมผ่อนผจงจอง

อามิมีหมอง                      มนเมื่อจะทาใด

    ลาภผลสกลบรร                 ลุก็ปันก็แบ่งไป

ตามน้อยและมากใจ                 สุ จริ ตนิยมธรรม์

    พึงมรรยาทยึด                สุ ประพฤติสงวนพรรค์

รื้ อริ ษยาอัน                  อุปเฉทไมตรี

    ดังนั้น ณ หมู่ใด
      ่                         ผิ บ ไร้สมัครมี

พร้อมเพรี ยงนิพทธ์นี
               ั                รวิวาทระแวงกัน

    หวังเทอญมิตองสง
               ้                สยคงประสบพลัน

ซึ่งสุ ขเกษมสันต์               หิตะกอบทวีการ
ใครเล่าจะสามารถ    มนอาจระรานหาญ

หักล้าง บ แหลกหลาญ     ก็เพราะพร้อมเพราะเพรี ยงกัน

   ป่ วยกล่าวอะไรฝูง   นรสู งประเสริ ฐครัน

ฤาสรรพสัตว์อน
            ั          เฉพาะมีชีวครอง
                                 ี

    แม้มากผิกิ่งไม้    ผิวใครจะใคร่ ลอง

มัดกากระนั้นปอง        พลหักก็เต็มทน

    เหล่าไหนผิไมตรี    สละลี้ ณ หมู่ตน

กิจใดจะขวายขวน         บ มิพร้อมมิเพรี ยงกัน

    อย่าปรารถนาหวัง    สุ ขทั้งเจริ ญอัน

มวลมาอุบติบรร
        ั              ลุไฉน บ ได้มี

    ปวงทุกข์พิบติสรร
               ั       พภยันตรายกลี

แม้ปราศนิยมปรี         ติประสงค์ก็คงสม

    ควรชนประชุมเช่น    คณะเป็ นสมาคม

สามัคคิปรารม           ภนิพทธราพึง
                           ั

    ไป่ มีก็ให้มี      ผิวก็มีคานึง

เนื่องเพื่ออภิยโยจึง   จะประสบสุ ขาลัย
ถอดคาประพันธ์
                                                                                                   ่
                พระเจ้าอชาตศัตรู จอมทัพแห่งแคว้นมคธกรี ธาทัพเข้าเมืองเวสาลีทางประตูเมืองที่เปิ ดอยูโดยไม่
มีผคนหรื อทหารต่อสู ้ประการใด ขณะนั้นวัสสการพราหมณ์ผเู ้ ป็ นอาจารย์ก็ไปนาทัพของกษัตริ ยแห่งมคธเข้ามา
   ู้                                                                                   ์
            ์                            ่
ปราบกษัตริ ยลิจฉวี อาณาจักรทั้งหมดก็ตกอยูในเงื้อมพระหัตถ์ โดยที่กองทัพไม่ตองเปลืองแรงในการต่อสู ้
                                                                          ้
ปราบราบคาบแล้วเสด็จยังราชคฤห์เมืองยิงใหญ่ดงเดิม เนื้อเรื่ องแต่เดิมจบลงเพียงนี้ แต่ประสงค์จะแต่งสุ ภาษิต
                                    ่     ั
เพิ่มเติมให้ได้รับฟังเพื่อเป็ นคติอนทรงคุณค่านาไปคิดไตร่ ตรอง ว่าถ้าทุกคนมีความสามัคคีกนก็จะส่ งผลที่ดีมาสู่
                                   ั                                                   ั
ทุกคนเอง ถ้ากลุ่มคนใดไม่มีความสามัคคีก็ยอมส่ งผลเสี ยมาให้คนกลุ่มนั้น เพราะฉะนั้นตัวบุคคลเองนั้นแหละ
                                        ่
จะต้องรับฟังความคิดเห็นของผูอื่น มีมิตรภาพที่ดีต่อกัน อย่ามีทิฐิต่อกัน มีอะไรก็แบ่งปั นกันตามที่มีและความ
                            ้
เต็มใจ สุ จริ ต มีมารยาทไม่มีความริ ษยา มีไมตรี ต่อกัน ดังนั้นถ้าคนกลุ่มใดผิดความสามัคคีกน ทะเลาะวิวาทกันก็
                                                                                         ั
จะประสบแต่สิ่งไม่ดี ไม่มีความสุ ข แต่ถาใครมีความสามัคคีต่อกันจะมีความเป็ นหนึ่งเดียวและยากที่จะมีอะไร
                                      ้
เข้ามาทาลายให้ความสามัคคีน้ นแตกลง เปรี ยบเหมือนกับกิ่งไม้ กิ่งไม้ 1 กิ่ง สามารถหักได้โดยง่าย แต่ถากิ่งไม้
                            ั                                                                     ้
หลายกิ่งมัดรวมกันแล้วก็ยากที่จะหักได้
คุณค่าด้ านวรรณศิลป์
1) การสรรคา เป็ นการเลือกใช้คาที่สื่อความคิดและอารมณ์ได้อย่างงดงาม ดังนี้
    เป็ นการเลือกใช้ คาได้ ถูกต้ องตรงตามความหมายทีต้องการ มีการใช้คาประณี ตเป็ นพิเศษ เมื่อกล่าวถึง
                                                   ่
    พระมหากษัตริ ย ์ จะใช้คาบาลันสกฤตซึ่งถือเป็ นภาษาสู งต้องแปลความทุกคา ดังบทประพันธ์


 จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี

 ธาสู่ วสาลี
        ิ                                                                 นคร

    โดยทางอันพระทวารเปิ ดนรนิกร

 ฤารอจะต่อรอน                                                             อะไร

     เบื้องนั้นท่านคุรุวสสการทิชก็ไป
                        ั

 นาทัพชเนนทร์ไท                                                           มคธ

     เข้าปราบลิจฉวิขตติยรัฐชนบท
                    ั ์

 สู ้เงื้อมพระหัตถ์หมด                                                     และโดย

     ไป่ พักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย

 แรงเปลืองระดมโปรย                                                        ประยุทธ์

     ราบคาบเสด็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต




 ดมเขตบุเรศดุจ                                                            ณ เดิม
1. การเลือกใช้ ศัพท์ เหมาะแก่ เนือเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง เช่ น
                                    ้

             จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี

         ธาสู่ วสาลี
                ิ                                                                  นคร

            โดยทางอันพระทวารเปิ ดนรนิกร

         ฤารอจะต่อรอน                                                               อะไร

             เบื้องนั้นท่านคุรุวสสการทิชก็ไป
                                ั

         นาทัพชเนนทร์ไท                                                            มคธ

             เข้าปราบลิจฉวิขตติยรัฐชนบท
                            ั ์

         สู ้เงื้อมพระหัตถ์หมด                                                      และโดย


จากบทประพันธ์กวีเลือกใช้คาได้เหมาะสมแก่เนื้อเรื่ องและฐานะของบุคคลซึ่ งพระเจ้าอชาตศรัตรู เป็ นกษัตริ ย ์
ได้แก่คาว่า จอมทัพมาคธราษฎร์
1.3) การเลือกใช้ เลือกคาโดยคานึงถึงเสี ยง กวีได้ ดดแปลงฉันท์บางชนิดให้ มีความแตกต่างไปจากเดิม ทาให้ มี
                                                     ั
   ความไพเราะมากขึ ้น สามัคคีเภทคาฉันท์มีการใช้ คาที่มีเสียงเสนาะดังนี ้
   (1) การเล่นเสี ยงสัมผัส ในฉันท์ของนายชิต บุรทัต มีท้ งสัมผัสนอกสัมผัสในโดยเฉพาะสัมผัสในมีท้ ง
                                                        ั                                      ั
   สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะแพรวพราว คล้ายกับความไพเราะของกลอน เช่น


      พุทธาทิบณฑิต
              ั                                                                พิเคราะห์คิดพินิจปรา

  รถสรรเสริ ญสา                                                                ธุสมัครภาพผล

      ว่าอาจจะอวยผา                                                            สุ กภาวมาดล

  ดีสู่ ณ หมู่ตน                                                               บ นิราศนิรันดร

      หมู่ใดผิสามัค                                                            คยพรรคสโมสร

  ไปปราศนิราศรอน                                                               คุณไร้ไฉนดล



   (2) การเล่นสัมผัสชุดคาและชุดเสี ยง


หมู่ใดผิสามัค                                                              คยพรรคสโมสร

ไปปราศนิราศรอน                                                               คุณไร้ไฉนดล

   พร้อมเพรี ยงประเสริ ฐครัน                                                 เพราะฉะนั้นแหละบุคคล

ผูหวังเจริ ญตน
  ้                                                                          ธุ ระเกี่ยวกะหมู่เขา
2) การใช้โวหาร สามัคคีเภทคาฉันท์มีความไรเพราะงดงามอันเกิดจากสารที่วใช้ศิลปะในการถ่ายทอด
                                                                      ี
       ความหมายของเนื้อหา โดยการใช้สานวนโวหาร และการใช้ภาพพจน์ เพื่อให้ผอ่านจินตนาการเห็นภาพ
                                                                        ู้
       ชัดเจน เข้าใจและเกิดอารมณ์คล้อยตาม ดังนี้

   2.1) อุปมาโวหาร เป็ นการกล่าวเปรี ยบเทียบเพื่อให้ผอ่านเข้าใจและเห็นภาพชัดเจนยิงขึ้น
                                                     ู้                          ่


     ดั่งนั้น ณ หมู่ใด                                                    ผิ บ ไร้สมัครมี

  พร้อมเพรี ยงนิพทธ์นี
                 ั                                                        รวิวาทระแวงกัน


   2.2) การพรรณนาโวหาร เป็ นการสร้างมโนภาพให้ผอ่านเกิดภาพขึ้นในใจ หรื อมองเห็นภาพบรรยากาศ
                                              ู้
ตามที่กวีตองการ
          ้

       ใครเล่าจะสามารถ                                                     มนอาจระรานหาญ

   หักล้าง บ แหลกหลาญ                                                      ก็เพราะพร้อมเพราะเพรี ยงกัน

      ป่ วยกล่าวอะไรฝูง                                                    นรสู งประเสริ ฐครัน

   ฤาสรรพสัตว์อน
               ั                                                           เฉพาะมีชีวครอง
                                                                                     ี

       แม้มากผิกิ่งไม้                                                     ผิวใครจะใคร่ ลอง

   มัดกากระนั้นปอง                                                          พลหักก็เต็มทน

       เหล่าไหนผิไมตรี                                                     สละลี้ ณ หมู่ตน

   กิจใดจะขวายขวน                                                          บ มิพร้อมมิเพรี ยงกัน

       อย่าปรารถนาหวัง                                                     สุ ขทั้งเจริ ญอัน

   มวลมาอุบติบรร
           ั                                                               ลุไฉน บ ได้มี
ปวงทุกข์พิบติสรร
               ั                                              พภยันตรายกลี

แม้ปราศนิยมปรี                                                ติประสงค์ก็คงสม

    ควรชนประชุมเช่น                                           คณะเป็ นสมาคม

สามัคคิปรารม                                                  ภนิพทธราพึง
                                                                  ั

    ไป่ มีก็ให้มี                                             ผิวก็มีคานึง

เนื่องเพื่ออภิยโยจึง                                          จะประสบสุ ขาลัย

                             ผู้จัดทำ




                       นางสาวกมลวรรณ ชูผล   เลขที่ 36 ม.6/3

More Related Content

What's hot

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์อิ่' เฉิ่ม
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์Mu Koy
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2B'Ben Rattanarat
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 

What's hot (18)

งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
 
Ton
TonTon
Ton
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 

Similar to งาน

งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพรNat Ty
 

Similar to งาน (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ปสามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อปสามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
ภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 pooภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 poo
 
งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
ภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 pooภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 poo
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 

งาน

  • 1. สัททุลวิกกีฬิต ฉันท์ ๑๙ จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี ธาสู่ วสาลี ิ นคร โดยทางอันพระทวารเปิ ดนรนิกร ฤารอจะต่อรอน อะไร เบื้องนั้นท่านคุรุวสสการทิชก็ไป ั นาทัพชเนนทร์ไท มคธ เข้าปราบลิจฉวิขตติยรัฐชนบท ั ์ สู ้เงื้อมพระหัตถ์หมด และโดย ไป่ พักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ์ ราบคาบเสด็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต ดมเขตบุเรศดุจ ณ เดิม ชิ ต บุรทัตได้ ยกพุทธภาษิต แสดงคุณและโทษความสามัคคี ดังนี้ พุทธาทิบณฑิต ั พิเคราะห์คิดพินิจปรา รถสรรเสริ ญสา ธุสมัครภาพผล ว่าอาจจะอวยผา สุ กภาวมาดล ดีสู่ ณ หมู่ตน บ นิราศนิรันดร
  • 2. หมู่ใดผิสามัค คยพรรคสโมสร ไปปราศนิราศรอน คุณไร้ไฉนดล พร้อมเพรี ยงประเสริ ฐครัน เพราะฉะนั้นแหละบุคคล ผูหวังเจริ ญตน ้ ธุ ระเกี่ยวกะหมู่เขา พึงหมายสมัครเป็ น มุขเป็ นประธานเอา ธูรทัว ณ ตัวเรา ่ บ่ มิเห็น ณ ฝ่ ายเดียว ควรยกประโยชน์ยน ื่ นรอื่นก็แลเหลียว ดูบางและกลมเกลียว ้ มิตรภาพผดุงครอง ยั้งทิฐิมานหย่อน ทมผ่อนผจงจอง อามิมีหมอง มนเมื่อจะทาใด ลาภผลสกลบรร ลุก็ปันก็แบ่งไป ตามน้อยและมากใจ สุ จริ ตนิยมธรรม์ พึงมรรยาทยึด สุ ประพฤติสงวนพรรค์ รื้ อริ ษยาอัน อุปเฉทไมตรี ดังนั้น ณ หมู่ใด ่ ผิ บ ไร้สมัครมี พร้อมเพรี ยงนิพทธ์นี ั รวิวาทระแวงกัน หวังเทอญมิตองสง ้ สยคงประสบพลัน ซึ่งสุ ขเกษมสันต์ หิตะกอบทวีการ
  • 3. ใครเล่าจะสามารถ มนอาจระรานหาญ หักล้าง บ แหลกหลาญ ก็เพราะพร้อมเพราะเพรี ยงกัน ป่ วยกล่าวอะไรฝูง นรสู งประเสริ ฐครัน ฤาสรรพสัตว์อน ั เฉพาะมีชีวครอง ี แม้มากผิกิ่งไม้ ผิวใครจะใคร่ ลอง มัดกากระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน เหล่าไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมู่ตน กิจใดจะขวายขวน บ มิพร้อมมิเพรี ยงกัน อย่าปรารถนาหวัง สุ ขทั้งเจริ ญอัน มวลมาอุบติบรร ั ลุไฉน บ ได้มี ปวงทุกข์พิบติสรร ั พภยันตรายกลี แม้ปราศนิยมปรี ติประสงค์ก็คงสม ควรชนประชุมเช่น คณะเป็ นสมาคม สามัคคิปรารม ภนิพทธราพึง ั ไป่ มีก็ให้มี ผิวก็มีคานึง เนื่องเพื่ออภิยโยจึง จะประสบสุ ขาลัย
  • 4. ถอดคาประพันธ์ ่ พระเจ้าอชาตศัตรู จอมทัพแห่งแคว้นมคธกรี ธาทัพเข้าเมืองเวสาลีทางประตูเมืองที่เปิ ดอยูโดยไม่ มีผคนหรื อทหารต่อสู ้ประการใด ขณะนั้นวัสสการพราหมณ์ผเู ้ ป็ นอาจารย์ก็ไปนาทัพของกษัตริ ยแห่งมคธเข้ามา ู้ ์ ์ ่ ปราบกษัตริ ยลิจฉวี อาณาจักรทั้งหมดก็ตกอยูในเงื้อมพระหัตถ์ โดยที่กองทัพไม่ตองเปลืองแรงในการต่อสู ้ ้ ปราบราบคาบแล้วเสด็จยังราชคฤห์เมืองยิงใหญ่ดงเดิม เนื้อเรื่ องแต่เดิมจบลงเพียงนี้ แต่ประสงค์จะแต่งสุ ภาษิต ่ ั เพิ่มเติมให้ได้รับฟังเพื่อเป็ นคติอนทรงคุณค่านาไปคิดไตร่ ตรอง ว่าถ้าทุกคนมีความสามัคคีกนก็จะส่ งผลที่ดีมาสู่ ั ั ทุกคนเอง ถ้ากลุ่มคนใดไม่มีความสามัคคีก็ยอมส่ งผลเสี ยมาให้คนกลุ่มนั้น เพราะฉะนั้นตัวบุคคลเองนั้นแหละ ่ จะต้องรับฟังความคิดเห็นของผูอื่น มีมิตรภาพที่ดีต่อกัน อย่ามีทิฐิต่อกัน มีอะไรก็แบ่งปั นกันตามที่มีและความ ้ เต็มใจ สุ จริ ต มีมารยาทไม่มีความริ ษยา มีไมตรี ต่อกัน ดังนั้นถ้าคนกลุ่มใดผิดความสามัคคีกน ทะเลาะวิวาทกันก็ ั จะประสบแต่สิ่งไม่ดี ไม่มีความสุ ข แต่ถาใครมีความสามัคคีต่อกันจะมีความเป็ นหนึ่งเดียวและยากที่จะมีอะไร ้ เข้ามาทาลายให้ความสามัคคีน้ นแตกลง เปรี ยบเหมือนกับกิ่งไม้ กิ่งไม้ 1 กิ่ง สามารถหักได้โดยง่าย แต่ถากิ่งไม้ ั ้ หลายกิ่งมัดรวมกันแล้วก็ยากที่จะหักได้
  • 5. คุณค่าด้ านวรรณศิลป์ 1) การสรรคา เป็ นการเลือกใช้คาที่สื่อความคิดและอารมณ์ได้อย่างงดงาม ดังนี้ เป็ นการเลือกใช้ คาได้ ถูกต้ องตรงตามความหมายทีต้องการ มีการใช้คาประณี ตเป็ นพิเศษ เมื่อกล่าวถึง ่ พระมหากษัตริ ย ์ จะใช้คาบาลันสกฤตซึ่งถือเป็ นภาษาสู งต้องแปลความทุกคา ดังบทประพันธ์ จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี ธาสู่ วสาลี ิ นคร โดยทางอันพระทวารเปิ ดนรนิกร ฤารอจะต่อรอน อะไร เบื้องนั้นท่านคุรุวสสการทิชก็ไป ั นาทัพชเนนทร์ไท มคธ เข้าปราบลิจฉวิขตติยรัฐชนบท ั ์ สู ้เงื้อมพระหัตถ์หมด และโดย ไป่ พักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ์ ราบคาบเสด็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต ดมเขตบุเรศดุจ ณ เดิม
  • 6. 1. การเลือกใช้ ศัพท์ เหมาะแก่ เนือเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง เช่ น ้ จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี ธาสู่ วสาลี ิ นคร โดยทางอันพระทวารเปิ ดนรนิกร ฤารอจะต่อรอน อะไร เบื้องนั้นท่านคุรุวสสการทิชก็ไป ั นาทัพชเนนทร์ไท มคธ เข้าปราบลิจฉวิขตติยรัฐชนบท ั ์ สู ้เงื้อมพระหัตถ์หมด และโดย จากบทประพันธ์กวีเลือกใช้คาได้เหมาะสมแก่เนื้อเรื่ องและฐานะของบุคคลซึ่ งพระเจ้าอชาตศรัตรู เป็ นกษัตริ ย ์ ได้แก่คาว่า จอมทัพมาคธราษฎร์
  • 7. 1.3) การเลือกใช้ เลือกคาโดยคานึงถึงเสี ยง กวีได้ ดดแปลงฉันท์บางชนิดให้ มีความแตกต่างไปจากเดิม ทาให้ มี ั ความไพเราะมากขึ ้น สามัคคีเภทคาฉันท์มีการใช้ คาที่มีเสียงเสนาะดังนี ้ (1) การเล่นเสี ยงสัมผัส ในฉันท์ของนายชิต บุรทัต มีท้ งสัมผัสนอกสัมผัสในโดยเฉพาะสัมผัสในมีท้ ง ั ั สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะแพรวพราว คล้ายกับความไพเราะของกลอน เช่น พุทธาทิบณฑิต ั พิเคราะห์คิดพินิจปรา รถสรรเสริ ญสา ธุสมัครภาพผล ว่าอาจจะอวยผา สุ กภาวมาดล ดีสู่ ณ หมู่ตน บ นิราศนิรันดร หมู่ใดผิสามัค คยพรรคสโมสร ไปปราศนิราศรอน คุณไร้ไฉนดล (2) การเล่นสัมผัสชุดคาและชุดเสี ยง หมู่ใดผิสามัค คยพรรคสโมสร ไปปราศนิราศรอน คุณไร้ไฉนดล พร้อมเพรี ยงประเสริ ฐครัน เพราะฉะนั้นแหละบุคคล ผูหวังเจริ ญตน ้ ธุ ระเกี่ยวกะหมู่เขา
  • 8. 2) การใช้โวหาร สามัคคีเภทคาฉันท์มีความไรเพราะงดงามอันเกิดจากสารที่วใช้ศิลปะในการถ่ายทอด ี ความหมายของเนื้อหา โดยการใช้สานวนโวหาร และการใช้ภาพพจน์ เพื่อให้ผอ่านจินตนาการเห็นภาพ ู้ ชัดเจน เข้าใจและเกิดอารมณ์คล้อยตาม ดังนี้ 2.1) อุปมาโวหาร เป็ นการกล่าวเปรี ยบเทียบเพื่อให้ผอ่านเข้าใจและเห็นภาพชัดเจนยิงขึ้น ู้ ่ ดั่งนั้น ณ หมู่ใด ผิ บ ไร้สมัครมี พร้อมเพรี ยงนิพทธ์นี ั รวิวาทระแวงกัน 2.2) การพรรณนาโวหาร เป็ นการสร้างมโนภาพให้ผอ่านเกิดภาพขึ้นในใจ หรื อมองเห็นภาพบรรยากาศ ู้ ตามที่กวีตองการ ้ ใครเล่าจะสามารถ มนอาจระรานหาญ หักล้าง บ แหลกหลาญ ก็เพราะพร้อมเพราะเพรี ยงกัน ป่ วยกล่าวอะไรฝูง นรสู งประเสริ ฐครัน ฤาสรรพสัตว์อน ั เฉพาะมีชีวครอง ี แม้มากผิกิ่งไม้ ผิวใครจะใคร่ ลอง มัดกากระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน เหล่าไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมู่ตน กิจใดจะขวายขวน บ มิพร้อมมิเพรี ยงกัน อย่าปรารถนาหวัง สุ ขทั้งเจริ ญอัน มวลมาอุบติบรร ั ลุไฉน บ ได้มี
  • 9. ปวงทุกข์พิบติสรร ั พภยันตรายกลี แม้ปราศนิยมปรี ติประสงค์ก็คงสม ควรชนประชุมเช่น คณะเป็ นสมาคม สามัคคิปรารม ภนิพทธราพึง ั ไป่ มีก็ให้มี ผิวก็มีคานึง เนื่องเพื่ออภิยโยจึง จะประสบสุ ขาลัย ผู้จัดทำ นางสาวกมลวรรณ ชูผล เลขที่ 36 ม.6/3