SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์มหภาค

ประเด็นทางเศรษฐกิจมหภาคบางเรื่อง

   รายได้ของประเทศ: รายได้ประชาชาติ
   ปัญหาเศรษฐกิจ: เงินเฟ้อ เงินฝืด
   นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง
   เศรษฐกิจระหว่างประเทศ


                                       1
รายได้ประชาชาติ (National Income)
 เป้าหมายหนึ่งที่สาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ คือ การ
  เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพราะเป็นสิ่งที่บอกถึงศักยภาพใน การ
  ผลิตหรือการสร้างรายได้ของประเทศในรอบเวลาหนึ่ง ซึ่งโดยปกติ
  วัดในรอบ 1 ปี
 การวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศ มีตวชี้วัดหลักคือ
                                             ั
  ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (gross domestic product: GDP)
 การวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ตัวชีวัดหลักคือ
                                                ้
  ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (gross national product: GNP)
 การคานวณหาตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ทาได้ 3 ทาง
  คือ ด้านผลผลิต ด้านรายได้ และด้านรายจ่าย

                                                               2
หลักการพื้นฐานของการวัดรายได้ประชาชาติ
มาจากกระแสการหมุนเวียนของการใช้จ่ายและผลผลิต คือในรอบ 1
ปี มูลค่าผลผลิตที่ประเทศผลิตได้จากการผลิตในสาขาต่างๆ เช่น
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว การศึกษา ฯลฯ เมื่อรวมกัน
ย่อมเท่ากับมูลค่าของรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการที่เกิดขึ้นใน
รอบระยะเวลานั้นของภาคเศรษฐกิจต่างๆ คือ ภาคครัวเรือน ภาค
ธุรกิจ ภาครัฐบาล และภาคต่างประเทศ ขณะเดียวกันรายได้ที่เกิดขึน
                                                            ้
จากการผลิต ก็จะมีการกระจายออกไปให้กับเจ้าของปัจจัยการผลิตที่
มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิต ในรูปค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี้ย และกาไร


                                                                   3
กระแสการหมุนเวียนของการใช้จ่ายและผลผลิต

       รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ (National Expenditure)

                             ตลาดผลผลิต

                   สินค้าและบริการ (National Product)



ภาคธุรกิจ                                                    ภาคครัวเรือน




                    ที่ดิน แรงงาน ทุน และผู้ประกอบการ

                          ตลาดปัจจัยการผลิต

            ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกาไร (National Income)              4
ความหมายของรายได้ประชาชาติ
ผลรวมของรายได้ประเภทต่างๆ ที่บุคคลต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจได้รับ ใน
ฐานะเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตหรือมีส่วนร่วมในการผลิต ในรอบระยะเวลา
ใดเวลาหนึ่ง โดยปกติมักคิดในรอบ 1 ปี

ตัวเลขรายได้ประชาชาติที่ใช้เป็นตัวชี้วดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
                                      ั
ที่สาคัญ

o ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น (GDP)

o ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเบื้องต้น (GNP)

o รายได้ต่อคน คือ GDP ต่อคน และ GNP ต่อคน



                                                                    5
ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP)
มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประเทศผลิตได้ภายใน
อาณาเขตทางการเมืองเป็นหลัก
       GDP     =      C+I+G+(X–M)
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP)
มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประเทศผลิตได้โดยใช้
ทรัพยากรของประเทศเป็นหลัก
       GNP     = GDP + (รายได้สุทธิจากต่างประเทศ)
รายได้สุทธิจากต่างประเทศ = รายได้ที่ได้รับจากการนาทรัพยากร
ของประเทศเราไปทามาหากินที่อื่นๆในโลก – รายได้ที่เสียไปจาก
การนาทรัพยากรของประเทศอื่นๆ มาทามาหากินในประเทศเรา

                                                             6
รายได้เฉลี่ยต่อคน (Income per capita)
 ใช้เปรียบเทียบรายได้ต่อของแต่ละประเทศ เนื่องจากแต่ละ
  ประเทศมีจานวนประชากรไม่เท่ากัน
 ใช้เพื่อแสดงความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ
        GDP ต่อคน = GDP  จานวนประชากร
        GNP ต่อคน = GNP  จานวนประชากร

 ในการนาตัวเลขรายได้ประชาชาติมาเปรียบเทียบปีต่อปี ต้องปรับ
 รายได้ของทุกปีตามภาวะเงินเฟ้อของระบบเศรษฐกิจออกก่อน เรียก
 รายได้ประชาชาติที่ปรับค่าของเงินเฟ้อออกแล้วว่า รายได้ประชาชาติ
 ที่แท้จริง

                                                                  7
ความสาคัญและประโยชน์ของรายได้ประชาชาติ
  ทาให้ทราบถึงความสามารถในการผลิตของแต่ละสาขาการผลิต
  ทาให้ทราบถึงโครงสร้างการใช้จ่ายของภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ
  ภาครัฐบาล และภาคต่างประเทศ
  ทาให้ทราบถึงระบบโครงสร้างรายได้จากการเป็นเจ้าของปัจจัย
  การผลิต ต่างๆ เช่น แรงงาน ที่ดิน ทุน และผู้ประกอบการ
  ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
  เช่น การกาหนดเป้าหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การค้า
  ต่างประเทศ
  ใช้เปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจในระยะเวลาเดียวกันของ
  ประเทศต่างๆ และระยะเวลาต่างกันของประเทศเดียวกัน

                                                             8
ปัญหาเศรษฐกิจ: เงินเฟ้อ เงินฝืด

                     เงินเฟ้อ (inflation)

ความหมายของเงินเฟ้อ
                              ภาวะทีระดับราคาสินค้าทัวไป
                                      ่                   ่
 ความหมาย
                               สูงขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง

 ระดับของการเกิดเงินเฟ้อ
  ภาวะเงินเฟ้ออย่างอ่อน โดยทั่วไปไม่ควรเกินร้อยละ ๕ ต่อปี

  ภาวะเงินเฟ้อปานกลาง ประมาณร้อยละ ๕-๑๐ เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ

  ภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง อัตราเงินเฟ้อสูงมาก เช่น มากกว่าร้อยละ ๒๐

    ซึ่งจะเกิดผลเสียที่รุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจ
? เวลาดูว่าเกิดเงินเฟ้อขึ้นกี่เปอร์เซนต์ จะดูจากตัวชี้วัดใด
 การวัดอัตราเงินเฟ้อวัดจาก ดัชนีราคา (price index) เช่น
 o ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index: CPI)
 o ดัชนีราคาขายส่ง (Wholesale Price Index: WPI)

                                Pt    (   Pt    1)
            ดัชนีราคา                                 100
                                     Pt    1




 ดัชนีราคาวัดจาก ราคาในปีนี้ ลบด้วย ราคาในปีที่แล้ว เทียบกับราคา
 ในปีที่แล้ว คูณ 100 เพื่อหาเป็น % การเปลี่ยนแปลงของราคา


                                                                   10
ถ้าต้องการตัวเลขอัตราเงินเฟ้อ ค้นหาข้อมูลได้จาก
สานักงานดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
http://www.price.moc.go.th

                      ดัชนีราคาผู้บริโภค: เทียบกับเดือนเดียวกันในปีก่อนหน้า




    กราฟนี้เป็นการบอกว่าดัชนีราคาแต่ละเดือน มีค่าเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วเท่าใด เช่น
    มีนาคม 2554 มีดัชนีราคาผู้บริโภคสูงขึ้นจากเดือนมีนาคม 2553 ร้อยละ 3.1           11
มีประเทศใดบ้างที่เคยประสบปัญหาเงินเฟ้ออย่างรุนแรงจนค่า
ของเงินหมดความหมาย


ประเทศละตินอเมริกา มีปัญหาเงินเฟ้อบ่อยๆ บางทีสินค้าขึ้นราคาทุกวันรวม
แล้วปีละเป็นพันเปอร์เซ็นต์ เช่น ในอาร์เจนตินาและบราซิล เมื่อประมาณ 20
ปีที่แล้ว บราซิลเป็นผู้นาเรื่องเงินเฟ้อ เพราะในช่วงเวลานั้นสินค้าขึ้นราคาถึง
ปีละประมาณ 168% ประเทศไทยไม่มีอาการนี้ เพราะอัตราเงินเฟ้อใน
เมืองไทยในระยะเวลาเดียวกันเฉลี่ยแล้วเพียงปีละประมาณ 4% ไทยไม่เคย
ใช้วิธีพิมพ์ธนบัตรออกมา เพื่อปิดงบประมาณดังที่กระทากันแพร่หลายใน
ละตินอเมริกาไทยจึงไม่เคยประสบปัญหาเงินเฟ้อเหมือนเขา



                                                                               12
สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ
   สาเหตุทางด้านอุปสงค์ เกิดจากการที่อุปสงค์หรือความต้องการซื้อสินค้า
    และบริการโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น เกินกว่าที่อุปทานหรือการผลิตสินค้าและ
    บริการจะตอบสนองได้ทัน ทาให้ราคาสินค้าและบริการโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น
    ทาไมคนในประเทศจึงมีอุปสงค์ต่อสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึน ?
                                                            ้
     ประเทศมีดุลการชาระเงินเกินดุล (เช่น เกิดจากส่งออกได้มาก การที่
       ต่างประเทศเข้ามาลงทุน ทาให้มีเงินตราจากต่างประเทศเข้ามามาก)
     ประชาชนได้เงินมาได้ง่าย เช่น จากการขายทรัพย์สิน การเก็งกาไร
   สาเหตุทางด้านอุปทาน เกิดจากการที่ผผลิตมีต้นทุนการผลิตสูงขึ้น มี
                                         ู้
    สินค้าและบริการในตลาดจาหน่ายน้อยลง ทาให้ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น
    ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นมาจากอะไรได้บ้าง?
     ค่าจ้างแรงงานเพิ่มสูงขึ้น
     ผูผลิต/ผู้ขาย บวกเพิ่มกาไรในราคาขายมากขึ้น
         ้
     ต้นทุนด้านอื่นๆ สูงขึ้น
เงินเฟ้ออาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากอุปสงค์และอุปทานร่วมกัน เช่น เกิดเงินเฟ้อทางด้าน
อุปสงค์ขึ้นก่อน แล้วทาให้แรงงานมีค่าครองชีพที่สูงขึ้น จึงเรียกร้องขอค่าจ้าง
แรงงานเพิ่มขึ้น ทาให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นอีก ราคาสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นอีก
ทาให้เงินเฟ้อมีอัตราสูงขึ้น จนอาจจะกลายเป็นภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง           13
ผลกระทบของการเกิดเงินเฟ้อ
                                     คนอยากถือเงิน
◦ ผลที่มต่อความต้องการถือเงิน
        ี                            หรือไม่ ทาไม ?
◦ ผลต่อการกระจายรายได้
◦ ผลกระทบต่อรัฐบาล


                                ใครบ้างที่ได้เปรียบจากการ
                                เกิดเงินเฟ้อ
                                ใครบ้างที่เสียเปรียบจากการ
   กระทบรายรับ                  เกิดเงินเฟ้อ
   รัฐบาลอย่างไร
   กระทบรายจ่าย
   รัฐบาลอย่างไร



                                                             14
ผลกระทบของการเกิดเงินเฟ้อ
 ผลต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

  ภาวะเงินเฟ้อที่มีระดับสูง อาจเกิดความปันป่วนทางเศรษฐกิจ
                                          ่

  ผลทางด้านสังคม เมื่อเกิดเงินเฟ้อทาให้ประชาชนมีค่าครอง
    ชีพสูงขึ้น เกิดความเดือดร้อน อาจเกิดกระแสการต่อต้านรัฐบาล
    มีการนัดหยุดงาน และอาจทาให้เกิดปัญหาอาชญากรรมตามมา
 ผลต่อดุลการค้าของประเทศ

  ราคาสินค้าในประเทศเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสินค้าจากต่างประเทศ อาจ
  ทาให้มูลค่าการนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น ในขณะที่มูลค่าการ
  ส่งออกของประเทศลดลง ประเทศมีแนวโน้มที่จะขาดดุลการค้า

                                                                       15
แนวทางแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ
oเงินเฟ้อทางด้านอุปสงค์ แก้ไขโดย
  o ใช้นโยบายการคลัง รัฐบาลลดค่าใช้จ่ายลงหรือเก็บภาษีอากรเพิ่มขึ้น
  o ใช้นโยบายการเงิน โดยลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลง เพื่อให้
   การใช้จ่ายในการบริโภคและการลงทุนลดลง

oเงินเฟ้อทางด้านอุปทาน แก้ไขตามสาเหตุที่เกิดเงินเฟ้อ
  o หากเกิดจากวิกฤติการณ์ทางพลังงาน รัฐบาลต้องใช้นโยบายประหยัด
   และใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ
  o หากเกิดจากการกักตุนสินค้า รัฐบาลต้องใช้นโยบายห้ามกักตุนสินค้า
   และนโยบายควบคุมราคาสินค้าโดยตรง


                                                                     16
เงินฝืด (deflation)


ความหมายของเงินฝืด
เงินฝืด เป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปมีแนวโน้มลดลง
เรื่อยๆ เป็นผลจากการที่ประชาชนและรัฐบาลมีอานาจซื้อสินค้าและบริการ
น้อยกว่าจานวนสินค้าและบริการที่ถูกผลิตขึ้นในระบบเศรษฐกิจขณะนั้น
หรือระบบเศรษฐกิจมีอุปทานรวมมากกว่าอุปสงค์รวม ทาให้เศรษฐกิจซบ
เซา หน่วยธุรกิจจะลดการผลิต ลดการลงทุน เกิดการว่างงาน ซึ่งกระทบ
ต่อมาตรฐานความเป็นอยู่ของคนส่วนใหญ่ในระบบเศรษฐกิจ




                                                                    17
ผลกระทบของเงินฝืด
   ผลกระทบของภาวะเงินฝืดต่อระบบเศรษฐกิจ โดยทั่วไปเป็นไปใน
      ทางตรงข้ามกับภาวะเงินเฟ้อ
    เงินฝืดมีผลให้เงินมีอานาจซื้อมากขึ้น แต่เกิดขึ้นในช่วงภาวะเศรษฐกิจ
      ถดถอย
    ผู้ได้ประโยชน์จากภาวะเงินฝืด ได้แก่ เจ้าหนี้ และผู้ที่มีรายได้ประจา
    ผู้เสียประโยชน์จากภาวะเงินฝืด คือ ผู้มีรายได้ไม่แน่นอน เช่น ผู้ที่มี
      รายได้จากกาไรและลูกหนี้
    การแก้ไขภาวะเงินฝืด
รัฐบาลใช้นโยบายการคลัง โดยเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลมากขึ้น หรือลดการ
    จัดเก็บภาษีลง ซึ่งจะทาให้อุปสงค์รวมเพิ่มสูงขึ้น เศรษฐกิจก็จะขยายตัว
การใช้นโยบายการเงิน โดยธนาคารกลางเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปในระบบ
    เศรษฐกิจ เพื่อให้การใช้จ่ายและการลงทุนของเอกชนเพิ่มสูงขึ้น ทาให้
    รายได้และเศรษฐกิจขยายตัว

                                                                            18
นโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง
   นโยบายการเงิน (Monetary policy) หมายถึงความพยายามโดยจงใจ
    ของธนาคารกลาง ในการที่จะควบคุมสถานการณ์ทางด้านปริมาณเงินและ
    สินเชื่อ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจบางประการ
   เป้าหมายสาคัญของนโยบายการเงิน คือ การรักษาเสถียรภาพของระดับ
    ราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไป ซึ่งเกิดขึ้นได้เมื่อ ปริมาณเงินในระบบ
    เศรษฐกิจขยายตัวในอัตราที่ใกล้เคียงกับความต้องการใช้เงินของระบบ
    เศรษฐกิจ
   รัฐบาลใช้นโยบายการเงินเพื่อควบคุมปริมาณเงินและเครดิตเพื่อให้บรรลุ
    เป้าหมายเศรษฐกิจหรือแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ โดยมีธนาคารกลาง หรือ
    ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นผู้มีอานาจในการดาเนินนโยบายการเงินของ
    รัฐบาล ผ่านการใช้มาตรการทางการเงินเพื่อควบคุมปริมาณเงินและเครดิต
   มาตรการทางการเงิน โดยทัวไปมี 3 มาตรการหลัก ได้แก่ การควบคุม
                                  ่
    ทางด้านปริมาณหรือการควบคุมทั่วไป การควบคุมทางด้านคุณภาพหรือการ
    ควบคุมเฉพาะทาง และการควบคุมโดยตรง

                                                                         19
นโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง
   นโยบายการคลัง (Fiscal policy) หมายถึง นโยบายที่เกี่ยวข้องกับ
    รายรับและรายจ่ายของรัฐบาล รวมไปถึงการกู้ยืมหรือการก่อหนี้สาธารณะ
    รัฐบาลใช้นโยบายการคลังเป็นเครื่องมือสาคัญในการบรรลุเป้าหมายของการ
    พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามที่คาดหวังไว้ อย่างไรก็ตามเป้าหมายทั่วไป
    ของนโยบายการคลังก็คือเพือรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งในการนี้รัฐ
                            ่
    สามารถดาเนินการโดยใช้มาตรการทางการคลัง
   มาตรการทางการคลัง หมายถึง มาตรการที่เกี่ยวเนื่องทางด้านรายรับและ
    รายจ่ายของรัฐบาล เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภาษีหรืออัตราภาษี
    ประเภทต่างๆ การใช้จ่ายของรัฐบาล
     นโยบายด้านรายได้ หรือนโยบายภาษีอากร
     นโยบายด้านรายจ่ายหรือนโยบายงบประมาณ
     นโยบายหนี้สาธารณะ


                                                                         20
นโยบายการคลังกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
รัฐบาลใช้นโยบายเพื่อให้เศรษฐกิจหดตัวหรือขยายตัวได้ตามต้องการ
นโยบายการคลังแบบหดตัว
ในกรณีที่เศรษฐกิจกาลังประสบกับปัญหาเงินเฟ้อ รัฐบาลจะใช้งบประมาณ
แบบเกินดุล ซึ่งหมายถึงใช้จ่ายให้น้อยกว่ารายได้ที่ได้มา
นโยบายการคลังแบบขยายตัว
ในกรณีที่รัฐบาลต้องการให้เศรษฐกิจขยายตัว รัฐบาลจะใช้งบประมาณแบบ
ขาดดุล ซึ่งหมายถึงใช้จ่ายให้มากกว่ารายได้ที่ได้มา
นโยบายการเงินกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
ธนาคารกลางจะดาเนินนโยบายการเงินแบบใด ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ทาง
เศรษฐกิจและการเงินที่เป็นอยู่
นโยบายการเงินแบบหดตัว
มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณเงินหรือป้องกันไม่ให้ปริมาณเงินเพิ่มมากขึ้น ในช่วง
ที่เศรษฐกิจอยูในภาวะเงินเฟ้อหรือถูกกดดันจากภาวะเงินเฟ้อ ธนาคารกลางอาจ
               ่
จาเป็นต้องลดปริมาณเงินลงโดยใช้มาตรการทางการเงินต่างๆ
นโยบายการเงินแบบขยายตัว
มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจในช่วงที่เศรษฐกิจอยู่
ในภาวะที่ตกต่าหรือถูกกดดันจากภาวะเงินฝืด ธนาคารกลางอาจจาเป็นต้องเพิ่ม
ปริมาณเงิน โดยใช้มาตรการทางการเงินต่างๆ                                       21
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

                    โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ

โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ (Economic Globalization) หมายถึง การ
เพิ่มขึ้นของกระบวนการเชื่อมโยงกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ที่
นาไปสู่การเกิดขึ้นของการตลาดระดับโลกหรือมีความเป็นตลาดโลก
เดียวกัน
โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ เป็นขบวนการของปรากฏการณ์ที่เกิดมาจาก
พลังที่ไม่ใช่รัฐและไม่มีองค์กร แต่สามารถสร้างแรงกดดันที่รัฐรับรู้ได้
พลังของโลกาภิวตน์ ค่อนข้างเกิดขึ้นเป็นตัวตนด้วยตัวเอง ไม่มีระเบียบ
                  ั
และไร้เป้าประสงค์ แต่ผลที่ตามมามีพลังต่อพฤติกรรมปัจเจกชน และ
ต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ

                                                                       22
โลภาภิวตน์ทางเศรษฐกิจ จะเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจของชาติเข้าสู่ระบบ
       ั
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ โดยผ่านการค้า การลงทุนโดยตรง การย้ายถิน ่
และการแพร่ขยายของเทคโนโลยี

การวัดโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ จึงพิจารณาได้จากกระแสทางเศรษฐกิจ
ที่สาคัญ 4 ด้าน ที่ระบุถึงความเป็นโลกาภิวตน์
                                         ั

1. ด้านสินค้าและบริการ คือ การส่งออกสุทธิ (การส่งออกหักการ
   นาเข้า) มีคาเป็นสัดส่วนเท่าใดในรายได้ประชาชาติรวมหรือต่อหัว
              ่

2. ด้านแรงงาน/ประชากร คือ อัตราการย้ายถินสุทธิต่อจานวนประชากร
                                        ่

3. ด้านการลงทุน คือ การลงทุนทางตรงเข้าหรือออก คิดเป็นสัดส่วน
   เท่าใดในรายได้ประชาชาติรวมหรือต่อหัว

4. ด้านเทคโนโลยี คือ กระแสการวิจัยและพัฒนาระหว่างประเทศ วัด
   จากจานวนประชากรที่ใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ต่อจานวนประชากรทั้งหมด
                                                                  23
การค้าระหว่างประเทศ

การค้าระหว่างประเทศมีประโยชน์อย่างไร ?
   ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
      ทาให้ประเทศสามารถใช้ปัจจัยการผลิตที่ประเทศมีอยู่ให้เป็นประโยชน์
       ได้อย่างเต็มที่
      ช่วยทาให้ประเทศสามารถนาเข้าสินค้าต่างๆ ที่ต้องการ
      ช่วยส่งเสริมการออมและการลงทุนภายในประเทศ
      ช่วยทาให้มีการแข่งขันกันประกอบการเพิ่มขึ้น
      ช่วยทาให้เกิดช่องทางการลงทุนในธุรกิจใหม่ ๆ
      ช่วยบรรเทาปัญหาด้านการคลังของรัฐบาล
      เป็นแหล่งเงินตราต่างประเทศ

                                                                         24
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ หมายถึง แนวทางซึ่งแต่ละประเทศจะ
ตัดสินใจดาเนินการค้าระหว่างประเทศในลักษณะใดลักษณะหนึ่งได้แก่
นโยบายการค้าเสรี และนโยบายการค้าคุ้มกัน
 นโยบายการค้าเสรี
   หมายถึง นโยบายที่ให้โอกาสกับประเทศที่ประสงค์จะค้าขายและดาเนิน
   กิจกรรมได้โดยเสรี ปราศจากการแทรกแซงโดยมาตรการอื่นใด เช่น
    ไม่มีการตั้งกาแพงภาษีขาเข้า เพื่อกีดกันสินค้าจากต่างประเทศ
    ไม่มีการกาหนดข้อจากัดทางการค้าอื่นๆ ที่จะเป็นอุปสรรคต่อการค้า
     เสรี เช่น ไม่มีโควตานาเข้า แต่อาจจะมีการกาหนดข้อจากัดทางการ
     ค้าบางประการอยู่บ้างเพื่อวัตถุประสงค์ด้านความมั่นคงปลอดภัย มิใช่
     เพื่อวัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจ

               นโยบายการเสรีมีผลดีและผลเสียอย่างไร ?

                                                                        25
 นโยบายการค้าคุ้มกัน
  หมายถึง การกาหนดข้อจากัด เพื่อมิให้สินค้าจากต่างประเทศเข้ามาขาย
  แข่งขันกับสินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศ ขณะเดียวกันก็วางมาตรการ
  สนับสนุนการส่งสินค้าออกไปขายต่างประเทศ
  ประเทศที่ใช้นโยบายการค้าคุ้มกันมักจะดาเนินมาตรการดังต่อไปนี้
     พยายามผลิตสินค้าหลายชนิดเพื่อให้ประเทศพึ่งตนเองได้เป็นส่วน
      ใหญ่ ทาให้ความจาเป็นในการนาเข้าลดลง
     คุ้มครองสินค้าภายในประเทศ โดยตั้งกาแพงภาษีขาเข้าในอัตราสูง
      ทาให้ราคาสินค้าเข้าสูงภายในประเทศ จึงมีโอกาสขายแข่งขันกับ
      สินค้าชนิดเดียวกันที่ผลิตในประเทศน้อยลง
     กาหนดข้อจากัดทางการค้าต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่าง
      ประเทศโดยเสรี

              นโยบายการคุ้มกันมีผลดีและผลเสียอย่างไร ?

                                                                    26
การลงทุนระหว่างประเทศ

คือ การทีผู้ประกอบการของประเทศหนึ่งนาเงินทุน สินทรัพย์ และเทคโนโลยี
         ่
ไปลงทุนในอีกประเทศหนึ่ง โดยผู้ถือหุ้นสามารถเข้าไปควบคุมการดาเนิน
กิจการได้ตามสัดส่วนการถือหุน โดยทั่วไป การถือหุ้นสามัญหรือหรือหุ้นที่มี
                           ้
สิทธิออกเสียงประมาณ 10-25 % มีสิทธิเข้าบังคับควบคุมธุรกิจระหว่าง
ประเทศได้

ประเภทของการลงทุนระหว่างประเทศ 2 ประเภทหลัก
การลงทุนทางตรง คือ การลงทุนโดยตรงของเอกชนที่เจ้าของเงินทุนเป็น
 ผูดาเนินกิจการ ผลตอบแทน เรียกว่า............กาไร
   ้
การลงทุนทางอ้อม คือ การลงทุนที่ผู้เป็นเจ้าของทุนไม่ได้ดาเนินการเอง
 โดยตรง เช่น การนาเงินทุนไปซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลและเอกชน
 ต่างประเทศ ผลตอบแทน เรียกว่า..........ดอกเบี้ย เงินปันผล

                                                                          27
บริษัทหรือสินค้าต่อไปนี้ เป็นของประเทศอะไรนะ ?
            ให้ใส่คาตอบเป็นหมายเลขลงในช่องประเทศ
                                           ตัวเลือก (มีคาตอบซ้าได้)
     บริษัท/สินค้า               ประเทศ
                                          1. สหรัฐอเมริกา
1.   ซัมซุง                               2. ญี่ปุ่น
2.   โนเกีย                               3. อังกฤษ
                                          4. เยอรมัน
3.   บาจา                                 5. อิตาลี
4.   เนสเลย์                              6. สวิตเซอร์แลนด์
                                          7. เดนมาร์ก
5.   ไซโจเดนกิ                            8. เกาหลี
6.   ยูโอบี (ธนาคาร)                      9. ไทย
                                          10. อินเดีย
7.   ปาเต๊ะ ฟิลลิป
                                          11. สาธารณรัฐเช็ก
8.   แคนนอน (กล้องถ่ายรูป)                12. ฟินแลนด์
9.   Hewlett Packard                      13. โปแลนด์
                                          14. สิงคโปร์
10. Etude House (เครื่องสาอาง)                                        28
การกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ

ทาไมต้องกีดกันกันทางการค้าระหว่างประเทศ
   มีการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสูงมาก
   แต่ละประเทศพยายามหาแนวทางปกป้องและคุ้มครองการผลิตใน
   ประเทศ และประโยชน์ของชาติโดยใช้วิธการกีดกันทางการค้าใน
                                     ี
   รูปแบบต่างๆ
การกีดกันทางการค้า ทาให้เกิดการขัดแย้งและเกิดกรณีพพาททางการค้าขึ้น
                                                  ิ
วิธีการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ ทาอะไรได้บ้าง?
   มาตรการทางด้านภาษี
   มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี

                                                                     29
ตัวอย่างมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี
 มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องชีวิตและ
  สุขภาพมนุษย์ สัตว์ และพืช สร้างความมั่นใจต่อความปลอดภัยด้านอาหาร
  ตัวอย่าง
  o กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ตรวจสินค้ากุ้งและไก่จากประเทศไทยอย่างเข้มงวดเพื่อ
    ตรวจสอบสารไนโตรฟูแรนส์ และสารคลอแรมฟินิคอลตกค้าง
  o ไทยมีมาตรการห้ามนาเข้าเนื้อวัวและเนื้อหมูที่มีโรคอันเป็นอันตราย
 มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม เป็นการพิจารณาถึงผลกระทบของการผลิต วัสดุที่ใช้
  ผลิต ตลอดจนกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์เหลือใช้ ที่มีผลต่อสภาพแวดล้อม
  รวมถึงการพิจารณาในเรื่องของการอนุรักษ์
  ตัวอย่าง ไทยเคยมีปัญหาส่งกุ้งทะเลไปยังอเมริกา เพราะมีข้อกาหนดให้ประเทศผู้
  ส่งออกต้องมีมาตรการอนุรักษ์เต่าทะเล เพื่อที่จะได้รับอนุญาตให้ส่งออกกุ้งทะเลได้
  จึงต้องใช้อวนลากที่มีเครื่องมือแยกเต่าทะเลออกไป
 มาตรการทางเทคนิค เป็นการกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นเงื่อนไขทาง
  เทคนิค เพื่อให้สินค้าที่นาเข้ามีความปลอดภัยแก่การบริโภค
  ตัวอย่าง
  o การติดฉลากอาหารทุกชนิดตามความต้องการของประเทศที่จะส่งออก
  o การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ทางเทคนิคเพื่อป้องกันอันตรายจากการใช้งาน
  o สินค้าไทยที่เคยถูกมาตรการนี้ เช่น ในผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
  o หลายประเทศระบุถึงข้อห้ามในการใช้เคมี สี และสารตกค้าง ทาให้ผู้ผลิตต้องเพิ่ม
    ต้นทุนการผลิตเพื่อให้ผลิตได้ตรงตามเงื่อนไข
                                                                                   30
การรวมกลุ่มระหว่างประเทศ


 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
  การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ หมายถึง การที่รัฐบาลของ ๒ ประเทศขึ้นไป
  ตกลงนาเศรษฐกิจของตนมาเชือมกันเพื่อเสริมสร้างและรักษาประโยชน์
                              ่
  ทางเศรษฐกิจ โดยยกเลิกการเก็บภาษีศุลกากรและมาตรการอื่นๆ ที่เป็น
  อุปสรรคทางการค้าให้กัน รวมทั้งอาจใช้นโยบายต่าง ๆ ร่วมกัน การ
  รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอาจจาแนกได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์
  หรือเป้าหมายของการรวมกลุ่ม และเป็นไปตามระดับความเข้มข้นของ
  ความร่วมมือในกลุ่มได้แก่ เขตการค้าเสรี สหภาพศุลกากร ตลาดร่วม
  สหภาพเศรษฐกิจ และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ์



                                                                    31
ข้อดีของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
  ส่งเสริมให้มีการค้าเพิ่มขึ้น จากการมีตลาดที่กว้างขึ้น การค้าภายในกลุ่มขยายตัว
  เพิ่มขึ้น สามารถขยายการผลิตจนเกิดการประหยัดจากการผลิตขนาดใหญ่ ซึ่งกระตุ้น
  ให้เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตที่ดีขึ้น ทาให้การใช้ทรัพยากรโดยรวมมี
  ประสิทธิภาพสูงขึ้น และทาให้สมาชิกในกลุ่มมีสวัสดิการทางเศรษฐกิจและสังคมที่ดี
  ขึ้น การไม่รวมกลุ่มอาจเสียโอกาสทางเศรษฐกิจจากการได้พึ่งพากันและการมี
  อานาจต่อรองที่เพิ่มขึ้น
ข้อเสียของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
   อาจมีการกีดการค้ากับประเทศนอกกลุ่ม
   การค้าขายเฉพาะในกลุ่มที่คล้ายคลึงกันในด้านการมีทรัพยากรการผลิต อาจทาให้
    การค้าโลกไม่เกิดประโยชน์เต็มที่ ประสิทธิภาพการผลิตของโลกจะลดน้อยลง
   สมาชิกในกลุ่มต้องดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจบางด้านร่วมกัน ภายใต้กรอบ
    ความร่วมมือหรือข้อตกลงร่วม หากกลุ่มขาดเอกภาพในการดาเนินงาน การ
    รวมกลุ่มอาจไม่ได้ผลดีตามที่คาดหวัง
   การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจเสมือนการค้าที่ไร้พรมแดน หากไม่มีการควบคุมที่
    เหมาะสม อาจเกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น การเล็ดลอดของสินค้าที่ไม่ได้
    มาตรฐาน สิ่งผิดกฎหมาย                                                         32
กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ
ตัวอย่างของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมภาคต่างๆ
                                      ิ

 สหภาพยุโรป (The European Union: EU)

 ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade

  Agreement: NAFTA)

 เขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area: AFTA)




                                                                33

More Related Content

What's hot

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ssuser214242
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
เรียนรู้ "ขยะ"
เรียนรู้ "ขยะ"เรียนรู้ "ขยะ"
เรียนรู้ "ขยะ"Boom Pink
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 

What's hot (20)

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
เรียนรู้ "ขยะ"
เรียนรู้ "ขยะ"เรียนรู้ "ขยะ"
เรียนรู้ "ขยะ"
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 

Viewers also liked

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Apple Natthakan
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4songyangwtps
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5songyangwtps
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจPonpirun Homsuwan
 
มหภาค1
มหภาค1มหภาค1
มหภาค1jimkongkaew
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptapple_clubx
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (19)

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
 
มหภาค1
มหภาค1มหภาค1
มหภาค1
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Similar to Economy ppt-05

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702Tanapon_V
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Docmaovkh
 
9789740335337
97897403353379789740335337
9789740335337CUPress
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกVilaiwun Bunya
 
Tax 63
Tax 63Tax 63
Tax 63gg ll
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศtumetr1
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นImage plus Communication
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 

Similar to Economy ppt-05 (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Doc
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
9789740335337
97897403353379789740335337
9789740335337
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลก
 
Tax 63
Tax 63Tax 63
Tax 63
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 

Economy ppt-05

  • 1. ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์มหภาค ประเด็นทางเศรษฐกิจมหภาคบางเรื่อง  รายได้ของประเทศ: รายได้ประชาชาติ  ปัญหาเศรษฐกิจ: เงินเฟ้อ เงินฝืด  นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง  เศรษฐกิจระหว่างประเทศ 1
  • 2. รายได้ประชาชาติ (National Income)  เป้าหมายหนึ่งที่สาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ คือ การ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพราะเป็นสิ่งที่บอกถึงศักยภาพใน การ ผลิตหรือการสร้างรายได้ของประเทศในรอบเวลาหนึ่ง ซึ่งโดยปกติ วัดในรอบ 1 ปี  การวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศ มีตวชี้วัดหลักคือ ั ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (gross domestic product: GDP)  การวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ตัวชีวัดหลักคือ ้ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (gross national product: GNP)  การคานวณหาตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ทาได้ 3 ทาง คือ ด้านผลผลิต ด้านรายได้ และด้านรายจ่าย 2
  • 3. หลักการพื้นฐานของการวัดรายได้ประชาชาติ มาจากกระแสการหมุนเวียนของการใช้จ่ายและผลผลิต คือในรอบ 1 ปี มูลค่าผลผลิตที่ประเทศผลิตได้จากการผลิตในสาขาต่างๆ เช่น เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว การศึกษา ฯลฯ เมื่อรวมกัน ย่อมเท่ากับมูลค่าของรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการที่เกิดขึ้นใน รอบระยะเวลานั้นของภาคเศรษฐกิจต่างๆ คือ ภาคครัวเรือน ภาค ธุรกิจ ภาครัฐบาล และภาคต่างประเทศ ขณะเดียวกันรายได้ที่เกิดขึน ้ จากการผลิต ก็จะมีการกระจายออกไปให้กับเจ้าของปัจจัยการผลิตที่ มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิต ในรูปค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี้ย และกาไร 3
  • 4. กระแสการหมุนเวียนของการใช้จ่ายและผลผลิต รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ (National Expenditure) ตลาดผลผลิต สินค้าและบริการ (National Product) ภาคธุรกิจ ภาคครัวเรือน ที่ดิน แรงงาน ทุน และผู้ประกอบการ ตลาดปัจจัยการผลิต ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกาไร (National Income) 4
  • 5. ความหมายของรายได้ประชาชาติ ผลรวมของรายได้ประเภทต่างๆ ที่บุคคลต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจได้รับ ใน ฐานะเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตหรือมีส่วนร่วมในการผลิต ในรอบระยะเวลา ใดเวลาหนึ่ง โดยปกติมักคิดในรอบ 1 ปี ตัวเลขรายได้ประชาชาติที่ใช้เป็นตัวชี้วดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ั ที่สาคัญ o ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น (GDP) o ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเบื้องต้น (GNP) o รายได้ต่อคน คือ GDP ต่อคน และ GNP ต่อคน 5
  • 6. ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประเทศผลิตได้ภายใน อาณาเขตทางการเมืองเป็นหลัก GDP = C+I+G+(X–M) ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประเทศผลิตได้โดยใช้ ทรัพยากรของประเทศเป็นหลัก GNP = GDP + (รายได้สุทธิจากต่างประเทศ) รายได้สุทธิจากต่างประเทศ = รายได้ที่ได้รับจากการนาทรัพยากร ของประเทศเราไปทามาหากินที่อื่นๆในโลก – รายได้ที่เสียไปจาก การนาทรัพยากรของประเทศอื่นๆ มาทามาหากินในประเทศเรา 6
  • 7. รายได้เฉลี่ยต่อคน (Income per capita)  ใช้เปรียบเทียบรายได้ต่อของแต่ละประเทศ เนื่องจากแต่ละ ประเทศมีจานวนประชากรไม่เท่ากัน  ใช้เพื่อแสดงความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ GDP ต่อคน = GDP  จานวนประชากร GNP ต่อคน = GNP  จานวนประชากร ในการนาตัวเลขรายได้ประชาชาติมาเปรียบเทียบปีต่อปี ต้องปรับ รายได้ของทุกปีตามภาวะเงินเฟ้อของระบบเศรษฐกิจออกก่อน เรียก รายได้ประชาชาติที่ปรับค่าของเงินเฟ้อออกแล้วว่า รายได้ประชาชาติ ที่แท้จริง 7
  • 8. ความสาคัญและประโยชน์ของรายได้ประชาชาติ ทาให้ทราบถึงความสามารถในการผลิตของแต่ละสาขาการผลิต ทาให้ทราบถึงโครงสร้างการใช้จ่ายของภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ ภาครัฐบาล และภาคต่างประเทศ ทาให้ทราบถึงระบบโครงสร้างรายได้จากการเป็นเจ้าของปัจจัย การผลิต ต่างๆ เช่น แรงงาน ที่ดิน ทุน และผู้ประกอบการ ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เช่น การกาหนดเป้าหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การค้า ต่างประเทศ ใช้เปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจในระยะเวลาเดียวกันของ ประเทศต่างๆ และระยะเวลาต่างกันของประเทศเดียวกัน 8
  • 9. ปัญหาเศรษฐกิจ: เงินเฟ้อ เงินฝืด เงินเฟ้อ (inflation) ความหมายของเงินเฟ้อ ภาวะทีระดับราคาสินค้าทัวไป ่ ่  ความหมาย สูงขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง  ระดับของการเกิดเงินเฟ้อ  ภาวะเงินเฟ้ออย่างอ่อน โดยทั่วไปไม่ควรเกินร้อยละ ๕ ต่อปี  ภาวะเงินเฟ้อปานกลาง ประมาณร้อยละ ๕-๑๐ เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ  ภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง อัตราเงินเฟ้อสูงมาก เช่น มากกว่าร้อยละ ๒๐ ซึ่งจะเกิดผลเสียที่รุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจ
  • 10. ? เวลาดูว่าเกิดเงินเฟ้อขึ้นกี่เปอร์เซนต์ จะดูจากตัวชี้วัดใด การวัดอัตราเงินเฟ้อวัดจาก ดัชนีราคา (price index) เช่น o ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index: CPI) o ดัชนีราคาขายส่ง (Wholesale Price Index: WPI) Pt  ( Pt  1) ดัชนีราคา  100 Pt 1 ดัชนีราคาวัดจาก ราคาในปีนี้ ลบด้วย ราคาในปีที่แล้ว เทียบกับราคา ในปีที่แล้ว คูณ 100 เพื่อหาเป็น % การเปลี่ยนแปลงของราคา 10
  • 11. ถ้าต้องการตัวเลขอัตราเงินเฟ้อ ค้นหาข้อมูลได้จาก สานักงานดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ http://www.price.moc.go.th ดัชนีราคาผู้บริโภค: เทียบกับเดือนเดียวกันในปีก่อนหน้า กราฟนี้เป็นการบอกว่าดัชนีราคาแต่ละเดือน มีค่าเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วเท่าใด เช่น มีนาคม 2554 มีดัชนีราคาผู้บริโภคสูงขึ้นจากเดือนมีนาคม 2553 ร้อยละ 3.1 11
  • 12. มีประเทศใดบ้างที่เคยประสบปัญหาเงินเฟ้ออย่างรุนแรงจนค่า ของเงินหมดความหมาย ประเทศละตินอเมริกา มีปัญหาเงินเฟ้อบ่อยๆ บางทีสินค้าขึ้นราคาทุกวันรวม แล้วปีละเป็นพันเปอร์เซ็นต์ เช่น ในอาร์เจนตินาและบราซิล เมื่อประมาณ 20 ปีที่แล้ว บราซิลเป็นผู้นาเรื่องเงินเฟ้อ เพราะในช่วงเวลานั้นสินค้าขึ้นราคาถึง ปีละประมาณ 168% ประเทศไทยไม่มีอาการนี้ เพราะอัตราเงินเฟ้อใน เมืองไทยในระยะเวลาเดียวกันเฉลี่ยแล้วเพียงปีละประมาณ 4% ไทยไม่เคย ใช้วิธีพิมพ์ธนบัตรออกมา เพื่อปิดงบประมาณดังที่กระทากันแพร่หลายใน ละตินอเมริกาไทยจึงไม่เคยประสบปัญหาเงินเฟ้อเหมือนเขา 12
  • 13. สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ  สาเหตุทางด้านอุปสงค์ เกิดจากการที่อุปสงค์หรือความต้องการซื้อสินค้า และบริการโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น เกินกว่าที่อุปทานหรือการผลิตสินค้าและ บริการจะตอบสนองได้ทัน ทาให้ราคาสินค้าและบริการโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น ทาไมคนในประเทศจึงมีอุปสงค์ต่อสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึน ? ้  ประเทศมีดุลการชาระเงินเกินดุล (เช่น เกิดจากส่งออกได้มาก การที่ ต่างประเทศเข้ามาลงทุน ทาให้มีเงินตราจากต่างประเทศเข้ามามาก)  ประชาชนได้เงินมาได้ง่าย เช่น จากการขายทรัพย์สิน การเก็งกาไร  สาเหตุทางด้านอุปทาน เกิดจากการที่ผผลิตมีต้นทุนการผลิตสูงขึ้น มี ู้ สินค้าและบริการในตลาดจาหน่ายน้อยลง ทาให้ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นมาจากอะไรได้บ้าง?  ค่าจ้างแรงงานเพิ่มสูงขึ้น  ผูผลิต/ผู้ขาย บวกเพิ่มกาไรในราคาขายมากขึ้น ้  ต้นทุนด้านอื่นๆ สูงขึ้น เงินเฟ้ออาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากอุปสงค์และอุปทานร่วมกัน เช่น เกิดเงินเฟ้อทางด้าน อุปสงค์ขึ้นก่อน แล้วทาให้แรงงานมีค่าครองชีพที่สูงขึ้น จึงเรียกร้องขอค่าจ้าง แรงงานเพิ่มขึ้น ทาให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นอีก ราคาสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นอีก ทาให้เงินเฟ้อมีอัตราสูงขึ้น จนอาจจะกลายเป็นภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง 13
  • 14. ผลกระทบของการเกิดเงินเฟ้อ คนอยากถือเงิน ◦ ผลที่มต่อความต้องการถือเงิน ี หรือไม่ ทาไม ? ◦ ผลต่อการกระจายรายได้ ◦ ผลกระทบต่อรัฐบาล ใครบ้างที่ได้เปรียบจากการ เกิดเงินเฟ้อ ใครบ้างที่เสียเปรียบจากการ กระทบรายรับ เกิดเงินเฟ้อ รัฐบาลอย่างไร กระทบรายจ่าย รัฐบาลอย่างไร 14
  • 15. ผลกระทบของการเกิดเงินเฟ้อ  ผลต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภาวะเงินเฟ้อที่มีระดับสูง อาจเกิดความปันป่วนทางเศรษฐกิจ ่ ผลทางด้านสังคม เมื่อเกิดเงินเฟ้อทาให้ประชาชนมีค่าครอง ชีพสูงขึ้น เกิดความเดือดร้อน อาจเกิดกระแสการต่อต้านรัฐบาล มีการนัดหยุดงาน และอาจทาให้เกิดปัญหาอาชญากรรมตามมา  ผลต่อดุลการค้าของประเทศ ราคาสินค้าในประเทศเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสินค้าจากต่างประเทศ อาจ ทาให้มูลค่าการนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น ในขณะที่มูลค่าการ ส่งออกของประเทศลดลง ประเทศมีแนวโน้มที่จะขาดดุลการค้า 15
  • 16. แนวทางแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ oเงินเฟ้อทางด้านอุปสงค์ แก้ไขโดย o ใช้นโยบายการคลัง รัฐบาลลดค่าใช้จ่ายลงหรือเก็บภาษีอากรเพิ่มขึ้น o ใช้นโยบายการเงิน โดยลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลง เพื่อให้ การใช้จ่ายในการบริโภคและการลงทุนลดลง oเงินเฟ้อทางด้านอุปทาน แก้ไขตามสาเหตุที่เกิดเงินเฟ้อ o หากเกิดจากวิกฤติการณ์ทางพลังงาน รัฐบาลต้องใช้นโยบายประหยัด และใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ o หากเกิดจากการกักตุนสินค้า รัฐบาลต้องใช้นโยบายห้ามกักตุนสินค้า และนโยบายควบคุมราคาสินค้าโดยตรง 16
  • 17. เงินฝืด (deflation) ความหมายของเงินฝืด เงินฝืด เป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปมีแนวโน้มลดลง เรื่อยๆ เป็นผลจากการที่ประชาชนและรัฐบาลมีอานาจซื้อสินค้าและบริการ น้อยกว่าจานวนสินค้าและบริการที่ถูกผลิตขึ้นในระบบเศรษฐกิจขณะนั้น หรือระบบเศรษฐกิจมีอุปทานรวมมากกว่าอุปสงค์รวม ทาให้เศรษฐกิจซบ เซา หน่วยธุรกิจจะลดการผลิต ลดการลงทุน เกิดการว่างงาน ซึ่งกระทบ ต่อมาตรฐานความเป็นอยู่ของคนส่วนใหญ่ในระบบเศรษฐกิจ 17
  • 18. ผลกระทบของเงินฝืด  ผลกระทบของภาวะเงินฝืดต่อระบบเศรษฐกิจ โดยทั่วไปเป็นไปใน ทางตรงข้ามกับภาวะเงินเฟ้อ  เงินฝืดมีผลให้เงินมีอานาจซื้อมากขึ้น แต่เกิดขึ้นในช่วงภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย  ผู้ได้ประโยชน์จากภาวะเงินฝืด ได้แก่ เจ้าหนี้ และผู้ที่มีรายได้ประจา  ผู้เสียประโยชน์จากภาวะเงินฝืด คือ ผู้มีรายได้ไม่แน่นอน เช่น ผู้ที่มี รายได้จากกาไรและลูกหนี้ การแก้ไขภาวะเงินฝืด รัฐบาลใช้นโยบายการคลัง โดยเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลมากขึ้น หรือลดการ จัดเก็บภาษีลง ซึ่งจะทาให้อุปสงค์รวมเพิ่มสูงขึ้น เศรษฐกิจก็จะขยายตัว การใช้นโยบายการเงิน โดยธนาคารกลางเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปในระบบ เศรษฐกิจ เพื่อให้การใช้จ่ายและการลงทุนของเอกชนเพิ่มสูงขึ้น ทาให้ รายได้และเศรษฐกิจขยายตัว 18
  • 19. นโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง  นโยบายการเงิน (Monetary policy) หมายถึงความพยายามโดยจงใจ ของธนาคารกลาง ในการที่จะควบคุมสถานการณ์ทางด้านปริมาณเงินและ สินเชื่อ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจบางประการ  เป้าหมายสาคัญของนโยบายการเงิน คือ การรักษาเสถียรภาพของระดับ ราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไป ซึ่งเกิดขึ้นได้เมื่อ ปริมาณเงินในระบบ เศรษฐกิจขยายตัวในอัตราที่ใกล้เคียงกับความต้องการใช้เงินของระบบ เศรษฐกิจ  รัฐบาลใช้นโยบายการเงินเพื่อควบคุมปริมาณเงินและเครดิตเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายเศรษฐกิจหรือแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ โดยมีธนาคารกลาง หรือ ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นผู้มีอานาจในการดาเนินนโยบายการเงินของ รัฐบาล ผ่านการใช้มาตรการทางการเงินเพื่อควบคุมปริมาณเงินและเครดิต  มาตรการทางการเงิน โดยทัวไปมี 3 มาตรการหลัก ได้แก่ การควบคุม ่ ทางด้านปริมาณหรือการควบคุมทั่วไป การควบคุมทางด้านคุณภาพหรือการ ควบคุมเฉพาะทาง และการควบคุมโดยตรง 19
  • 20. นโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง  นโยบายการคลัง (Fiscal policy) หมายถึง นโยบายที่เกี่ยวข้องกับ รายรับและรายจ่ายของรัฐบาล รวมไปถึงการกู้ยืมหรือการก่อหนี้สาธารณะ รัฐบาลใช้นโยบายการคลังเป็นเครื่องมือสาคัญในการบรรลุเป้าหมายของการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามที่คาดหวังไว้ อย่างไรก็ตามเป้าหมายทั่วไป ของนโยบายการคลังก็คือเพือรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งในการนี้รัฐ ่ สามารถดาเนินการโดยใช้มาตรการทางการคลัง  มาตรการทางการคลัง หมายถึง มาตรการที่เกี่ยวเนื่องทางด้านรายรับและ รายจ่ายของรัฐบาล เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภาษีหรืออัตราภาษี ประเภทต่างๆ การใช้จ่ายของรัฐบาล  นโยบายด้านรายได้ หรือนโยบายภาษีอากร  นโยบายด้านรายจ่ายหรือนโยบายงบประมาณ  นโยบายหนี้สาธารณะ 20
  • 21. นโยบายการคลังกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ รัฐบาลใช้นโยบายเพื่อให้เศรษฐกิจหดตัวหรือขยายตัวได้ตามต้องการ นโยบายการคลังแบบหดตัว ในกรณีที่เศรษฐกิจกาลังประสบกับปัญหาเงินเฟ้อ รัฐบาลจะใช้งบประมาณ แบบเกินดุล ซึ่งหมายถึงใช้จ่ายให้น้อยกว่ารายได้ที่ได้มา นโยบายการคลังแบบขยายตัว ในกรณีที่รัฐบาลต้องการให้เศรษฐกิจขยายตัว รัฐบาลจะใช้งบประมาณแบบ ขาดดุล ซึ่งหมายถึงใช้จ่ายให้มากกว่ารายได้ที่ได้มา นโยบายการเงินกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ธนาคารกลางจะดาเนินนโยบายการเงินแบบใด ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ทาง เศรษฐกิจและการเงินที่เป็นอยู่ นโยบายการเงินแบบหดตัว มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณเงินหรือป้องกันไม่ให้ปริมาณเงินเพิ่มมากขึ้น ในช่วง ที่เศรษฐกิจอยูในภาวะเงินเฟ้อหรือถูกกดดันจากภาวะเงินเฟ้อ ธนาคารกลางอาจ ่ จาเป็นต้องลดปริมาณเงินลงโดยใช้มาตรการทางการเงินต่างๆ นโยบายการเงินแบบขยายตัว มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจในช่วงที่เศรษฐกิจอยู่ ในภาวะที่ตกต่าหรือถูกกดดันจากภาวะเงินฝืด ธนาคารกลางอาจจาเป็นต้องเพิ่ม ปริมาณเงิน โดยใช้มาตรการทางการเงินต่างๆ 21
  • 22. เศรษฐกิจระหว่างประเทศ โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ (Economic Globalization) หมายถึง การ เพิ่มขึ้นของกระบวนการเชื่อมโยงกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ที่ นาไปสู่การเกิดขึ้นของการตลาดระดับโลกหรือมีความเป็นตลาดโลก เดียวกัน โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ เป็นขบวนการของปรากฏการณ์ที่เกิดมาจาก พลังที่ไม่ใช่รัฐและไม่มีองค์กร แต่สามารถสร้างแรงกดดันที่รัฐรับรู้ได้ พลังของโลกาภิวตน์ ค่อนข้างเกิดขึ้นเป็นตัวตนด้วยตัวเอง ไม่มีระเบียบ ั และไร้เป้าประสงค์ แต่ผลที่ตามมามีพลังต่อพฤติกรรมปัจเจกชน และ ต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ 22
  • 23. โลภาภิวตน์ทางเศรษฐกิจ จะเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจของชาติเข้าสู่ระบบ ั เศรษฐกิจระหว่างประเทศ โดยผ่านการค้า การลงทุนโดยตรง การย้ายถิน ่ และการแพร่ขยายของเทคโนโลยี การวัดโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ จึงพิจารณาได้จากกระแสทางเศรษฐกิจ ที่สาคัญ 4 ด้าน ที่ระบุถึงความเป็นโลกาภิวตน์ ั 1. ด้านสินค้าและบริการ คือ การส่งออกสุทธิ (การส่งออกหักการ นาเข้า) มีคาเป็นสัดส่วนเท่าใดในรายได้ประชาชาติรวมหรือต่อหัว ่ 2. ด้านแรงงาน/ประชากร คือ อัตราการย้ายถินสุทธิต่อจานวนประชากร ่ 3. ด้านการลงทุน คือ การลงทุนทางตรงเข้าหรือออก คิดเป็นสัดส่วน เท่าใดในรายได้ประชาชาติรวมหรือต่อหัว 4. ด้านเทคโนโลยี คือ กระแสการวิจัยและพัฒนาระหว่างประเทศ วัด จากจานวนประชากรที่ใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ต่อจานวนประชากรทั้งหมด 23
  • 24. การค้าระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศมีประโยชน์อย่างไร ? ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ  ทาให้ประเทศสามารถใช้ปัจจัยการผลิตที่ประเทศมีอยู่ให้เป็นประโยชน์ ได้อย่างเต็มที่  ช่วยทาให้ประเทศสามารถนาเข้าสินค้าต่างๆ ที่ต้องการ  ช่วยส่งเสริมการออมและการลงทุนภายในประเทศ  ช่วยทาให้มีการแข่งขันกันประกอบการเพิ่มขึ้น  ช่วยทาให้เกิดช่องทางการลงทุนในธุรกิจใหม่ ๆ  ช่วยบรรเทาปัญหาด้านการคลังของรัฐบาล  เป็นแหล่งเงินตราต่างประเทศ 24
  • 25. นโยบายการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการค้าระหว่างประเทศ หมายถึง แนวทางซึ่งแต่ละประเทศจะ ตัดสินใจดาเนินการค้าระหว่างประเทศในลักษณะใดลักษณะหนึ่งได้แก่ นโยบายการค้าเสรี และนโยบายการค้าคุ้มกัน  นโยบายการค้าเสรี หมายถึง นโยบายที่ให้โอกาสกับประเทศที่ประสงค์จะค้าขายและดาเนิน กิจกรรมได้โดยเสรี ปราศจากการแทรกแซงโดยมาตรการอื่นใด เช่น  ไม่มีการตั้งกาแพงภาษีขาเข้า เพื่อกีดกันสินค้าจากต่างประเทศ  ไม่มีการกาหนดข้อจากัดทางการค้าอื่นๆ ที่จะเป็นอุปสรรคต่อการค้า เสรี เช่น ไม่มีโควตานาเข้า แต่อาจจะมีการกาหนดข้อจากัดทางการ ค้าบางประการอยู่บ้างเพื่อวัตถุประสงค์ด้านความมั่นคงปลอดภัย มิใช่ เพื่อวัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจ นโยบายการเสรีมีผลดีและผลเสียอย่างไร ? 25
  • 26.  นโยบายการค้าคุ้มกัน หมายถึง การกาหนดข้อจากัด เพื่อมิให้สินค้าจากต่างประเทศเข้ามาขาย แข่งขันกับสินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศ ขณะเดียวกันก็วางมาตรการ สนับสนุนการส่งสินค้าออกไปขายต่างประเทศ ประเทศที่ใช้นโยบายการค้าคุ้มกันมักจะดาเนินมาตรการดังต่อไปนี้  พยายามผลิตสินค้าหลายชนิดเพื่อให้ประเทศพึ่งตนเองได้เป็นส่วน ใหญ่ ทาให้ความจาเป็นในการนาเข้าลดลง  คุ้มครองสินค้าภายในประเทศ โดยตั้งกาแพงภาษีขาเข้าในอัตราสูง ทาให้ราคาสินค้าเข้าสูงภายในประเทศ จึงมีโอกาสขายแข่งขันกับ สินค้าชนิดเดียวกันที่ผลิตในประเทศน้อยลง  กาหนดข้อจากัดทางการค้าต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่าง ประเทศโดยเสรี นโยบายการคุ้มกันมีผลดีและผลเสียอย่างไร ? 26
  • 27. การลงทุนระหว่างประเทศ คือ การทีผู้ประกอบการของประเทศหนึ่งนาเงินทุน สินทรัพย์ และเทคโนโลยี ่ ไปลงทุนในอีกประเทศหนึ่ง โดยผู้ถือหุ้นสามารถเข้าไปควบคุมการดาเนิน กิจการได้ตามสัดส่วนการถือหุน โดยทั่วไป การถือหุ้นสามัญหรือหรือหุ้นที่มี ้ สิทธิออกเสียงประมาณ 10-25 % มีสิทธิเข้าบังคับควบคุมธุรกิจระหว่าง ประเทศได้ ประเภทของการลงทุนระหว่างประเทศ 2 ประเภทหลัก การลงทุนทางตรง คือ การลงทุนโดยตรงของเอกชนที่เจ้าของเงินทุนเป็น ผูดาเนินกิจการ ผลตอบแทน เรียกว่า............กาไร ้ การลงทุนทางอ้อม คือ การลงทุนที่ผู้เป็นเจ้าของทุนไม่ได้ดาเนินการเอง โดยตรง เช่น การนาเงินทุนไปซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลและเอกชน ต่างประเทศ ผลตอบแทน เรียกว่า..........ดอกเบี้ย เงินปันผล 27
  • 28. บริษัทหรือสินค้าต่อไปนี้ เป็นของประเทศอะไรนะ ? ให้ใส่คาตอบเป็นหมายเลขลงในช่องประเทศ ตัวเลือก (มีคาตอบซ้าได้) บริษัท/สินค้า ประเทศ 1. สหรัฐอเมริกา 1. ซัมซุง 2. ญี่ปุ่น 2. โนเกีย 3. อังกฤษ 4. เยอรมัน 3. บาจา 5. อิตาลี 4. เนสเลย์ 6. สวิตเซอร์แลนด์ 7. เดนมาร์ก 5. ไซโจเดนกิ 8. เกาหลี 6. ยูโอบี (ธนาคาร) 9. ไทย 10. อินเดีย 7. ปาเต๊ะ ฟิลลิป 11. สาธารณรัฐเช็ก 8. แคนนอน (กล้องถ่ายรูป) 12. ฟินแลนด์ 9. Hewlett Packard 13. โปแลนด์ 14. สิงคโปร์ 10. Etude House (เครื่องสาอาง) 28
  • 29. การกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ ทาไมต้องกีดกันกันทางการค้าระหว่างประเทศ มีการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสูงมาก แต่ละประเทศพยายามหาแนวทางปกป้องและคุ้มครองการผลิตใน ประเทศ และประโยชน์ของชาติโดยใช้วิธการกีดกันทางการค้าใน ี รูปแบบต่างๆ การกีดกันทางการค้า ทาให้เกิดการขัดแย้งและเกิดกรณีพพาททางการค้าขึ้น ิ วิธีการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ ทาอะไรได้บ้าง? มาตรการทางด้านภาษี มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี 29
  • 30. ตัวอย่างมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี  มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องชีวิตและ สุขภาพมนุษย์ สัตว์ และพืช สร้างความมั่นใจต่อความปลอดภัยด้านอาหาร ตัวอย่าง o กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ตรวจสินค้ากุ้งและไก่จากประเทศไทยอย่างเข้มงวดเพื่อ ตรวจสอบสารไนโตรฟูแรนส์ และสารคลอแรมฟินิคอลตกค้าง o ไทยมีมาตรการห้ามนาเข้าเนื้อวัวและเนื้อหมูที่มีโรคอันเป็นอันตราย  มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม เป็นการพิจารณาถึงผลกระทบของการผลิต วัสดุที่ใช้ ผลิต ตลอดจนกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์เหลือใช้ ที่มีผลต่อสภาพแวดล้อม รวมถึงการพิจารณาในเรื่องของการอนุรักษ์ ตัวอย่าง ไทยเคยมีปัญหาส่งกุ้งทะเลไปยังอเมริกา เพราะมีข้อกาหนดให้ประเทศผู้ ส่งออกต้องมีมาตรการอนุรักษ์เต่าทะเล เพื่อที่จะได้รับอนุญาตให้ส่งออกกุ้งทะเลได้ จึงต้องใช้อวนลากที่มีเครื่องมือแยกเต่าทะเลออกไป  มาตรการทางเทคนิค เป็นการกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นเงื่อนไขทาง เทคนิค เพื่อให้สินค้าที่นาเข้ามีความปลอดภัยแก่การบริโภค ตัวอย่าง o การติดฉลากอาหารทุกชนิดตามความต้องการของประเทศที่จะส่งออก o การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ทางเทคนิคเพื่อป้องกันอันตรายจากการใช้งาน o สินค้าไทยที่เคยถูกมาตรการนี้ เช่น ในผลิตภัณฑ์สิ่งทอ o หลายประเทศระบุถึงข้อห้ามในการใช้เคมี สี และสารตกค้าง ทาให้ผู้ผลิตต้องเพิ่ม ต้นทุนการผลิตเพื่อให้ผลิตได้ตรงตามเงื่อนไข 30
  • 31. การรวมกลุ่มระหว่างประเทศ  การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ หมายถึง การที่รัฐบาลของ ๒ ประเทศขึ้นไป ตกลงนาเศรษฐกิจของตนมาเชือมกันเพื่อเสริมสร้างและรักษาประโยชน์ ่ ทางเศรษฐกิจ โดยยกเลิกการเก็บภาษีศุลกากรและมาตรการอื่นๆ ที่เป็น อุปสรรคทางการค้าให้กัน รวมทั้งอาจใช้นโยบายต่าง ๆ ร่วมกัน การ รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอาจจาแนกได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของการรวมกลุ่ม และเป็นไปตามระดับความเข้มข้นของ ความร่วมมือในกลุ่มได้แก่ เขตการค้าเสรี สหภาพศุลกากร ตลาดร่วม สหภาพเศรษฐกิจ และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ์ 31
  • 32. ข้อดีของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้มีการค้าเพิ่มขึ้น จากการมีตลาดที่กว้างขึ้น การค้าภายในกลุ่มขยายตัว เพิ่มขึ้น สามารถขยายการผลิตจนเกิดการประหยัดจากการผลิตขนาดใหญ่ ซึ่งกระตุ้น ให้เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตที่ดีขึ้น ทาให้การใช้ทรัพยากรโดยรวมมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น และทาให้สมาชิกในกลุ่มมีสวัสดิการทางเศรษฐกิจและสังคมที่ดี ขึ้น การไม่รวมกลุ่มอาจเสียโอกาสทางเศรษฐกิจจากการได้พึ่งพากันและการมี อานาจต่อรองที่เพิ่มขึ้น ข้อเสียของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ  อาจมีการกีดการค้ากับประเทศนอกกลุ่ม  การค้าขายเฉพาะในกลุ่มที่คล้ายคลึงกันในด้านการมีทรัพยากรการผลิต อาจทาให้ การค้าโลกไม่เกิดประโยชน์เต็มที่ ประสิทธิภาพการผลิตของโลกจะลดน้อยลง  สมาชิกในกลุ่มต้องดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจบางด้านร่วมกัน ภายใต้กรอบ ความร่วมมือหรือข้อตกลงร่วม หากกลุ่มขาดเอกภาพในการดาเนินงาน การ รวมกลุ่มอาจไม่ได้ผลดีตามที่คาดหวัง  การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจเสมือนการค้าที่ไร้พรมแดน หากไม่มีการควบคุมที่ เหมาะสม อาจเกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น การเล็ดลอดของสินค้าที่ไม่ได้ มาตรฐาน สิ่งผิดกฎหมาย 32
  • 33. กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ตัวอย่างของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมภาคต่างๆ ิ  สหภาพยุโรป (The European Union: EU)  ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement: NAFTA)  เขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area: AFTA) 33