SlideShare a Scribd company logo
การพัฒนาเศรษฐกิจ และ
                               เศรษฐกิจระหวางประเทศ

                                                                        อ.คมกฤษณ ศิริวงษ
                                                                   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

      เศรษฐกิจระหวางประเทศ

       เศรษฐกิจระหวางประเทศ หมายถึง ความสัมพันธระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ ซึ่งมี
ความสัมพันธกันอยู 3 เรื่อง คือ การคาระหวางประเทศ การเงินระหวางประเทศ และการรวมมือ
ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

การคาระหวางประเทศ
           การคาระหวางประเทศ หมายถึง การนําสินคาและบริการจากประเทศหนึ่งไปแลกเปลี่ยน
กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งลักษณะการแลกเปลี่ยนมีทั้งที่เปนการแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา การแลก
เปลี่ยนโดยใชเงินเปนสือกลาง และการแลกเปลียนโดยใหสนเชือหรือเครดิต การคาระหวางประเทศ
                       ่                     ่          ิ ่
นันเกิดขึนเนื่องจากการที่ประเทศตางๆ มีลักษณะทางกายภาพและทรัพยากรที่มีความสามารถใน
  ้      ้
การผลิตแตกตางกันนั่นเอง ในการคาระหวางประเทศนั้นจะมีสินคาอยู 2 ชนิด คือ สินคาเขา
(Import) คือ สินคาที่นํามาจากตางประเทศเพือเขามาจําหนาย และสินคาออก (Export) คือ สินคาทีสง
                                           ่                                                 ่ 
ออกไปจําหนายตางประเทศ
        การคาระหวางประเทศกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ ดังนี้
        1. ประเทศตางๆ มีสินคาครบตามความตองการ
        2. ประเทศตางๆ จะมีการผลิตสินคาแบบการคา หรือมีเศรษฐกิจแบบการคา
        3. การผลิตสินคาในประเทศตางๆ จะมีการแขงขันกันทางดานคุณภาพและประสิทธิภาพ
        4. กอใหเกิดความรูความชํานาญเฉพาะอยาง แบงงานทําตามความถนัด
        นโยบายการคาระหวางประเทศ (Trade Policy) หมายถึง แนวทางปฏิบัติทางการคา กับ
ประเทศตางๆ มักจะกําหนดขึ้นใชเพื่อรักษาไวซึ่งประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ นโยบาย
การคา ระหวางประเทศแบงออกเปน 2 ประเภท คือ นโยบายการคาเสรี และนโยบายการคาคุมกัน
1. นโยบายการคาโดยเสรี (Free Trade Policy) เปนนโยบายการคาที่เปดโอกาสใหมีการ
สงสินคาจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง ไมมีการกีดกันใดๆ ทางการคา ประเทศที่ใชนโยบาย
นี้มักจะใชวิธีการดังนี้
              ไมมีการเก็บภาษีคุมกัน เชน ไมมีการตั้งกําแพงภาษีสินคาขาเขา หรือไมมีการเก็บคา
              พรีเมียม เปนตน
              ไมใหสิทธิพิเศษทางการคาแกประเทศหนึ่งประเทศใด
              ไมมีขอจํากัดทางการคาใดๆ เชน ไมมีการกําหนดโควตาสินคา เปนตน
              เลือกผลิตเฉพาะสินคาที่ถนัด ซึ่งทําใหทุนการผลิตตํ่า สินคามีคุณภาพ
           2. นโยบายการคาคุมกัน (Protective Trade Policy) เปนนโยบายการคาที่จํากัดการนําสิน
คาเขามาแขงขันกับการผลิตในประเทศ            นโยบายนี้มวัตถุประสงคเพื่อคุมครองการผลิตภายใน
                                                        ี
ประเทศใหสามารถดําเนินการได ประเทศใดที่ใชนโยบายนี้มักจะมีเครื่องมือในการคุมกัน คือ การ
ตั้งกําแพงภาษี การกําหนดโควตาสินคา การหามเขาหรือสงออกของสินคาบางอยาง การควบคุมการ
แลกเปลียนเงินตรา และใหเงินอุดหนุน
         ่
        ปริมาณการคาระหวางประเทศและดุลการคาระหวางประเทศ               ปริมาณการคาระหวาง
ประเทศ คือ มูลคารวมของสินคาเขาและสินคาออกในระยะเวลา 1 ป สวนดุลการคาระหวาง
ประเทศ หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางมูลคาของสินคาเขากับมูลคาของสินคาออก เมือเปรียบเทียบ
                                                                                   ่
แลวจะมีอยู 3 ลักษณะ ดังนี้
        1. ดุลการคาเกินดุล คือ มูลคาของสินคาออกสูงกวามูลคาของสินคาเขา (ไดเปรียบดุลการ
คา)
        2. ดุลการคาขาดดุล คือ มูลคาของสินคาออกตํ่ากวามูลคาของสินคาเขา (เสียเปรียบดุลการ
คา)
        3. ดุลการคาไดดุล (สมดุล) คือ มูลคาของสินคาออกเทากับมูลคาของสินคาเขา
        ในการศึกษาปริมาณการคาระหวางประเทศ และดุลการคาระหวางประเทศจะตองศึกษา
จากมูลคาของสินคาเขาและมูลคาของสินคาออก
         สรุปลักษณะการคาตางประเทศของไทย
         1. ใชนโยบายการคาคุมกัน เพื่อคุมครองการผลิตในประเทศโดยมีมาตรการที่สําคัญ เชน
การตั้งกําแพงภาษีสินคาเขา การกําหนดโควตาสินคานําเขา และการใหเงินอุดหนุนการผลิตหรือสง
ออก เปนตน
         2 ใหเอกชนมีบทบาทในทางการคามากที่สุด โดยรัฐจะเปนผูอํานวยความสะดวกให แต
บางครั้งรัฐบาลก็อาจทําการคากับตางประเทศโดยตรงบาง
3. ใชระบบภาษีศุลกากรพิกัดอัตราเดียว คือ สินคาเขาเปนชนิดเดียวกัน ไมวาจะสงมาจาก
ประเทศใดก็ตาม จะเก็บภาษีศุลกากรในอัตราเดียวกัน

     การเงินระหวางประเทศ

         การเงินระหวางประเทศ เปนการแสดงความสัมพันธทางดานการเงินระหวางประเทศหนึ่ง
กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งความสัมพันธนี้สืบเนื่องมาจากการคาขายระหวางประเทศ การกูยืมเงินและ
การชําระหนี้ การลงทุนระหวางประเทศและการชวยเหลือกันระหวางประเทศ
         การแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ คือ การนําเงินตราสกุลหนึ่งไปแลกเปลี่ยนกับอีกสกุล
หนึ่ง การแลกเปลี่ยนเงินตราเปนสิ่งที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ การแลกเปลี่ยน
เงินตราตางประเทศที่ถูกตองนั้นตองแลกที่ธนาคารพาณิชยซึ่งมีการกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว 2
อยาง คือ อัตราซึ้อ (Buying) คือ อัตราที่ธนาคารรับซื้อ (ราคาตํ่า) และอัตราขาย (Selling) คือ
อัตราที่ธนาคารขายไป (ราคาสูง) ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนทั้ง 2 ประเภท ธนาคารกลางเปนผูกําหนด
โดยเทียบคาเงินของตนกับทองคํา หรือ เงินตราสกุลอื่นๆ ภายใตเงื่อนไขที่กองทุนการเงินระหวาง
ประเทศกําหนด
         ปจจุบันประเทศไทยกําหนดการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ เปนแบบ "ลอยตัว"
จะใชอุปสงคและอุปทานของเงินตราเปนตัวกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งขึ้นอยูกับสถาบันการเงินที่
ทําการ แลกเปลี่ยนเงินตรา
        ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ (Balance of Payment) หมายถึง รายงานทีแสดงถึงยอด
                                                                                ่
รายไดและรายจายที่ประเทศไดรับหรือจายใหแกตางประเทศในระยะเวลา 1ป บัญชีตางๆ ที่ใชแสดง
รายงานดุลการชําระเงินระหวางประเทศมีอยู 3 บัญชี คือ
        1. บัญชีเดินสะพัด เปนบัญชีแสดงรายรับและรายจายเกี่ยวกับสินคาเขาและสินคาออก
หรือ ดุลการคารวมทั้งดุลบริการ และดุลบริจาค
        2. บัญชีทุนเคลื่อนยาย เปนบัญชีที่แสดงเกี่ยวกับการนําเงินทุนไปลงทุนระหวางประเทศ
        3. บัญชีทุนสํารองระหวางประเทศ เปนบัญชีที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของจํานวนเงิน
สํารองระหวางประเทศในแตละป
       ลักษณะของดุลการชําระเงินระหวางประเทศ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ
       1.) ดุลการชําระเงินเกินดุล คือ รายรับสูงกวารายจาย (ทําใหเงินทุนสํารองฯ เพิ่มขึ้น)
       2.) ดุลการชําระเงินขาดดุล คือ รายรับตํ่ากวารายจาย (ทําใหเงินทุนสํารองฯ ลดลง)
       3.) ดุลการชําระเงินไดดุล (สมดุล) คือ รายรับเทากับรายจาย
องคกรทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

       กองทุนการเงินระหวางประเทศ ( International Monetary Fund : IMF ) เปนของ
สหประชาชาติ สํานักงานอยูที่กรุงนิวยอรก สหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นมาเพื่อรวมมือกันในดานการเงิน
ระหวางประเทศ รักษาเสถียรภาพของการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ ดูแลใหคาแนะนํา    ํ
และเสนอความชวยเหลือเพื่อแกปญหาการขาดดุลการชํ าระเงินแกประเทศสมาชิกหรือประเทศที่
ประสบปญหาหนี้ตางประเทศ
               
       ธนาคารโลก (World Bank) เปนของสหประชาชาติ สํานักงานตั้งอยูที่วอชิงตัน ดี.ซี.
สหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นมาเพื่อระดมเงินฝากจากสมาชิก และใหสมาชิกกูยืมไปใชในการพัฒนาทาง
ดานเศรษฐกิจตามโครงตางๆ โดยอัตราดอกเบี้ยตํ่า และระยะเวลาการชําระหนี้ยาวนาน
       สหภาพยุโรป ( European Union : EU ) มีสมาชิก 15 ประเทศ คือ เบลเยียม เนเธอร
แลนด ลักเซมเบอรก ฝรั่งเศส อิตาลี กรีซ เยอรมนี อังกฤษ เดนมารก สเปน โปรตุเกส ออส
เตรีย สวีเดน และฟนแลนด องคกรนี้รวมมือกันเพื่อลดการกีดกันทางการคา การบริการ และการ
ลงทุน โดยการใชเงินสกุลเดียวกัน การเปนยุโรปตลาดเดียว และการเปนเขตการคาเสรี
        สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือสมาคมอาเซียน (Association of South
East Asia Nations : ASEAN ) มีสมาชิก 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส
อินโดนีเซีย เวียดนาม ลาว พมา บรูไน และกัมพูชา จุดประสงคของอาเซียนตั้งขึ้นเพื่อสงเสริม
ความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม ในหมูสมาชิก

More Related Content

What's hot

เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
Aor's Sometime
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
Aor's Sometime
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
songyangwtps
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
songyangwtps
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
WeIvy View
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
Areeluk Ngankoh
 
doc me
doc medoc me
doc me
maovkh
 
Interfinancespecial
InterfinancespecialInterfinancespecial
Interfinancespecialmaovkh
 
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2asdwassjam27
 

What's hot (14)

Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
 
doc me
doc medoc me
doc me
 
Interfinancespecial
InterfinancespecialInterfinancespecial
Interfinancespecial
 
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
 

Viewers also liked

Canosa Saliency Based Decision Support
Canosa Saliency Based Decision SupportCanosa Saliency Based Decision Support
Canosa Saliency Based Decision Support
Kalle
 
U:\Navajocodetalkers
U:\NavajocodetalkersU:\Navajocodetalkers
U:\Navajocodetalkersacoffman11
 
Jvum2013s niftycloud
Jvum2013s niftycloudJvum2013s niftycloud
Jvum2013s niftycloud
雄也 日下部
 
TDR - predstavljanje rezlultata poslovanja na tržištu BiH za 2012 godinu
TDR - predstavljanje rezlultata poslovanja na tržištu BiH za 2012 godinuTDR - predstavljanje rezlultata poslovanja na tržištu BiH za 2012 godinu
TDR - predstavljanje rezlultata poslovanja na tržištu BiH za 2012 godinu
TDR d.o.o Rovinj
 
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint EditorDigital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Animation for Kids, LLC
 
Conscious Social Networking
Conscious Social NetworkingConscious Social Networking
Conscious Social Networking
Yfke Laanstra
 
Plataforma anged 2013
Plataforma anged 2013Plataforma anged 2013
Plataforma anged 2013oscargaliza
 
Addiction and its Neurophysocioly
Addiction and its NeurophysociolyAddiction and its Neurophysocioly
Addiction and its Neurophysociolyelbiliacleo
 
Frc F Vvf 537 83 6 1805507 Uk
Frc F Vvf 537 83 6 1805507 UkFrc F Vvf 537 83 6 1805507 Uk
Frc F Vvf 537 83 6 1805507 Ukguest597cc37
 
Barcamp 2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
Barcamp  2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and ProfitBarcamp  2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
Barcamp 2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and ProfitPrathan Phongthiproek
 
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)oscargaliza
 
TEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B VocabularioTEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B Vocabulario
SenoraAmandaWhite
 
Fractions, Decimals And Percents
Fractions, Decimals And PercentsFractions, Decimals And Percents
Fractions, Decimals And PercentsKelly
 
ZFConf 2010: Using Message Queues in Day-to-Day Projects (Zend_Queue)
ZFConf 2010: Using Message Queues in Day-to-Day Projects (Zend_Queue)ZFConf 2010: Using Message Queues in Day-to-Day Projects (Zend_Queue)
ZFConf 2010: Using Message Queues in Day-to-Day Projects (Zend_Queue)ZFConf Conference
 

Viewers also liked (20)

Canosa Saliency Based Decision Support
Canosa Saliency Based Decision SupportCanosa Saliency Based Decision Support
Canosa Saliency Based Decision Support
 
U:\Navajocodetalkers
U:\NavajocodetalkersU:\Navajocodetalkers
U:\Navajocodetalkers
 
Jvum2013s niftycloud
Jvum2013s niftycloudJvum2013s niftycloud
Jvum2013s niftycloud
 
TDR - predstavljanje rezlultata poslovanja na tržištu BiH za 2012 godinu
TDR - predstavljanje rezlultata poslovanja na tržištu BiH za 2012 godinuTDR - predstavljanje rezlultata poslovanja na tržištu BiH za 2012 godinu
TDR - predstavljanje rezlultata poslovanja na tržištu BiH za 2012 godinu
 
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint EditorDigital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
 
Conscious Social Networking
Conscious Social NetworkingConscious Social Networking
Conscious Social Networking
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
Sima carrefour
Sima carrefourSima carrefour
Sima carrefour
 
Statby school 2553_m3_1057012007
Statby school 2553_m3_1057012007Statby school 2553_m3_1057012007
Statby school 2553_m3_1057012007
 
Plataforma anged 2013
Plataforma anged 2013Plataforma anged 2013
Plataforma anged 2013
 
อิสราเอลและอาหรับ
อิสราเอลและอาหรับอิสราเอลและอาหรับ
อิสราเอลและอาหรับ
 
Addiction and its Neurophysocioly
Addiction and its NeurophysociolyAddiction and its Neurophysocioly
Addiction and its Neurophysocioly
 
TEMA1BVocabulary
TEMA1BVocabularyTEMA1BVocabulary
TEMA1BVocabulary
 
Frc F Vvf 537 83 6 1805507 Uk
Frc F Vvf 537 83 6 1805507 UkFrc F Vvf 537 83 6 1805507 Uk
Frc F Vvf 537 83 6 1805507 Uk
 
Barcamp 2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
Barcamp  2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and ProfitBarcamp  2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
Barcamp 2009-Ninjitsu Attack Hack For Fun and Profit
 
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
 
TEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B VocabularioTEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B Vocabulario
 
Pr1
Pr1Pr1
Pr1
 
Fractions, Decimals And Percents
Fractions, Decimals And PercentsFractions, Decimals And Percents
Fractions, Decimals And Percents
 
ZFConf 2010: Using Message Queues in Day-to-Day Projects (Zend_Queue)
ZFConf 2010: Using Message Queues in Day-to-Day Projects (Zend_Queue)ZFConf 2010: Using Message Queues in Day-to-Day Projects (Zend_Queue)
ZFConf 2010: Using Message Queues in Day-to-Day Projects (Zend_Queue)
 

Similar to การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
ASpyda Ch
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Docmaovkh
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
Sureeraya Limpaibul
 
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษีการวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
Chaiyong_SP
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10praphol
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Sarod Paichayonrittha
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นDr.Choen Krainara
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
Ornkapat Bualom
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fundLatin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Kan Yuenyong
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
Earn LikeStock
 

Similar to การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (20)

การเงิน การธนาคาร การคลัง
การเงิน การธนาคาร การคลังการเงิน การธนาคาร การคลัง
การเงิน การธนาคาร การคลัง
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Doc
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษีการวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fundLatin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fund
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

  • 1. การพัฒนาเศรษฐกิจ และ เศรษฐกิจระหวางประเทศ อ.คมกฤษณ ศิริวงษ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เศรษฐกิจระหวางประเทศ เศรษฐกิจระหวางประเทศ หมายถึง ความสัมพันธระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ ซึ่งมี ความสัมพันธกันอยู 3 เรื่อง คือ การคาระหวางประเทศ การเงินระหวางประเทศ และการรวมมือ ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การคาระหวางประเทศ การคาระหวางประเทศ หมายถึง การนําสินคาและบริการจากประเทศหนึ่งไปแลกเปลี่ยน กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งลักษณะการแลกเปลี่ยนมีทั้งที่เปนการแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา การแลก เปลี่ยนโดยใชเงินเปนสือกลาง และการแลกเปลียนโดยใหสนเชือหรือเครดิต การคาระหวางประเทศ ่ ่ ิ ่ นันเกิดขึนเนื่องจากการที่ประเทศตางๆ มีลักษณะทางกายภาพและทรัพยากรที่มีความสามารถใน ้ ้ การผลิตแตกตางกันนั่นเอง ในการคาระหวางประเทศนั้นจะมีสินคาอยู 2 ชนิด คือ สินคาเขา (Import) คือ สินคาที่นํามาจากตางประเทศเพือเขามาจําหนาย และสินคาออก (Export) คือ สินคาทีสง ่ ่  ออกไปจําหนายตางประเทศ การคาระหวางประเทศกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ ดังนี้ 1. ประเทศตางๆ มีสินคาครบตามความตองการ 2. ประเทศตางๆ จะมีการผลิตสินคาแบบการคา หรือมีเศรษฐกิจแบบการคา 3. การผลิตสินคาในประเทศตางๆ จะมีการแขงขันกันทางดานคุณภาพและประสิทธิภาพ 4. กอใหเกิดความรูความชํานาญเฉพาะอยาง แบงงานทําตามความถนัด นโยบายการคาระหวางประเทศ (Trade Policy) หมายถึง แนวทางปฏิบัติทางการคา กับ ประเทศตางๆ มักจะกําหนดขึ้นใชเพื่อรักษาไวซึ่งประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ นโยบาย การคา ระหวางประเทศแบงออกเปน 2 ประเภท คือ นโยบายการคาเสรี และนโยบายการคาคุมกัน
  • 2. 1. นโยบายการคาโดยเสรี (Free Trade Policy) เปนนโยบายการคาที่เปดโอกาสใหมีการ สงสินคาจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง ไมมีการกีดกันใดๆ ทางการคา ประเทศที่ใชนโยบาย นี้มักจะใชวิธีการดังนี้ ไมมีการเก็บภาษีคุมกัน เชน ไมมีการตั้งกําแพงภาษีสินคาขาเขา หรือไมมีการเก็บคา พรีเมียม เปนตน ไมใหสิทธิพิเศษทางการคาแกประเทศหนึ่งประเทศใด ไมมีขอจํากัดทางการคาใดๆ เชน ไมมีการกําหนดโควตาสินคา เปนตน เลือกผลิตเฉพาะสินคาที่ถนัด ซึ่งทําใหทุนการผลิตตํ่า สินคามีคุณภาพ 2. นโยบายการคาคุมกัน (Protective Trade Policy) เปนนโยบายการคาที่จํากัดการนําสิน คาเขามาแขงขันกับการผลิตในประเทศ นโยบายนี้มวัตถุประสงคเพื่อคุมครองการผลิตภายใน ี ประเทศใหสามารถดําเนินการได ประเทศใดที่ใชนโยบายนี้มักจะมีเครื่องมือในการคุมกัน คือ การ ตั้งกําแพงภาษี การกําหนดโควตาสินคา การหามเขาหรือสงออกของสินคาบางอยาง การควบคุมการ แลกเปลียนเงินตรา และใหเงินอุดหนุน ่ ปริมาณการคาระหวางประเทศและดุลการคาระหวางประเทศ ปริมาณการคาระหวาง ประเทศ คือ มูลคารวมของสินคาเขาและสินคาออกในระยะเวลา 1 ป สวนดุลการคาระหวาง ประเทศ หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางมูลคาของสินคาเขากับมูลคาของสินคาออก เมือเปรียบเทียบ ่ แลวจะมีอยู 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. ดุลการคาเกินดุล คือ มูลคาของสินคาออกสูงกวามูลคาของสินคาเขา (ไดเปรียบดุลการ คา) 2. ดุลการคาขาดดุล คือ มูลคาของสินคาออกตํ่ากวามูลคาของสินคาเขา (เสียเปรียบดุลการ คา) 3. ดุลการคาไดดุล (สมดุล) คือ มูลคาของสินคาออกเทากับมูลคาของสินคาเขา ในการศึกษาปริมาณการคาระหวางประเทศ และดุลการคาระหวางประเทศจะตองศึกษา จากมูลคาของสินคาเขาและมูลคาของสินคาออก สรุปลักษณะการคาตางประเทศของไทย 1. ใชนโยบายการคาคุมกัน เพื่อคุมครองการผลิตในประเทศโดยมีมาตรการที่สําคัญ เชน การตั้งกําแพงภาษีสินคาเขา การกําหนดโควตาสินคานําเขา และการใหเงินอุดหนุนการผลิตหรือสง ออก เปนตน 2 ใหเอกชนมีบทบาทในทางการคามากที่สุด โดยรัฐจะเปนผูอํานวยความสะดวกให แต บางครั้งรัฐบาลก็อาจทําการคากับตางประเทศโดยตรงบาง
  • 3. 3. ใชระบบภาษีศุลกากรพิกัดอัตราเดียว คือ สินคาเขาเปนชนิดเดียวกัน ไมวาจะสงมาจาก ประเทศใดก็ตาม จะเก็บภาษีศุลกากรในอัตราเดียวกัน การเงินระหวางประเทศ การเงินระหวางประเทศ เปนการแสดงความสัมพันธทางดานการเงินระหวางประเทศหนึ่ง กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งความสัมพันธนี้สืบเนื่องมาจากการคาขายระหวางประเทศ การกูยืมเงินและ การชําระหนี้ การลงทุนระหวางประเทศและการชวยเหลือกันระหวางประเทศ การแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ คือ การนําเงินตราสกุลหนึ่งไปแลกเปลี่ยนกับอีกสกุล หนึ่ง การแลกเปลี่ยนเงินตราเปนสิ่งที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ การแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศที่ถูกตองนั้นตองแลกที่ธนาคารพาณิชยซึ่งมีการกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว 2 อยาง คือ อัตราซึ้อ (Buying) คือ อัตราที่ธนาคารรับซื้อ (ราคาตํ่า) และอัตราขาย (Selling) คือ อัตราที่ธนาคารขายไป (ราคาสูง) ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนทั้ง 2 ประเภท ธนาคารกลางเปนผูกําหนด โดยเทียบคาเงินของตนกับทองคํา หรือ เงินตราสกุลอื่นๆ ภายใตเงื่อนไขที่กองทุนการเงินระหวาง ประเทศกําหนด ปจจุบันประเทศไทยกําหนดการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ เปนแบบ "ลอยตัว" จะใชอุปสงคและอุปทานของเงินตราเปนตัวกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งขึ้นอยูกับสถาบันการเงินที่ ทําการ แลกเปลี่ยนเงินตรา ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ (Balance of Payment) หมายถึง รายงานทีแสดงถึงยอด ่ รายไดและรายจายที่ประเทศไดรับหรือจายใหแกตางประเทศในระยะเวลา 1ป บัญชีตางๆ ที่ใชแสดง รายงานดุลการชําระเงินระหวางประเทศมีอยู 3 บัญชี คือ 1. บัญชีเดินสะพัด เปนบัญชีแสดงรายรับและรายจายเกี่ยวกับสินคาเขาและสินคาออก หรือ ดุลการคารวมทั้งดุลบริการ และดุลบริจาค 2. บัญชีทุนเคลื่อนยาย เปนบัญชีที่แสดงเกี่ยวกับการนําเงินทุนไปลงทุนระหวางประเทศ 3. บัญชีทุนสํารองระหวางประเทศ เปนบัญชีที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของจํานวนเงิน สํารองระหวางประเทศในแตละป ลักษณะของดุลการชําระเงินระหวางประเทศ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ 1.) ดุลการชําระเงินเกินดุล คือ รายรับสูงกวารายจาย (ทําใหเงินทุนสํารองฯ เพิ่มขึ้น) 2.) ดุลการชําระเงินขาดดุล คือ รายรับตํ่ากวารายจาย (ทําใหเงินทุนสํารองฯ ลดลง) 3.) ดุลการชําระเงินไดดุล (สมดุล) คือ รายรับเทากับรายจาย
  • 4. องคกรทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ กองทุนการเงินระหวางประเทศ ( International Monetary Fund : IMF ) เปนของ สหประชาชาติ สํานักงานอยูที่กรุงนิวยอรก สหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นมาเพื่อรวมมือกันในดานการเงิน ระหวางประเทศ รักษาเสถียรภาพของการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ ดูแลใหคาแนะนํา ํ และเสนอความชวยเหลือเพื่อแกปญหาการขาดดุลการชํ าระเงินแกประเทศสมาชิกหรือประเทศที่ ประสบปญหาหนี้ตางประเทศ  ธนาคารโลก (World Bank) เปนของสหประชาชาติ สํานักงานตั้งอยูที่วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นมาเพื่อระดมเงินฝากจากสมาชิก และใหสมาชิกกูยืมไปใชในการพัฒนาทาง ดานเศรษฐกิจตามโครงตางๆ โดยอัตราดอกเบี้ยตํ่า และระยะเวลาการชําระหนี้ยาวนาน สหภาพยุโรป ( European Union : EU ) มีสมาชิก 15 ประเทศ คือ เบลเยียม เนเธอร แลนด ลักเซมเบอรก ฝรั่งเศส อิตาลี กรีซ เยอรมนี อังกฤษ เดนมารก สเปน โปรตุเกส ออส เตรีย สวีเดน และฟนแลนด องคกรนี้รวมมือกันเพื่อลดการกีดกันทางการคา การบริการ และการ ลงทุน โดยการใชเงินสกุลเดียวกัน การเปนยุโรปตลาดเดียว และการเปนเขตการคาเสรี สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือสมาคมอาเซียน (Association of South East Asia Nations : ASEAN ) มีสมาชิก 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส อินโดนีเซีย เวียดนาม ลาว พมา บรูไน และกัมพูชา จุดประสงคของอาเซียนตั้งขึ้นเพื่อสงเสริม ความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม ในหมูสมาชิก