SlideShare a Scribd company logo
ภุชงคประยาตฉันท์
       ๑๒
จัดทำโดย

นางสาวรัตนา บัวทอง เลขที่ ๑๔
นางสาวสุพัตรา บัวอ่อน เลขที่ ๑๕
ภุชงคประยาต แปลว่า งูเลื้อย
ฉันท์นี้มีความหมายว่ามีลีลางดงามดุจการ
  เลื้อยของพญานาคใช้บรรยายความ ใน
           เรื่องที่ต้องให้เห็นความ
รวดเร็ว กระฉับกระเฉง หรือราพันภาพที่
                สนุกสนานรื่นเริง
คณะและพยางค์
       ฉันท์บทหนึ่งมี ๒ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรค
ต้นและวรรคท้าย มีวรรคละ ๖ คาเท่ากัน รวม ๒
วรรคเป็น ๑๒ คา จึงเขียน ๑๒ ไว้ท้ายชื่อฉันท์
        สัมผัส สัมผัสบังคับดูได้จากแผนตามผัง
สัมผัส และจากตัวอย่างดังรายละเอียด ต่อไปนี้
สัมผัสภายในบท

คู่ที่ ๑. คาสุดท้าย ของวรรคที่ หนึง สัมผัสกับคาที่ สาม ของ
                                  ่
วรรคที่ สอง แทน ด้วย (ค)-(ค)

คู่ที่ ๒. คาสุดท้าย ของวรรคที่ สอง สัมผัสกับคาที่ สุดท้าย ของ
วรรคที่ สาม แทนด้วย ((ค))-((ค))
สัมผัสระหว่างบท

มีการบังคับ ระหว่าง คาสุดท้ายของบท (วรรคที่ ๔) จะไปสัมผัส
กับ คาสุดท้าย ของวรรคที่ สอง ของฉันท์ ในบทถัดไป แทนด้วย
(((ค)))-(((ค)))

      คาครุ คาลหุ บังคับครุ ลหุ ตามที่เขียนไว้ในแผนผังและตาม
ตัวอย่าง

        ล ค ค ล ค (ค)   ล ค(ค)ล ค ((ค))
   ล ค ค ล ค ((ค))      ล ค ค ล ค (((ค)))

           ลคคลคค          ล ค ค ล ค (((ค)))

คาครุ แทนด้วย ค
คาลหุ แทนด้วย ล
 ณ วันหนึ่งลุถึงกา                ลศึกษาพิชากร
         กุมารลิจฉวีวร                       เสด็จพร้อมประชุมกัน

ถอดความ
   พราหมณ์ผู้ฉลาดคาดคะเนว่ากษัตริย์ลจฉวีวางใจคลายความ
                                       ิ
หวาดระแวง เป็นโอกาสเหมาะที่จะเริ่มดาเนินการตามกลอุบายทาลายความ
สามัคคี วันหนึ่งเมื่อถึงโอกาสที่จะสอนวิชา กุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดยพร้อม
เพรียงกัน
ตระบัดวัสสการมา            สถานราชเรียนพลัน
ธ แกล้งเชิญกุมารฉัน         สนิทหนึ่งพระองค์ไป

ถอดความ
ทันใดวัสสการพราหมณ์ก็มาถึงและแกล้งเชิญพระกุมาร
พระองค์ที่สนิทสนมเข้าไปพบในห้องส่วนตัว
ลุห้องหับรโหฐาน               ก็ถามการณ์ ณ ทันใด
มีลี้ลับอะไรใน                 กถาเช่นธปุจฉา

ถอดความ
แล้วก็ทูลถามเรื่องที่ไม่ใช่ความลับแต่ประการใด
 จะถูกผิดกระไรอยู่                   มนุษย์ผู้กระทานา
และคู่โคก็จูงมา                       ประเทียบไถมิใช่หรือ

ถอดความ
ชาวนาจูงโคมาคู่หนึ่งเพื่อเทียมไถใช่หรือไม่
 กุมารลิจฉวีขัตติย์         ก็รับอรรถอออือ
        กสิกเขากระทาคือ              ประดุจคาพระอาจารย์

  ถอดความ
  พระกุมารลิจฉวีก็รับสั่งเห็นด้วยว่าชาวนาก็คงจะกระทาดังคาของ
พระอาจารย์
 ก็เท่านั้น ธ เชิญให้                     นิวัตในมิช้านาน
  ประสิทธิ์ศิลป์ประศาสน์สาร                สมัยเลิกลุเวลา


ถอดความ
    ถามเพียงเท่านั้นพราหมณ์ก็เชิญให้เสด็จกลับออกไป
ครั้นถึงเวลาเลิกเรียน
 อุรสลิจฉวีสรรพ                          ชวนกันเสด็จมา
  และต่างซักกุมารราช                      องค์นั้นจะเอาความ

ถอดความ
 เหล่าโอรสลิจฉวีก็พากันมาซักไซ้พระกุมารว่าพระอาจารย์เรียกเข้าไปข้าง
ใน ได้ไต่ถามอะไรบ้าง
 พระอาจารย์สิเรียกไป   ณ ข้างใน ธ ไต่ถาม
      อะไรเธอเสนอตาม        วจีสัตย์กะส่าเรา


ถอดความ
    ขอให้บอกมาตามความจริง
 กุมารนั้นสนองสา                  รวากย์วาทตามเลา
  เฉลยพจน์กะครูเสา                 วภาพโดยคดีมา

ถอดความ
    พระกุมารพระองค์นั้นก็เล่าเรื่องราวที่พระ
    อาจารย์เรียกไปถาม
 กุมารอื่นก็สงสัย             มิเชื่อในพระวาจา
  สหายราช ธ พรรณนา             และต่างองค์ก็พาที

ถอดความ

แต่เหล่ากุมารสงสัยไม่เชื่อคาพูดของพระสหาย
 ไฉนเลยพระครูเรา          จะพูดเปล่าประโยชน์มี
เลอะเหลวนักละล้วนนี         รผลเห็น บ เป็นไป


ถอดความ
เหล่ากุมารต่างองค์ก็วิจารณ์ว่า พระอาจารย์จะพูดเรื่อง
เหลวไหลไร้สาระเช่นนี้เป็นไปไม่ได้
 เถอะถึงถ้าจะจริงแม้         ธ พูดแท้ก็ทาไม
แนะชวนเข้า ณ ข้างใน           จะถามนอก บ ยากเย็น
ถอดความ
หากว่าจะพูดจริงเหตุใดจะต้องเรียกเข้าไปถามข้างในห้อง
ถามข้างนอกห้องก็ได้
ชะรอยว่าทิชาจารย์                ธ คิดอ่านกะท่านเป็น
   รหัสเหตุประเภทเห็น                ละแน่ชัดถนัดความ

ถอดความ
สงสัยว่าท่านอาจารย์กับพระกุมารต้องมีความลับอย่าง
แน่นอน
และท่านมามุสาวาท         มิกล้าอาจจะบอกตา
 พจีจริงพยายาม             ไถลแสร้งแถลงสาร

ถอดความ
มาพูดโกหก ไม่กล้าบอกตามความเป็นจริง
กุมารราชมิตรผอง         ก็สอดคล้องและแคลงดาล
พิโรธกาจวิวาทการณ์       อุบัติขึ้นเพราะขุ่นเคือง

ถอดความ
เหล่ากุมารแกล้งพูดไปต่าง ๆ นานา กุมารลิจฉวีทั้งหลาย
เห็นสอดคล้องกันก็เกิดความโกรธเคือง การทะเลาะวิวาท
ก็เกิดขึ้นเพราะความขุ่นเคืองใจ
พิพิธพันธไมตรี        ประดามีนิรันดร์เนือง
กะองค์นั้นก็พลันเปลือง มลายปลาตพินาศปลงฯ

ถอดความ
ความสัมพันธ์อันดีที่เคยมีมาตลอดก็ถูกทาลายย่อยยับลง
คุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์
       ๑.การสรรคา เป็นการเลือกใช้คาที่สื่อความคิดและ
อารมณ์ได้อย่างงดงาม
       ๑.๑ การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามที่ต้องการ
มีการใช้คาที่ประณีตเป็นพิเศษ เมื่อได้กล่าวถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์
พระมหากษัตริย์ ครู อาจารย์ จะใช้คาศัพท์ภาษาบาลี
สันสกฤต ซึ่งถือว่าเป็นภาษาสูงต้องแปลความทุกคา
ลักษณะคาประพันธ์
                   ภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒
    กุมารลิจฉวีขัตติย์           ก็รับอรรถอออือ
กสิกเขากระทาคือ                   ประดุจคาพระอาจารย์
    พระอาจารย์สิเรียกไป          ณ ข้างใน ธ ไต่ถาม
อะไรเธอเสนอตาม                    วจีสัตย์กะส่าเรา
     ไฉนเลยพระครูเรา             จะพูดเปล่าประโยชน์มี
เลอะเหลวนักละล้วนนี               ร ผลเห็น บ เป็นไป
๑.๒ การเลือกใช้ศัพท์เหมาะแก่เนื้อเรื่อง และฐานะ
ของบุคคลในเรื่อง
         ๑.๓ การเลือกใช้เลือกคาโดยคานึงถึงเสียง ดังนี้
                (๑) การใช้คาที่เล่นเสียงหนักเบา
ในบทร้อยกรองประเภทฉันท์ กาหนดเสียงหนักเบา (คาครุ
และคาลหุ) ไว้แน่นอนเป็นแบบแผนที่ยดถือกัน ถ้าอ่านเป็น
                                       ึ
ทานองเสนาะ ก็จะทาให้รู้สึกถึงรสไพเราะเนื้อคสามได้
ดังตัวอย่าง
 ชะรอยว่าทิชาจารย์   ธคิดอ่านกะท่านเป็น
รหัสเหตุประเภทเห็น       ละแน่ชัดถนัดความ
     และท่านมามุสาวาท   มิกล้าอาจจะบอกตา
พจีจริงพยายาม            ไถลแสร้งแถลงสาร
(๒) การเล่นเสียงสัมผัส ในฉันท์ของนายชิต
บุรทัต มีทั้งสัมผัสนอกและสัมผัสใน โดยเฉพาะสัมผัส
ในมีทั้งสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะแพรวพราว คล้าย
กับความไพเราะของกลอน
        (๓) การเล่นสัมผัสชุดคาและชุดเสียง
        (๔) มีการเล่นคา
๒. การใช้โวหาร สามัคคีเภทคาฉันท์มีความ
ไพเราะงดงามอันเกิดจากสารที่กวีใช้ศิลปะในการถ่ายทอด
ความหมายของเนื้อหา โดยการใช้สานวนโวหาร และการใช้
ภาพพจน์ เพื่อให้ผู้อ่านจินตนาการเห็นภาพชัดเจน เข้าใจ
และเกิดอารมณ์คล้อยตาม ดังนี้
   ๒.๑ บรรยายโวหาร ใช้คาให้เห็นภาพชัดเจนตามลาดับ
   เหตุการณ์
   ๒.๒ พรรณนาโวหาร เป็นการสร้างมโนภาพให้ผู้อ่าน
   เกิดภาพขึ้นในใจ
   ๒.๓ อุปมาโวหาร เป็นการกล่าวเปรียบเทียบเพื่อให้
   ผู้อ่านเข้าใจ
ภุชงคประยาคฉันท์ 12

More Related Content

What's hot

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nakkarin Keesun
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Parn Parai
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธา
G ''Pamiiz Porpam
 
พระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวมพระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวมWataustin Austin
 
แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งTongsamut vorasan
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111Sukanya Keerin
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
Visanu Khumoun
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์MilkOrapun
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
แผ่นพับพระอภัยมณี
แผ่นพับพระอภัยมณีแผ่นพับพระอภัยมณี
แผ่นพับพระอภัยมณี
Chantima Rodsai
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองโอ๋ อโนทัย
 

What's hot (20)

ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธา
 
พระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวมพระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวม
 
แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่ง
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
แผ่นพับพระอภัยมณี
แผ่นพับพระอภัยมณีแผ่นพับพระอภัยมณี
แผ่นพับพระอภัยมณี
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทอง
 

Similar to ภุชงคประยาคฉันท์ 12

งานภาษาไทย (ชุติมา)
งานภาษาไทย (ชุติมา)งานภาษาไทย (ชุติมา)
งานภาษาไทย (ชุติมา)Chutima Tongnork
 
งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)Chutima Tongnork
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Nattakit Sookka
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพรNat Ty
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์Mu Koy
 

Similar to ภุชงคประยาคฉันท์ 12 (20)

fff
ffffff
fff
 
นัด
นัดนัด
นัด
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
โจ๊ก.
โจ๊ก.โจ๊ก.
โจ๊ก.
 
งานนำเสนอ J
งานนำเสนอ Jงานนำเสนอ J
งานนำเสนอ J
 
งานภาษาไทย (ชุติมา)
งานภาษาไทย (ชุติมา)งานภาษาไทย (ชุติมา)
งานภาษาไทย (ชุติมา)
 
งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)
 
Ton
TonTon
Ton
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ปสามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์
 

ภุชงคประยาคฉันท์ 12

  • 2. จัดทำโดย นางสาวรัตนา บัวทอง เลขที่ ๑๔ นางสาวสุพัตรา บัวอ่อน เลขที่ ๑๕
  • 3. ภุชงคประยาต แปลว่า งูเลื้อย ฉันท์นี้มีความหมายว่ามีลีลางดงามดุจการ เลื้อยของพญานาคใช้บรรยายความ ใน เรื่องที่ต้องให้เห็นความ รวดเร็ว กระฉับกระเฉง หรือราพันภาพที่ สนุกสนานรื่นเริง
  • 4. คณะและพยางค์ ฉันท์บทหนึ่งมี ๒ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรค ต้นและวรรคท้าย มีวรรคละ ๖ คาเท่ากัน รวม ๒ วรรคเป็น ๑๒ คา จึงเขียน ๑๒ ไว้ท้ายชื่อฉันท์ สัมผัส สัมผัสบังคับดูได้จากแผนตามผัง สัมผัส และจากตัวอย่างดังรายละเอียด ต่อไปนี้
  • 5. สัมผัสภายในบท คู่ที่ ๑. คาสุดท้าย ของวรรคที่ หนึง สัมผัสกับคาที่ สาม ของ ่ วรรคที่ สอง แทน ด้วย (ค)-(ค) คู่ที่ ๒. คาสุดท้าย ของวรรคที่ สอง สัมผัสกับคาที่ สุดท้าย ของ วรรคที่ สาม แทนด้วย ((ค))-((ค))
  • 6. สัมผัสระหว่างบท มีการบังคับ ระหว่าง คาสุดท้ายของบท (วรรคที่ ๔) จะไปสัมผัส กับ คาสุดท้าย ของวรรคที่ สอง ของฉันท์ ในบทถัดไป แทนด้วย (((ค)))-(((ค))) คาครุ คาลหุ บังคับครุ ลหุ ตามที่เขียนไว้ในแผนผังและตาม
  • 7. ตัวอย่าง ล ค ค ล ค (ค) ล ค(ค)ล ค ((ค)) ล ค ค ล ค ((ค)) ล ค ค ล ค (((ค))) ลคคลคค ล ค ค ล ค (((ค))) คาครุ แทนด้วย ค คาลหุ แทนด้วย ล
  • 8.  ณ วันหนึ่งลุถึงกา ลศึกษาพิชากร กุมารลิจฉวีวร เสด็จพร้อมประชุมกัน ถอดความ พราหมณ์ผู้ฉลาดคาดคะเนว่ากษัตริย์ลจฉวีวางใจคลายความ ิ หวาดระแวง เป็นโอกาสเหมาะที่จะเริ่มดาเนินการตามกลอุบายทาลายความ สามัคคี วันหนึ่งเมื่อถึงโอกาสที่จะสอนวิชา กุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดยพร้อม เพรียงกัน
  • 9. ตระบัดวัสสการมา สถานราชเรียนพลัน ธ แกล้งเชิญกุมารฉัน สนิทหนึ่งพระองค์ไป ถอดความ ทันใดวัสสการพราหมณ์ก็มาถึงและแกล้งเชิญพระกุมาร พระองค์ที่สนิทสนมเข้าไปพบในห้องส่วนตัว
  • 10. ลุห้องหับรโหฐาน ก็ถามการณ์ ณ ทันใด มีลี้ลับอะไรใน กถาเช่นธปุจฉา ถอดความ แล้วก็ทูลถามเรื่องที่ไม่ใช่ความลับแต่ประการใด
  • 11.  จะถูกผิดกระไรอยู่ มนุษย์ผู้กระทานา และคู่โคก็จูงมา ประเทียบไถมิใช่หรือ ถอดความ ชาวนาจูงโคมาคู่หนึ่งเพื่อเทียมไถใช่หรือไม่
  • 12.  กุมารลิจฉวีขัตติย์ ก็รับอรรถอออือ กสิกเขากระทาคือ ประดุจคาพระอาจารย์ ถอดความ พระกุมารลิจฉวีก็รับสั่งเห็นด้วยว่าชาวนาก็คงจะกระทาดังคาของ พระอาจารย์
  • 13.  ก็เท่านั้น ธ เชิญให้ นิวัตในมิช้านาน ประสิทธิ์ศิลป์ประศาสน์สาร สมัยเลิกลุเวลา ถอดความ ถามเพียงเท่านั้นพราหมณ์ก็เชิญให้เสด็จกลับออกไป ครั้นถึงเวลาเลิกเรียน
  • 14.  อุรสลิจฉวีสรรพ ชวนกันเสด็จมา และต่างซักกุมารราช องค์นั้นจะเอาความ ถอดความ เหล่าโอรสลิจฉวีก็พากันมาซักไซ้พระกุมารว่าพระอาจารย์เรียกเข้าไปข้าง ใน ได้ไต่ถามอะไรบ้าง
  • 15.  พระอาจารย์สิเรียกไป ณ ข้างใน ธ ไต่ถาม อะไรเธอเสนอตาม วจีสัตย์กะส่าเรา ถอดความ ขอให้บอกมาตามความจริง
  • 16.  กุมารนั้นสนองสา รวากย์วาทตามเลา เฉลยพจน์กะครูเสา วภาพโดยคดีมา ถอดความ พระกุมารพระองค์นั้นก็เล่าเรื่องราวที่พระ อาจารย์เรียกไปถาม
  • 17.  กุมารอื่นก็สงสัย มิเชื่อในพระวาจา สหายราช ธ พรรณนา และต่างองค์ก็พาที ถอดความ แต่เหล่ากุมารสงสัยไม่เชื่อคาพูดของพระสหาย
  • 18.  ไฉนเลยพระครูเรา จะพูดเปล่าประโยชน์มี เลอะเหลวนักละล้วนนี รผลเห็น บ เป็นไป ถอดความ เหล่ากุมารต่างองค์ก็วิจารณ์ว่า พระอาจารย์จะพูดเรื่อง เหลวไหลไร้สาระเช่นนี้เป็นไปไม่ได้
  • 19.  เถอะถึงถ้าจะจริงแม้ ธ พูดแท้ก็ทาไม แนะชวนเข้า ณ ข้างใน จะถามนอก บ ยากเย็น ถอดความ หากว่าจะพูดจริงเหตุใดจะต้องเรียกเข้าไปถามข้างในห้อง ถามข้างนอกห้องก็ได้
  • 20. ชะรอยว่าทิชาจารย์ ธ คิดอ่านกะท่านเป็น รหัสเหตุประเภทเห็น ละแน่ชัดถนัดความ ถอดความ สงสัยว่าท่านอาจารย์กับพระกุมารต้องมีความลับอย่าง แน่นอน
  • 21. และท่านมามุสาวาท มิกล้าอาจจะบอกตา พจีจริงพยายาม ไถลแสร้งแถลงสาร ถอดความ มาพูดโกหก ไม่กล้าบอกตามความเป็นจริง
  • 22. กุมารราชมิตรผอง ก็สอดคล้องและแคลงดาล พิโรธกาจวิวาทการณ์ อุบัติขึ้นเพราะขุ่นเคือง ถอดความ เหล่ากุมารแกล้งพูดไปต่าง ๆ นานา กุมารลิจฉวีทั้งหลาย เห็นสอดคล้องกันก็เกิดความโกรธเคือง การทะเลาะวิวาท ก็เกิดขึ้นเพราะความขุ่นเคืองใจ
  • 23. พิพิธพันธไมตรี ประดามีนิรันดร์เนือง กะองค์นั้นก็พลันเปลือง มลายปลาตพินาศปลงฯ ถอดความ ความสัมพันธ์อันดีที่เคยมีมาตลอดก็ถูกทาลายย่อยยับลง
  • 24. คุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์ ๑.การสรรคา เป็นการเลือกใช้คาที่สื่อความคิดและ อารมณ์ได้อย่างงดงาม ๑.๑ การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามที่ต้องการ มีการใช้คาที่ประณีตเป็นพิเศษ เมื่อได้กล่าวถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พระมหากษัตริย์ ครู อาจารย์ จะใช้คาศัพท์ภาษาบาลี สันสกฤต ซึ่งถือว่าเป็นภาษาสูงต้องแปลความทุกคา
  • 25. ลักษณะคาประพันธ์ ภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒ กุมารลิจฉวีขัตติย์ ก็รับอรรถอออือ กสิกเขากระทาคือ ประดุจคาพระอาจารย์ พระอาจารย์สิเรียกไป ณ ข้างใน ธ ไต่ถาม อะไรเธอเสนอตาม วจีสัตย์กะส่าเรา  ไฉนเลยพระครูเรา จะพูดเปล่าประโยชน์มี เลอะเหลวนักละล้วนนี ร ผลเห็น บ เป็นไป
  • 26. ๑.๒ การเลือกใช้ศัพท์เหมาะแก่เนื้อเรื่อง และฐานะ ของบุคคลในเรื่อง ๑.๓ การเลือกใช้เลือกคาโดยคานึงถึงเสียง ดังนี้ (๑) การใช้คาที่เล่นเสียงหนักเบา ในบทร้อยกรองประเภทฉันท์ กาหนดเสียงหนักเบา (คาครุ และคาลหุ) ไว้แน่นอนเป็นแบบแผนที่ยดถือกัน ถ้าอ่านเป็น ึ ทานองเสนาะ ก็จะทาให้รู้สึกถึงรสไพเราะเนื้อคสามได้ ดังตัวอย่าง
  • 27.  ชะรอยว่าทิชาจารย์ ธคิดอ่านกะท่านเป็น รหัสเหตุประเภทเห็น ละแน่ชัดถนัดความ  และท่านมามุสาวาท มิกล้าอาจจะบอกตา พจีจริงพยายาม ไถลแสร้งแถลงสาร
  • 28. (๒) การเล่นเสียงสัมผัส ในฉันท์ของนายชิต บุรทัต มีทั้งสัมผัสนอกและสัมผัสใน โดยเฉพาะสัมผัส ในมีทั้งสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะแพรวพราว คล้าย กับความไพเราะของกลอน (๓) การเล่นสัมผัสชุดคาและชุดเสียง (๔) มีการเล่นคา
  • 29. ๒. การใช้โวหาร สามัคคีเภทคาฉันท์มีความ ไพเราะงดงามอันเกิดจากสารที่กวีใช้ศิลปะในการถ่ายทอด ความหมายของเนื้อหา โดยการใช้สานวนโวหาร และการใช้ ภาพพจน์ เพื่อให้ผู้อ่านจินตนาการเห็นภาพชัดเจน เข้าใจ และเกิดอารมณ์คล้อยตาม ดังนี้ ๒.๑ บรรยายโวหาร ใช้คาให้เห็นภาพชัดเจนตามลาดับ เหตุการณ์ ๒.๒ พรรณนาโวหาร เป็นการสร้างมโนภาพให้ผู้อ่าน เกิดภาพขึ้นในใจ ๒.๓ อุปมาโวหาร เป็นการกล่าวเปรียบเทียบเพื่อให้ ผู้อ่านเข้าใจ