SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
การบรรยายพิเศษในหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
                                     โดย ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                   รายวิชาทฤษฏีความรูโลกาภิวัตนและภูมิปญญาทองถิ่น
                         วันที่ 17 มิถุนายน 2549 เวลา 09.00-16.00 น.
  หัวขอเรื่อง บริบทในดานตางๆ เชน เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และวิทยาศาสตรที่
                    เกี่ยวของกับสถานะของความรูและการพัฒนาภูมิภาค
                                                        
                            **********************************************
1. ความเปนมาของโลกาภิวัตน (Globalization)
1.1 ความหมายของโลกาภิวัตน
โลกาภิวัตน (Globalization) หมายถึงปรากฏการณของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจ
และวัฒนธรรม ซึ่งนําพาโดยการขยายของสิ่งอํานวยความสะดวกดานการขนสงและการสื่อสาร และการพึ่งพา
ระหวางกันระหวางวัฒนธรรมที่โดยปกติแลวคอนขางหางไกลกัน      การเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของการคาระหวาง
ประเทศและการเงินไดเปนเครืองมือใหมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไดลึกซึ้งมากขึ้น สงผลใหมีการเพิ่มผลกระทบ
                           ่
ของประเด็นระดับโลกไปยังระดับทองถิ่น

นอกจากนี้องคกรระหวางประเทศก็ไดใหนิยามของโลกาภิวัตน ไวดังนี้
   • กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ไดใหความหมายวาโลกาภิวัตน
      คือ การขยายตัวของการพึ่งพาทางเศรษฐกิจของประเทศตางๆ ทั่วโลกโดยการการเพิ่มขึ้นของปริมาณและ
      ความหลากหลายของธุรกรรมขามพรมแดนที่เปนสินคา และบริการ การเคลื่อนยายทุนระหวางประเทศที่
      รวดเสรีมากขึ้น และการกระจายตัวอยางกวางขวางและรวดเร็วของเทคโนโลยี
   • ธนาคารโลก (World Bank) ไดใหความหมายวาโลกาภิวัตน คือ เสรีภาพและความสามารถของบุคคล
      ตางๆและบริษัทตาง ในการริเริ่มประกอบธุรกิจแบบสมัครใจกับประชาชนผูอยูอาศัยในประเทศอื่นๆ

ประเด็นของการเรียกชื่อของผูนิยมโลกาภิวัตน (Globalism) มีคอนขางหลากหลายแนวคิด ซึ่งไดมีการเนนย้ําภาพ
มุมมองระดับโลก โดยในมุมองของนักกิจกรรม ทั้งโลกาภิวัตน และผูนิยมโลกาภิวัตนมีความหมายคูกัน ขึ้นอยูกับ
การใช หรืออยางใดอยางหนึ่ง คือ
    • อางถึงภาพดานบวกและปรัชญาระดับโลกที่นําไปสูความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยน
        ระหวางวัฒนธรรม และการนับถือวัฒนธรรมทองถิ่น
    • ในทํานองเดียวกันอาจเกี่ยวกับนโยบายการขยายเศรษฐกิจของประเทศหรืออาณานิคมทางวัฒนธรรม ซึ่ง
        จะคุกคามตอวัฒนธรรมทองถิ่น โดยแงมุมของการเสรีของการพึ่งพาทั่วโลกจะถูกชี้นํา ควบคุม จํากัด หรือ
        ในอีกทางหนึ่งคือการกําหนดรูปราง โดยถูกขับเคลื่อนโดยความสนใจของการทํากําไรของบริษัทขามชาติ


ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                1 of 19
สําหรับแงมุมเฉพาะดานเศรษฐกิจ สวนมากมักจะอางถึงผลกระทบจากการคาโดยเฉพาะการเปดเสรีทางการคา
(หรือในทางที่กําลังถกเถียงคือ “การคาเสรี”) หากมองอยางรวมๆ โลกาภิวัตน อางถึงการบูรณาการทั้งหมดและ
สงผลใหมีการเพิ่มขึ้นของการพึ่งพาระหวางผูเ ลนในเวทีโลก เชน ทางดานการเมือง ทางดานเศรษฐกิจ หรือ อื่นๆ

1.2 ความเปนมา
การผอนคลายกฎระเบียบ (Liberalization) หมายถึงการผสมผสานกันของทฤษฏีทางเศรษฐศาสตรแบบเสรีกับ
การลดอุปสรรคสําหรับการเคลื่อนยายของสินคา ซึ่งนําไปสูความเชี่ยวชาญของแตละประเทศในการสงออก และ
เปนตัวกดดันเพื่อใหยกเลิกการปกปองทางภาษีและอุปสรรคอื่นๆ ทางการคา ระยะเวลาของมาตรฐานทองคําและ
การผอนคลายกฎระเบียบในชวงคริสศตวรรษที่ 19 มักเรียกวา “ชวงแรกของโลกาภิวัตน” จากชวงการขยายอาณา
นิคมทางเรือของอังกฤษและการแลกเปลี่ยนของสินคาที่ผูกกับเงินตราสกุลตางๆ ชวงนี้มีการขยายตัวพรอมกับการ
เปนอุตสาหกรรม พื้นฐานทางทฤษฏีมาจากงานของ David Ricardo เกี่ยวกับความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบและ
ไดพูดถึงดุลยภาพทั่วไป ในใจความสําคัญไดใหความคิดเห็นวา ชาติตางๆ จะคาขายกันอยางมีประสิทธิผล และ
ปญหาชั่วคราวเกี่ยวกับการจัดหาและความตองการจะแกไขตัวเองโดยอัตโนมัติ สถาบันที่ดูแลมาตรฐานทองคํา
ไดถูกนํามาใชในประเทศอุตสาหกรรมหลักๆ ระหวางประมาณป พ.ศ. 2393 และ พ.ศ. 2423 แมวาเวลาที่แนนอน
ที่ประเทศตางๆ ไดใชมาตรฐานทองคํายังมีการถกเถียงอยู

ชวงแรกของโลกาภิวัตน มีการพูดกันวาไดหยุดลงหลายชวงเริ่มตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ 1 และตอมาไดลมสลาย
เนื่องจากวิกฤตการณมาตรฐานทองคําในปลายป พ.ศ. 2463 และตนป พ.ศ. 2473 ประเทศซึ่งไดเกี่ยวของใน
ชวงแรกของโลกาภิวัตนประกอบดวย สมาชิกหลักของสหภาพยุโรป ประเทศรอบนอกสหภาพยุโรปบางประเทศ
และประเทศในยุโรปที่มีสาขาในทวีปเมริกาและโอเชเนียมีความมั่งคั่งมากขึ้น     ความเหลื่อมล้ําระหวางประเทศ
ลดลง เมื่อสินคา ทุน และแรงงาน มีการเคลื่อนยายอยางเสรีระหวางประเทศ

โลกาภิวัตนในชวงตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดรับการขับเคลื่อนโดยรอบเจรจาการคาในเบื้องตนอยูภายใตการ
ริเริ่มของกรอบความตกลงทั่วไปวาดวยภาษีและการคา ( General Agreement on Tariff and Trade: GATT) ซึ่ง
ไดนําไปสูการทําขอตกลงหลายฉบับเพื่อปรับลดขอจํากัดเกี่ยวกับการ”คาเสรี” การเจรจารอบอุรุกวัยนําไปสูการ
จัดทําขอตกลงเพื่อการจัดตั้งองคการการคาโลก (World Trade Organization: WTO) เพื่อเปนตัวกลางในการไกล
เกลี่ยการพิพาททางการคา นอกจากนี้ยังมีการลงนามความรวมมือทางการคาทวิภาคีอื่นๆ ประกอบดวย สวน
ตางๆ ของสนธิสัญญา Europe’s Maastricht และขอตกลงเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free
Trade Agreement: NAFTA) โดยมีเปาหมายเพื่อลดภาษีและอุปสรรคทางการคา




ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                 2 of 19
2. ลักษณะเฉพาะของโลกาภิวัตน
โลกาภิวัตนสามารถจําแนกดวยแนวโนมตางๆ ซึ่งสวนมากพัฒนาตั้งแตชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันประกอบดวย
การเพิ่มขึ้นของการของเคลื่อนยายระหวางประเทศของสินคา เงิน ขอมูล และคน และการพัฒนาของเทคโนโลยี
องคกร ระบบกฎหมาย และโครงสรางพื้นฐานเพื่ออํานวยความสะดวกการเคลื่อนยายนี้             โดยตัวอยางของ
ลักษณะเฉพาะของโลกาภิวัตนที่มีอยูในปจจุบันที่มีการกลาวถึงไดแก
2.1 ดานเศรษฐกิจ
    • การเพิ่มขึ้นของการคาระหวางประเทศในอัตราที่รวดเร็วกวาอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจโลก
    • การเพิ่มขึ้นของการเคลื่อนยายเงินทุนระหวางประเทศประกอบดวยการลงทุนโดยตรงระหวางประเทศ
    • การเสื่อมถอยของบูรณภาพของชาติและพรมแดนของชาติจากขอตกลงระหวางประเทศนําไปสูการจัดตั้ง
        องคการตาง เชน องคการการคาโลก (WTO) และ OPEC
    • การพัฒนาของระบบการเงินของโลก
    • การเพิ่มขึ้นของสัดสวนของเศรษฐกิจโลกที่ควบคุมโดยบริษัทขามชาติ
    • การเพิ่มบทบาทขององคกรระหวางประเทศ เชน WTO WIPO IMF ซึ่งดําเนินงานเกี่ยวกับธุรกรรมระหวาง
        ประเทศ
    • การเพิ่มขึ้นของการปฏิบัติทางเศรษฐกิจ เชน outsourcing โดยธุรกิจบริษัทขามชาติ

2.2 ดานวัฒนธรรม
    • การเพิ่มขึ้นของการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหวางประเทศ
    • การกระจายตัวของวัฒนธรรมที่หลากหลาย และการเขาถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายสวนบุคคล เชน โดย
        การสงออกของภาพยนตร Hollywood และ Bollywood อยางไรก็ตามการนําเขาวัฒนธรรมสามารถเขา
        ทดแทนวัฒนธรรมทองถิ่น                   สงผลใหลดความหลากหลายและทําใหเกิดการวัฒนธรรมผสม
        (Hybridization) หรือบางทีถึงขั้นการกลืนวัฒนธรรม (Assimilation) ซึ่งตัวอยางที่เห็นไดชัดคือการทําให
        เปนวัฒนธรรมตะวันตก (Westernization)
    • การเพิ่มขึ้นของการเดินทางระหวางประเทศและการทองเที่ยว
    • การเพิ่มขึ้นของการเขาเมืองรวมทั้งการเขาเมืองผิดกฎหมาย
    • การกระจายตัวของอาหารทองถิ่น เชน พิซซา และอาหารอินเดีย ในหลายประเทศ (สวนมากจะปรับปรุง
        รสชาติใหสอดคลองกับทองถิ่น)




ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                  3 of 19
2.3 ดานเทคโนโลยี
    • การพัฒนาของโครงสรางพื้นฐานดานโทรคมนาคมของโลกและการเพิ่มขึ้นของการเคลื่อนยายของขอมูล
        ขามพรมแดน การใหเทคโนโลยี เชน อินเตอรเนท ดาวเทียมสื่อสาร และโทรศัพท

2.4 ดานกฎหมาย
    • การเพิ่มขึ้นของจํานวนมาตรฐานตางๆ ที่ถูกนําไปใชทั่วโลก เชน กฎหมายสิขสิทธิ์ และสิทธิบัตร
    • การผลักดันโดยผูสนับสนุนตางๆเพื่อการจัดตั้งศาลอาชญากรรมระหวางประเทศและการเลื่อนไหวเพื่อ
        ความยุติธรรมระหวางประเทศ
    • บางทานก็ไดใหความคิดเห็นวาแมแตการกอการรายก็ไดเปลี่ยนแปลงตามโลกาภิวัตนโดยการโจมตี
        ประเทศตางๆ ที่ไมไดกอใหเกิดความสัมพันธโดยตรงกับประเทศของตนเอง

2.5 ผลของการเจรจาการคาระหวางประเทศ
       อุปสรรคตางๆ ตอการคาระหวางประเทศไดคอยๆลดลง ตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยขอตกลงระหวาง
ประเทศตางๆ ไดแก GATT ผลของการดําเนินงานภายใต GATT และ WTO ประกอบดวย
    • การสงเสริมการคาเสรี
           Ø ของสินคา
                   v การลดหรือการขจัดภาษี การสรางเขตการคาเสรีขนาดเล็กหรือไมมีภาษี
                   v การลดตนทุนดานการขนสง โดยเฉพาะการพัฒนาการใชตูคอนเทนเนอรขนสงสินคา
                      สําหรับการขนสงทางทะเล
           Ø ของทุน: การลดหรือขจัดการควบคุมทุน
           Ø การลด การขจัด หรือการทําใหมีความคลายคลึงกันของการอุดหนุนสําหรับธุรกิจทองถิ่น
    • ขอจํากัดตางๆ ของทรัพยสินทางปญญา
           Ø การทําใหมีความคลายคลึงกันของกฎหมายทรัพยสินทางปญญาครอบคลุมทุกประเทศ (ทั่วๆ ไป
               คือการทําใหมีขอจํากัดมากขึ้น)
           Ø การใหการยอมรับขามประเทศของขอจํากัดตางๆ ของทรัพยสินทางปญญา ( เชน สิทธิบัตร ที
               ออกโดยประเทศจีน จะไดรับการรับรองในประเทศสหรัฐอเมริกา)

2.6 การตอตานโลกาภิวัตน
หลายแงมุมของโลกาภิวัตนถูกมองวาเปนอันตรายโดยนักกิจกรรมที่สนใจผลประโยชนสาธารณะและผูซึ่งชาตินิยม
อยางเขมแข็งโดยปกติมักเรียกวาเปนกลุมนักเคลื่อนไหวเพื่อความยุติธรรมแหงโลก ซึ่งการตอตานโลกาภิวัตนมี
หลากหลายชนิด โดยทั่วไปนักวิจารณมองวาผลของโลกาภิวัตนยังไมเปนไปตามที่คาดหวังไวเมื่อพยายามเพิ่ม

ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                4 of 19
การคาเสรีไดเริ่มขึ้น และหลายองคกรที่เกี่ยวของในระบบโลกาภิวัตนยังไมไดใหความสนใจและใหความสําคัญกับ
ประเทศที่ยากจน ชนชั้นทํางานและสิ่งแวดลอม

นอกจากนี้ยังมีขอคิดเห็นที่ตอตานโลกาภิวัตนที่เกี่ยวของ ไดแก
   • ขอคิดเห็นดานเศรษฐกิจโดยนักเศรษฐศาสตรดานการคาอยางเทาเทียมมองวาการคาเสรีแบบไมมี
      ขอจํากัดกอใหเกิดประโยชนตอผูซึ่งมีกําลังทางการเงิน (เชน คนรวย) โดยอยูบนคาใชจายของคนยากจน
   • ผูตอตานโลกาภิวัตนหลายคนมองวาโลกาภิวัตนเปนการสงเสริมของวาระการเปนธุรกิจบริษัท ซึ่งมีการจง
      ใจที่จะจํากัดเสรีภาพของบุคคลตางๆ เพื่อประโยชนของกําไร พวกเขายังมองวาการเพิ่มขึ้นของความเปน
      อิสระและความเขมแข็งของกลุมบริษัทจะทําใหสามารถกําหนดนโยบายทางการเมืองของหลายๆ ประเทศ
   • บางคนมองวาโลกาภิวัตนไดกอใหเกิดวิชาเศรษฐศาสตรที่ใชเครดิตเปนฐาน สงผลใหเกิดการเติบโตที่ไม
      ยั่งยืนของหนี้และวิกฤตการณหนี้
   • การเพิ่มขึ้นของกฎหมายและกฎระเบียบในขณะที่มีการลดลงของการแทรกแซงจากทางรัฐบาลประเทศ
      ตางๆ เพื่อปกปองความมั่นคั่งและธุรกิจตางๆ
   • นักตอตานบางคนปฏิเสธความจริงวาโลกาภิวัตนในปจจุบัน               ไดทําใหมีการเคลื่อนยายเงินและธุรกิจ
      บริษัททั่วโลกแตยกเวนคนและสหภาพตางๆ ซึ่งสามารถพิจารณาไดจากการควบคุมการเขาเมืองอยาง
      เขมงวดในเกือบทุกประเทศ และการขาดสิทธิ์ของแรงงานในหลายประเทศในประเทศกําลังพัฒนา

2.7 การวัดผลของโลกาภิวัตน
         การวัดระดับของโลกาภิวัตนที่แตละประเทศไดเขาไปเกี่ยวของในแตละปไดมีการวัดเมื่อไมนานมานี้โดยใช
หลักการงายๆ เปนทางเลือก เชน การเคลื่อนยายทางการคา การยายถิ่นฐาน หรือการลงทุนโดยตรงจาก
ตางประเทศ วิธีการทีซับซอนกวานี้สําหรับวัดผลของโลกาภิวัตนลาสุดไดแกดัชนีซึ่งคํานวณโดยกลุมนักคิดของ
สวิสเซอรแลนด โดยดัชนีไดวัดจาก 3 มิติหลัก ของโลกาภิวัตน คือ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง นอกจากนี้ยังมี
ดัชนีรวมของโลกาภิวัตนและดัชนียอยโดยอางถึงการเคลื่อนยายทางเศรษฐกิจในปจจุบัน ขอจํากัดทางเศรษฐกิจ
ขอมูลการติดตอสวนบุคคล ขอมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนยายของขาวสาร และขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่อยูใกลๆ
ขอมูลจะมีการเผยแพรทุกๆ ป สําหรับ 122 ประเทศ โดยประเทศที่มีระดับของโลกาภิวัตนมากที่สุดไดแก
สหรัฐอเมริกา ตามดวยแคนาดา อังกฤษ และฝรั่งเศส และประเทศที่มีระดับของโลกาภิวตนนอยที่สุด ไดแก บุรุนดี
                                                                                    ั
เบลิส เซียราเลียโอน เปนตน

3. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจและการกําหนดบทบาทของไทยในเวทีโลกและภูมิภาค
3.1 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุพาคี และบทบาทของเศรษฐกิจเอเชียที่
เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีนและอินเดีย


ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                   5 of 19
การรวมกลุมทางการคามีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งจํานวนกลุมการตกลงการคาเสรี และความครอบคลุมของกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจที่อยูภายใตขอตกลง (Degree of economic integration) จะเพิ่มมากขึ้น การตกลงทางการคา
เหลานี้เปนปจจัยที่สําคัญที่จะมีผลตอรูปแบบของระบบการคาของโลก (World trading system) ที่จะมีความ
เขมขนมากขึ้น
และมีผลตอกลไกการปรับตัวและการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและการปรับตัวในระดับกิจการของภาค
ธุรกิจเอกชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน

3.1.1 การรวมกลุมทางการคาและขอตกลงการคาเสรีตาง ๆ
ในระยะ 40 ปที่ผานมา ประเทศกําลังพัฒนามีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในตลาดโลก โดยสัดสวนในการคาโลกเพิ่มขึ้น
จากรอยละ 20 ในป 2503 เปนประมาณรอยละ 35 ในป 2547 ในขณะที่ปริมาณและมูลคาของการคาโลกก็ได
เพิ่มขึ้นมาก และในประเทศตาง ๆ สัดสวนการคาระหวางประเทศใน GDP ก็เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วและตอเนือง
                                                                                                ่
เชนกัน ในชวงเวลาดังกลาวไดมีการเจรจาการคาหลายฝายหรือพหุพาคี 3 รอบรวมทั้งมีการปรับโครงสราง
เศรษฐกิจในหลาย ๆ ประเทศซึ่งนโยบายหลักที่สําคัญในการปรับโครงสรางประการหนึ่งคือ การเปดเสรีทางการคา
มากขึ้นโดยการลดกําแพงภาษีนําเขา รวมทั้งการสรางตลาดใหมสําหรับการสงออก และในป2537 ไดมีการจัดตั้ง
องคการการคาโลก (World Trade Organization: WTO)

แตในปจจุบันและแนวโนมในระยะตอไปนั้นระบบและกฎเกณฑทางการคากําลังเปลี่ยนไป โดยที่การตกลงทางการ
คาทวิภาคีและภูมิภาค (Regional Trade Agreements: RTAs) มีจํานวนมากขึ้น จํานวนขอตกลงในลักษณะ
ดังกลาวเพิ่มขึ้นมากกวา 4 เทาตั้งแตป 2533 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน และมีจํานวนสูงถึง 230 กลุมขอตกลงในป
2547 และอีกประมาณ 60 กลุมขอตกลงกําลังอยูในขั้นตอนตาง ๆ ของการเจรจา ซึ่งจะทําใหในป 2548 จะมีกลุม
ขอตกลงประมาณ 290 กลุม และในปจจุบันเกือบทุกประเทศอยูในกลุมขอตกลงการคาเสรีอยางนอยหนึ่งกลุม
และโดยเฉลี่ยแตละประเทศอยูในอยางนอย 6 กลุม RTAs ประเทศไทยเองจะมีขอตกลงระดับทวิภาคีกับ 8
ประเทศกับอีก 2 กลุม

มูลคาการคาในระหวางสมาชิกของ RTAs ในปจจุบันคิดเปนสัดสวนเกือบรอยละ 40 ของมูลคาการคารวมของโลก
ในขณะที่การเจรจาขอตกลงใหม ๆ ครอบคลุมทั้งดานการคาและดานอื่น ๆ อาทิ ดานการลงทุนดานบริการ ลิขสิทธิ์
และการเคลื่อนยายแรงงาน โดยที่การเจรจาใน 4 ดานนี้ที่นอกเหนือไปจากการคาสินคามีมากขึ้นตามลําดับและใน
ปจจุบันมักจะถูกรวมไวในกรอบการเจรจาการคาเสรีในกลุมตาง ๆ แตอยางไรก็ตามมูลคาของสิทธิพิเศษ (Value
of Preferences) ลดลงตามลําดับเนื่องจากประเทศสวนใหญไดมีการลดกําแพงภาษีเปนการทั่วไปในกรอบของ
Most favored nation ไปพรอม ๆ กับการลดภาษีภายใตกรอบ RTAs ดวย




ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                 6 of 19
3.1.2 ผลกระทบตอประเทศไทย
ตลาดสงออกที่ประเทศไทยมีขอตกลง FTA จะครอบคลุมประชากรรอยละ 45 ของประชากรโลก ซึ่งมีขนาด GDP
เทากับรอยละ 48.4 ของเศรษฐกิจโลก ทําใหโอกาสทางเศรษฐกิจของประเทศไทยมีมากขึ้น ทั้งจากการคาภายใน
กลุมขอตกลงและกับกลุมเศรษฐกิจอื่นที่ใหลําดับความสําคัญของตลาดไทยมากขึ้นในฐานะที่เปน spring board
ไปสูตลาดเอเชีย แนวโนม RTAs ที่เพิ่มขึ้นนี้ทําใหระบบการคาโลกมีความซับซอนมากขึ้นโดยที่ประเทศตาง ๆ มี
ขอตกลงที่แตกตางกันและใชกฎเกณฑที่แตกตางกันไปตามกลุมคูคาภายใตขอตกลงที่แตกตางกันไป (Spaghetti
bowl effect) ซึ่งจะทําใหการปฏิบัติทางพิธีศุลกากรมีความยุงยากมากขึ้น ทําใหภาคธุรกิจเอกชนตองปรับตัวและมี
การเขาถึงฐานขอมูลที่ครบถวนเหมาะสมโดยการสนับสนุนของภาครัฐเพื่อใหการดําเนินธุรกิจมีความคลองตัว แต
ขณะเดียวกันการแขงขันจากกลุมจะรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากจะมีจํานวนประเทศทีไดรับผลประโยชนในการเขาถึง
                                                                             ่
ตลาดจากการที่เปนสมาชิกของขอตกลงตาง ๆ มากขึ้น ซึ่งจะทําใหประเทศไทยตองมีการปรับตัวทั้งในการบริหาร
เศรษฐกิจสวนรวมใหมีประสิทธิภาพและการปรับตัวในระดับจุลภาคเพื่อใหแขงขันได อาทิ การเพิ่มคุณภาพและ
มาตรฐานแรงงาน และคุณภาพและมาตรฐานสินคารวมทั้งมาตรฐานดานความปลอดภัยในการผลิตและการขน
ถายสินคา ซึ่งเปนการปรับเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการ

3.2 ศูนยกลางเศรษฐกิจใหม: เอเชีย จีน และอินเดีย
3.2.1 การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ
เศรษฐกิจของประเทศจีนมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยขยายตัวเฉลี่ยประมาณรอยละ 9.3 ตอป ในชวงป2533-
2547 และคาดวาจะขยายตัวรอยละ 8.0-8.5 ในป 2548 ซึ่งเปนอัตราการขยายตัวที่สูงกวาอัตราการขยายตัวโดย
เฉลี่ยของเศรษฐกิจในกลุมประเทศตาง ๆ มาก ทําใหสัดสวน GDP ของประเทศจีนใน GDP รวมของโลกเพิ่มขึ้น
ตอเนื่องจากรอยละ 1.8 ในป 2533 เปนรอยละ 3.9 ในป 2546 เชนเดียวกับเศรษฐกิจของอินเดียซึ่งมีการขยายตัว
คอนขางดีและไมไดรับผลกระทบจากวิกฤตทางเศรษฐกิจในเอเชียในชวงป 2540-2541 และมีการขยายตัวเฉลี่ย
รอยละ 6.3 ตอปในชวงป 2545-2547 และคาดวาจะขยายตัวประมาณรอยละ6.7 ในป 2548 และเศรษฐกิจมี
ขนาดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 1.6 ของ GDP รวมของโลกในป 2546ดังนั้นโดยรวมเศรษฐกิจเอเชียจะมี
บทบาทมากขึ้นในระบบเศรษฐกิจโลกและจะเปนตลาดสงออกที่สําคัญของโลก

ประเทศจีนจะกลายเปนผูประกอบการและผูผลิตสินคาอุตสากรรมที่เปน World class มากขึ้น จากการที่บรรษัท
ขามชาติตาง ๆ มีการเคลื่อนยายฐานการผลิตไปสูประเทศจีนมากขึ้นและยังจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอนาคต
เนื่องจากจีนเปนตลาดใหญ มีความไดเปรียบดานคาแรงงาน และทรัพยากรบุคคลที่มีศักยภาพในขณะที่อินเดียมี
ความไดเปรียบทางดานภาษาและทรัพยากรบุคคลในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี               ซึ่งจะทําใหประสบ
ความสําเร็จและมีความไดเปรียบในดานบริการที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น       (IT-enabled
services)


ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                 7 of 19
3.2.2 ผลกระทบตอประเทศไทย
จีนและอินเดียจะเปนประเทศคูคาที่สําคัญมากขึ้นสําหรับประเทศไทย จะเห็นวาสัดสวนการสงออกของไทยไปสู
ประเทศจีนเพิ่มขึ้นจากรอยละ3.0 ในป 2540 เปนรอยละ 7.1 ในป 2546 ในขณะที่มูลคาการสงออกไปยังตลาด
อินเดียคิดเปนสัดสวนรอยละ 0.9 ของมูลคาการสงออกของไทยในชวง 11 เดือนแรกป 2547 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรอยละ
0.6ในป 2545 และรอยละ 0.8 ในป 2546

การที่จีนเปนฐานการผลิตสินคาอุตสาหกรรมที่สําคัญมากขึ้นของโลกจากการยายฐานการผลิตของโลกสูประเทศ
จีนมากขึ้น จะทําใหเกิดความเชื่อมโยงของวงจรการผลิตในภูมิภาคเอเชียมากขึ้น และประเทศไทยเองเรงสราง
เครือขายทางการคาและการลงทุนกับจีนมากขึ้น แตเนื่องกฎระเบียบดานศุลกากร และระบบภาษีภายในประเทศ
จีนยังมีความซับซอนและแตกตางกันระหวางมณฑลตาง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจึงจําเปนตองมีฐานขอมูลที่
ครบถวนและทันสมัยประเทศอินเดียมีความไดเปรียบดานการศึกษาจากอิทธิพลของสหราชอาณาจักร รวมทั้งการ
มีทรัพยากรบุคคลในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มากกวาประเทศอื่นในเอเชีย                  ดังนั้นความรวมมือดาน
การศึกษาและการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยเฉพาะในดานซอฟแวรจะเปน
ผลประโยชนตอประเทศไทยสัดสวนของชนชั้นกลางของสองประเทศนี้มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากภาวะเศรษฐกิจที่มีการ
ขยายตัวตอเนื่องและมีการจางงานเพิ่มขึ้น ซึ่งจะทําใหกําลังซื้อเพิ่มขึ้น ดังนั้นทั้งสองตลาดนี้จะมีความสําคัญตอ
การสงออกและการทองเที่ยวของไทยมากขึ้นตามลําดับ ในขณะที่การแขงขันในสองตลาดนี้จากประเทศตาง ๆ ก็
จะเพิ่มขึ้นดวยเชนกัน




ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                   8 of 19
ความตกลงทางการคาเสรีของ กลุมตาง ๆ ป 2547




ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                         9 of 19
3.3 ปจจัยผลักดันเพื่อการกําหนดบทบาทของไทยในเวทีโลกและภูมิภาค
          ทิศทางการดําเนินนโยบายความรวมมือระหวางประเทศ และความกาวหนาในยุคโลกาภิวัฒนในปจจุบัน
ไดเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาคตางๆใหใกลชิดกันมากขึ้น ซึ่งการที่โลกเขาสูชวงของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญทั้งใน
ดานเศรษฐกิจและสังคม สงผลกระทบในวงกวางตอระบบเศรษฐกิจและการปรับตัวของแตละประเทศ เพื่อให
สามารถแขงขันไดและสรางความเปนอยูที่ดีแกประชาชน โดยสถานการณเศรษฐกิจสําคัญของโลก ที่มีผลตอการ
รวมกลุมทางเศรษฐกิจของไทยกับประเทศเพื่อนบาน และการปรับบทบาทของไทย ดังนี้
          3.3.1 การเพิ่มบทบาทของเศรษฐกิจเอเชีย และการกาวสูการเปนศูนยกลางการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ใหมที่สําคัญของจีนและอินเดีย : ในปจจุบันประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูงกวาเศรษฐกิจโลกกระจุกตัวอยูใน
ประเทศจีน อินเดีย และประเทศในเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะจีนซึ่งมีการลงทุนจากตางประเทศจํานวนมากและ
การใชจายตอครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น และอินเดียที่มีความกาวหนาในระบบการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรม
ยาและเวชภัณฑ ทําใหบทบาทของทั้งสองประเทศตอระบบเศรษฐกิจโลกทวีความสําคัญมากขึ้น จนเศรษฐกิจของ
สหรัฐอเมริกาไมใชเครื่องจักรที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกเพียงประเทศเดียวอีกตอไป

       3.3.2 กระแสโลกาภิวัตน              มีผลใหการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจโลกกับภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น
โดยเฉพาะความรวมมือของกลุมเศรษฐกิจตางๆ อาทิ กลุม EU, ASEAN, APEC, NAFTA มีผลใหเกิดการ
เคลื่อนยายอยางเสรีของ ทุน คน เทคโนโลยี และความรู

ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                 10 of 19
ทําใหหลายประเทศตองปรับโครงสรางอุตสาหกรรมจากการใชแรงงานราคาถูก             ไปสูการใชแรงงานฝมือ
และอุตสาหกรรมที่พึ่งพาเทคโนโลยี และจะพัฒนาไปสูอุตสาหกรรมฐานความรู

       3.3.3 การเจรจาในกรอบพหุภาคี (WTO) มีความลาชา และบรรลุขอตกลงไดยาก การรวมกลุมทาง
เศรษฐกิจทั้งระดับทวิภาคี (FTA) และระดับภูมิภาค (RTAs) จึงทวีความสําคัญเพิ่มมากขึ้น โดยประเทศไทยเองจะ
มีขอตกลงระดับทวิภาคีกับ 8 ประเทศ และอีก 2 กลุม

       3.3.4 ภาวการณทางเศรษฐกิจโลก ทําใหประเทศไทยตองปรับบทบาทเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
ดังกลาว ทั้งในแงการขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจการคา การคมนาคมขนสง การพัฒนาและแลกเปลี่ยน
ความรูทั้งทางดานทรัพยากรมนุษย เทคโนโลยี และสารสนเทศ กับกลุมประเทศที่มีความใกลชิดทางภูมิศาสตร
เชน กลุมประเทศเอเชียใตและกลุมประเทศเอเชียตะวันออก เพื่อเปนฐานเศรษฐกิจแหงใหม               เนื่องจาก
อุตสาหกรรมหลายชนิดของไทยมีขีดความสามารถเชิงเปรียบเทียบนอยลง ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงโครงสราง
ประชากรของไทยเองที่กําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุอยางรวดเร็ว ภายในป 2553 ที่ทําใหประชากรวัยแรงงานนอยลง
การแสวงหาความรวมมือทางเศรษฐกิจและความรวมมือดานอื่นๆ กับประเทศตางๆ ในระดับภูมิภาค จึงมีความจํา
เปนมากขึ้น

3.4 บทบาทและการปรับตัวของไทยในเวทีโลกและภูมิภาค
         ผลจากการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจโลกดังกลาว         ทําใหการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศใน
ภูมิภาคตางๆ ทั้งในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี และภูมิภาคมีความสําคัญเพิ่มมากขึ้น ในฐานะเปน
เครื่องมือเพื่อสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของกลุมกับกลุมเศรษฐกิจ
อื่นๆ โดยไทยไดมีบทบาทที่โดดเดนในเวทีระหวางประเทศ และเวทีภูมิภาคดังนี้
        3.4.1 บทบาทไทยในเวทีพหุภาคี
         บทบาทประเทศไทยในเวทีพหุภาคี มีความโดดเดนขึ้นจากการปรับบทบาทจากประเทศผูรับ(Recipient
Country) เปนประเทศผูใหความชวยเหลือ (Donors Country) กับประเทศแถบแอฟริกา และประเทศเพื่อนบาน
และการเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาแบบยั่งยืน              โดยไทยไดบรรลุเปาหมายการพัฒนาแหง
สหัสวรรษ (MDGs) เกือบทุกเปาหมายไดกอนกําหนดเวลาถึง 10 ป โดยเฉพาะการลดความยากจน การสราง
โอกาสการศึกษาที่เทาเทียม และการลดการแพรระบาดของโรคเอดส และมาลาเรีย นอกจากนั้นการปรับบทบาท
ของประเทศไทย ยังสงผลใหมีการปรับความสัมพันธกับประเทศตางๆ เชน ญี่ปุน และกลุมสหภาพยุโรป ใน
ลักษณะหุนสวนการพัฒนา (Development Partner) ประกอบกับบทบาทของไทยในเวทีตางๆ ที่เขมแข็งและ
เพิ่มขึ้น โดยเวทีพหุภาคีที่ไทยเขาไปมีบทบาท และเปนสมาชิกหลัก มีดังนี้




ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                                11 of 19
กรอบความรวมมือ                         สาระสําคัญ

องคการการคาโลก (World      Trade เปนเวทีเจรจาการคาพหุพาคีที่กําหนดกติกาเพื่อลด
Organization : WTO)                 อุปสรรคและขอกีดกันทางการคา และสนับสนุนการคา
                                    ระหวางประเทศใหมีความเสรียิ่งขึ้น โดยไทยใชเวทีนี้สราง
                                    ตลาดการคาที่เปดกวางขึ้น และมีเวทีเจรจาเพื่อรักษา
                                    ผลประโยชน ทั้งในการรักษาสิทธิของประเทศผูสงออก
                                    และปกปองคุมครองสินคาและบริการที่ออนไหวของ
                                    ประเทศ โดยอยูบนพื้นฐานการแขงขันที่เปนธรรม และไม
                                    เลือกปฏิบัติ
กลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – เปนเวทีเสนอแนะเชิงนโยบายหารือแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
แปซิฟก (APEC)                      และประเด็นทางเศรษฐกิจ ที่มีวัตถุประสงคเพื่อสงเริม
                                    การคาระดับพหุภาคี สนับสนุนการขยายตัว
                                    ทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและโลก และการลดอุปสรรค
                                    ทางการคา และสนับสนุนการเปดเสรีภายใตขอตกลงของ
                                    WTO โดยมีเปาหมายที่จะเปดเสรีทางการคาในป 2553
                                    สําหรับประเทศที่พัฒนาแลวและ 2563 สําหรับประเทศที่
                                    กําลังพัฒนา กลุมเอเปกจึงถือเปนตลาดสงออกที่สําคัญ
                                    ของไทย เนื่องจากมีประชากร ถึง 2,000 ลานคน และมี
                                    ปริมาณการคาประมาณรอยละ 40 ของการคาโลก


3.4.2 บทบาทของไทยในเวทีภูมิภาค

            ในเวทีภูมิภาค ไทยใหความสําคัญและมีบทบาทอยางมากใน 3 กรอบ ดังนี้

กรอบความรวมมือ                         สาระสําคัญ

ความรวมมือในกรอบอาเซียน                ไทยใหความสําคัญและมีบทบาทสนับสนุนการดําเนินงาน
(ASEAN)                                 หลายดาน เชน (1) การลดภาษีภายใตเขตการคาเสรี
                                        อาเซียน (AFTA) (2) การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน
                                        (AIA) (3) การเปดเสรีบริการดานตางๆ (4) การกําหนดให
                                        อาเซียนเปนแหลงอาหารที่สําคัญของโลก (5) ความ

ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                             12 of 19
กรอบความรวมมือ                          สาระสําคัญ

                                         รวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน (6) การอํานวย
                                         ความสะดวกการขนสงสินคาผานแดน และ (7) การ
                                         เสริมสรางความเขมแข็งดานตางๆ เพื่อใหอาเซียนสามารถ
                                         แขงขันกับเขตเศรษฐกิจอื่นๆของโลกได เชน ดานคมนาคม
                                         พัฒนาทรัพยากรมนุษย ความสามารถการแขงขันของ
                                         ภาคเอกชน และการลดชองวางระหวางอาเซียนเกา-ใหม
Asian Cooperation Dialogue : ACD         ริเริ่มโดยประเทศไทย โดยมุงเสริมสรางความแข็งแกรง
                                         และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของเอเชีย โดย
                                         อาศัยความแตกตางหลากหลายและทรัพยากรที่อุดม
                                         สมบูรณของเอเชียที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด โดย
                                         เชื่อมโยงเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันตก และเอเชียใต ที่
                                         ประกอบดวยประเทศสมาชิก 28 ประเทศ โดยการ
                                         สงเสริม Asia-wide Cooperation ที่เปนการตอยอดหรือ
                                         เสริมความรวมมือในกรอบอื่น ๆ
Initiative for ASEAN Integration : IAI   เปนกรอบความรวมมือระดับภูมิภาค          ที่มุงเนนการลด
                                         ชองวางจากการพัฒนากับประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดย
                                         ประเทศไทยเองมีบทบาทชวยเพิ่มขีดความสามารถและ
                                         ใหการฝกอบรมบุคลากรของประเทศ CLMV ทางดาน
                                         เทคนิคและวิชาการในดานตางๆ เพื่อเปนพื้นฐานความ
                                         รวมมือ ซึ่งนําไปสูเปาหมาย การเปนตลาดเดียว (Single
                                         Market) รวมทั้งการเปนฐานอุตสาหกรรมการผลิตเดียว
                                         และการมุงบรรลุเปาหมายในการเปนประชาคมเศรษฐกิจ
                                         อาเซียน ในป 2020 ในทายที่สุด


3.4.3 บทบาทไทยในเวทีประเทศเพื่อนบาน
               ประเทศไทยในปจจุบัน ไดแสดงบทบาทของการเปนหุนสวนการพัฒนาในภูมิภาคและอนุภูมิภาค
   ผานทางนโยบายการตางประเทศที่เรียกวา “ Forward Engagement” โดยมุงหวังการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
   และสังคมของภูมิภาค โดยถือหลักการชวยเหลือตัวเอง (Self - help Cooperation) และการสรางความ
   เขมแข็งจากความแตกตาง (Strength from Diversity) บนพื้นฐานการเปนหุนสวนทางเศรษฐกิจและสังคม

ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                              13 of 19
โดยประเทศไทยไดมีการรวมกลุมทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบานในหลายกรอบ ทั้งประเทศในแถบเอเชีย
   ใต เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดย
              1)              ไทยไดสนับสนุนใหความชวยเหลือทางการเงินเพื่อการพัฒนา (ODA) แก
                              ประเทศดอยพัฒนาในภูมิภาค ในป 2003 ประมาณ 167 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ
                              รอยละ 0.13 ของรายไดประชาชาติ ซึ่งมากกวาประเทศออสเตรเลีย ญี่ปุน สหรัฐ
                              และหลายประเทศใน OECD โดยรอยละ 93 ของความชวยเหลือของไทยไปยัง
                              ประเทศดอยพัฒนาในทวีปแอฟริกา รวมทั้งประเทศเพื่อนบาน เชน กัมพูชา ลาว
                              พมา โดยการใหความชวยเหลือดังกลาวจะเนนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใน
                              ประเทศเพื่อนบาน เชน การสรางถนน สะพาน เขื่อน และโรงไฟฟา ซึ่งถือเปนการ
                              พัฒนาความเชื่อมโยงทางคมนาคม และพลังงาน เพื่อรองรับการพัฒนา
                              เศรษฐกิจระยะยาว
              2)              การใหความชวยเหลือดานเทคนิควิชาการ เชน การฝกอบรมบุคลากรในสาขา
                              ตางๆ อาทิ การศึกษา สาธารณสุข เกษตร คมนาคม การเงิน การธนาคาร ไทยก็
                              มีการดําเนินการใหความชวยเหลือในลักษณะเดียวกันกับสหประชาชาติ และ
                              ADB
              3)              บทบาทและแนวคิดริเริ่มในทุกกรอบความรวมมือทั้งระดับพหุภาคี ภูมิภาค และ
                              อนุภูมิภาค เชน ไทยกับประเทศเพื่อนบาน จึงเปนการแสวงหาโอกาสและ
                              ผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกันในระยะแรก และพัฒนาสูประเด็นทางสังคม
                              สิ่งแวดลอม เมื่อพบวา สภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมที่แตกตางกัน
                              มากของประเทศยากจน และร่ํารวยนั้น ทายที่สุดแลวจะเปนตัวการที่ฉุดรั้งการ
                              พัฒนาของทั้งภูมิภาค

3..4.4 ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหวางไทยและประเทศเพื่อนบาน ดานการคาการลงทุน มีดังนี้

      1)     ไทยเปนคูคาสําคัญและเปนนักลงทุนรายใหญในประเทศ CLMV ความสัมพันธทางการคา
           ระหวางไทยและประเทศ CLMV เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกป โดยเฉพาะการคาชายแดน แตโดยสวน
           ใหญไทยเปนฝายไดดุลการคา และศักยภาพการคาในกลุมมีโอกาสขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจาก
           แนวโนมที่ประเทศ CLMV เพิ่มความเชื่อมโยงกับการคาภายในอนุภูมิภาคสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะลาว
           มากถึง 67.3 % ในป 2546
                   • ตําแหนงที่ตั้งซึ่งอยูจุดกึ่งกลางของอินโดจีน ทําใหไทยมีความไดเปรียบในการทําการคา
                     กับ CLMV ซึ่งตลาดประเทศในเพื่อนบานพึ่งพาสินคาจากไทยเปนหลัก โดยไทยติด
                     อันดับ 1-5 ของผูสงออกสินคาไปยังประเทศ CLMV ระหวางป 2530-2547 ซึ่งสินคาที่
ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                               14 of 19
ประเทศ CLMV นําเขาจากไทย ไดแก สินคาอุตสาหกรรม และอุปโภคบริโภค เชน เครื่อง
                      คอมพิวเตอร แผงวงจรไฟฟา เม็ดพลาสติก น้ํามันสําเร็จรูปและน้ํามันดิบ เคมีภัณฑ
                      เหล็ก ยางพารา
                      ในทางกลับกัน ตลาดไทยยังเปนแหลงสงออกสินคาหลักของ CLMV ซึ่งเปนสินคา
                      จําพวกวัตถุดิบและสินคาปฐมภูมิ ทั้งผานทางชายแดนและการคาระหวางประเทศดวย
                 • การลงทุนของไทยในประเทศกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม โดยสวนใหญ เปน
                   อุตสาหกรรมที่ลวนแลวแตพึ่งพาความไดเปรียบของประเทศเพื่อนบาน ในเชิงปจจัยการ
                   ผลิต โดยเฉพาะภาคการผลิตที่ใชแรงงานเขมขน เชน อุตสาหกรรมสิ่งทอและ
                   เครื่องนุงหม อุตสาหกรรมตัดเย็บเสื้อผา และอุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดิบในประเทศเพื่อน
                   บาน เชน อุตสาหกรรมไฟฟา กาซธรรมชาติ อุตสาหกรรมเกษตร โทรคมนาคม ทองเที่ยว
                   และบริการตางๆ โดย ไทยมีมูลคาการลงทุนสะสมในลาวเปนอันดับหนึ่ง เปนอันดับสาม
                   ในพมารองจากสิงคโปร และอังกฤษ เปนอันดับ 5 ในกัมพูชา และเปนอันดับ 11 ใน
                   เวียดนาม
                 • ความสัมพันธไทย-จีน ในดานการคามีการขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกป แตสวนใหญไทยเปน
                   ฝายขาดดุลการคา สินคาที่คาขายกันสวนใหญเปนสินคาอุปกรณชิ้นสวนอิเลคทรอนิกส
                   คอมพิวเตอร อุปกรณไฟฟา เหล็ก และพลาสติก ตลอดจนมีความรวมมือในการลดภาษี
                   เพื่อการคาผักผลไมระหวางกัน      ในดานการลงทุนไทยลงทุนในจีน สวนใหญเปน
                   อุตสาหกรรมเกษตรและบริการ ไดแก อาหารสัตว ธัญพืช ฟารมสัตว รถจักรยานยนต
                   โรงแรม รานอาหาร นวดแผนไทย สวนในประเภทที่จีนมาลงทุนในไทยไดแก
                   อุตสาหกรรมเบา กระดาษ เคมีภัณฑ พลาสติก
       2)   ไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเซีย       มีการติดตอคาขายกันมาอยางตอเนื่องและมีมูลคาการคา
            ขยายตัวสูงขึ้น โดยอัตราขยายตัวเฉลี่ยของการคาในชวง 5 ปที่ผานมา (2543-2547)
                • ไทยยังคงเปนคูคาหลักของมาเลเซียและอินโดนีเซีย คือ ระหวางป 2530-2547 ไทยเปนคู
                  คาอันดับ 6 ของมาเลเซีย และอินโดนีเซียนําเขาสินคาจากไทยอยูในอันดับที่ 7 โดยไทย
                  เปนฝายไดดุลการคากับอินโดนีเซียและมาเลเซีย (การคาชายแดน) แตขาดดุลการคากับ
                  มาเลเซียในสวนการคาระหวางประเทศ
                • สินคาออกของไทยไปกลุม IMT-GT ไดแก รถยนต เครื่องคอมพิวเตอร/อุปกรณ/
                  สวนประกอบ เคมีภัณฑ ยางพารา เหล็ก และเม็ดพลาสติก สินคานําเขามาไทย ไดแก
                  น้ํามันดิบ เครื่องคอมพิวเตอร/อุปกรณ/สวนประกอบ เคมีภัณฑ เครื่องจักรไฟฟาและ
                  สวนประกอบ สินแรโลหะเครื่องจักรกลและสวนประกอบ
ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                             15 of 19
• การลงทุนของมาเลเซียและอินโดนีเซีย           ในไทยเนนอุปกรณชิ้นสวนอิเลคทรอนิกส
                    อุตสาหกรรมเกษตร เคมีภัณฑ สวนที่ไทยไปลงทุน เปนประเภทการผลิตเครื่องจักร/
                    เครื่องมือ ขนสง อาหารและเคมีภัณฑ โดยอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในอนาคต ไดแก
                    ยางพาราและแปรรูปไมยาง อาหารฮาลาล ประมง บริการขนสง คาสง/คาปลีก โรงแรม
                    และการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวระหวางไทยและมาเลเซีย ซึ่งนักทองเที่ยว
                    มาเลเซียมีจํานวนมากเปนอันดับหนึ่งของนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาไทย


      3) ไทย - ประเทศ BIMSTEC บทบาทไทยยังนอยแตมีแนวโนมโอกาสการพัฒนาทางการคาการ
          ลงทุนเพิ่มมากขึ้น
          • ในปจจุบันกลุม BIMSTEC สวนใหญจะมีความใกลชิด และคาขายกับอินเดียมากกวาไทย มีเพียง
            พมาเทานั้น ที่มีความใกลชิดและเปนคูคาหลักของไทยในกรอบนี้ หากแตในชวงทศวรรษที่ผานมา
            การสงออกของไทยในตลาด BIMSTEC ถึงแมจะมีปริมาณเพียง 2.2 % ของการสงออกทั้งหมด
            แตมีอัตราเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเพิ่มสูงกวาอัตราการสงออกไปยังตลาดอื่นๆในโลกถึง 3 เทา
            ดังนั้น หากมีการพัฒนาความรวมมือระหวางกันอยางแข็งขัน จะถือไดวากลุมนี้ซึ่งมีอินเดียเปน
            ตลาดใหญ จะเปนตลาดที่มีศักยภาพของไทยในอนาคต
          • ในปจจุบันสินคาสงออกที่สําคัญของไทยในกลุมนี้ ไดแก เม็ดพลาสติก เหล็ก/ผลิตภัณฑ น้ํามันดิบ
            เครื่องรับวิทยุโทรทัศน/สวนประกอบ ผาผืน เครื่องจักรกล/สวนประกอบ เคมีภัณฑ สินคานําเขา
            สวนใหญไดแก กาซธรรมชาติ เครื่องเพชร/อัญมณี/เงินและทองคํา สินแรโลหะ เคมีภัณฑ น้ํามัน
            สําเร็จรูป ไม/ไมแปรรูป พืช/ผลิตภัณฑจากพืช
          • โอกาสของไทยในกลุมประเทศ BIMSTEC ไทยจะมีเปนความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบที่โดดเดน
            ในการคาสินคาจําพวกที่ใชแรงงานมีฝมือและใชวัตถุดิบที่มีในประเทศ เชน ยางพารา และอาหาร
            และในระดับปานกลาง คือพวก พลาสติก และอุตสาหกรรมไม โดยนโยบายการมุงตะวันตกของ
            ไทย           ผสานกับนโยบายมุงตะวันออกของอินเดียจะเปนแรงขับเคลื่อนสําคัญสําหรับกรอบ
            BIMSTEC ทั้งในปจจุบันและอนาคต


3.4.5 กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่สําคัญระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน
        กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน จัดเปนกรอบความรวมมือที่มีผลตอ
การพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคมากที่สุด      โดยกรอบความรวมมือนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใชขอไดเปรียบเชิง
เปรียบเทียบของแตละประเทศ เพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขัน สรางอํานาจตอรอง และลดชองวางทาง
เศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาค โดยสามารถสรุปแนวทางความรวมมือของแตละกรอบ ไดดังนี้

ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                               16 of 19
1) แผนงานการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ (GMS)
   กอตั้งในป 2535 ประกอบดวยสมาชิก 6 ประเทศ ไดแก กัมพูชา จีน (ยูนนานและตอมาเพิ่มกวางสี) สปป.ลาว
   ไทย และเวียดนาม โดยความชวยเหลือของ ADB ซึ่งมุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจ ผานการเชื่อมโยงตามแนว
   เศรษฐกิจ (Economic Corridor) การเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันและกระชับความสัมพันธของชุมชน
   หรือยุทธศาสตร 3Cs Connectivity Competitiveness Community โดยมีความรวมมือ 9 สาขา ครอบคลุม
   ดานโครงสรางพื้นฐาน สังคมสิ่งแวดลอม และ พลังงาน เปนสาขาหลัก
          2) ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี-เจาพระยา-แมโขง (ACMECS) ริเริ่มในป 2546
   ประกอบดวยสมาชิก 5 ประเทศ (กัมพูชา ลาว พมา เวียดนาม ไทย) โดยอยูบนพื้นฐานการสรางความเปน
   หุนสวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อลดชองวางทางเศรษฐกิจระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน
   โดยเนนการพัฒนาแบบองครวมในบริเวณพื้นที่ชายแดน ในลักษณะการพัฒนาเมืองคูแฝด Sister Cities ที่มี
   กิจกรรมการผลิตรวมกัน ทั้งดานเกษตรและอุตสาหกรรมรวมกัน โดยเนน 5 สาขาความรวมมือ ไดแก การ
   อํานวยความสะดวกดานการลงทุน เกษตรและอุตสาหกรรม คมนาคม ทองเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากร
   มนุษย
        3) แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ริเริ่มในป 2536
   ประกอบดวยประเทศสมาชิก 3 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย โดยมุงผลักดันความรวมมือ
   ภาคเอกชนในดานความรวมมือทางเศรษฐกิจ อาทิ การลงทุนทางดานพัฒนาฐานการผลิตและการแปรูป
   ตอเนื่อง การใชทรัพยากรทางเศรษฐกิจรวมกันในภาคใตของไทย ภาคเหนือและตะวันตกของมาเลเซีย และ
   เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย           และการแสวงหาความรวมมือในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการเชื่อม
   เสนทางคมนาคม เพื่อพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ชายแดนที่อยูติดกันระหวางไทยและมาเลเซีย และการ
   เชื่อมโยงกับอินโดนีเซีย ทั้งนี้ โดยภาครัฐเปนผูสนับสนุนดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการพัฒนาดาน
   กฎระเบียบเพื่ออํานวยความสะดวก โดยปจจุบันมีความรวมมือ 6 สาขาหลัก ไดแก การโครงสรางพื้นฐาน
   การคาและการพัฒนาจากจุดเริ่มแรก การพัฒนาตลาดเสรีดานโทรคมนาคม การทองเที่ยว การพัฒนา
   ทรัพยากรมนุษย และการพัฒนาพื้นที่นอกเขตเมืองและการคาระหวางพื้นที่ และอยูระหวางการขยายเพิ่ม
   สาขาความรวมมือที่จําเปนในสถานการณปจจุบันอีก 3 ดาน ไดแก สาธารณสุข พลังงานทดแทน และการ
   ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
       4) กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจ (BIMST-EC) ริเริ่มในป 2540 ประกอบดวยสมาชิก 7 ประเทศ
   ไดแก บังคลาเทศ ภูฐาน อินเดีย พมา เนปาล ศรีลังกา และประเทศไทย โดยมุงหวังการเสริมสราง
   สภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ        การใหความชวยเหลือในประเด็นที่เปน
   ผลประโยชนรวม รวมทั้งการใหความชวยเหลือดานการฝกอบรมและวิจัย บนพื้นฐานของความเทาเทียมทาง
   เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี


ดร.สุวิทย คุณกิตติ
                                              17 of 19
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปrawi05022544
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจKunlaya Kamwut
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นKiat Chaloemkiat
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นหรร 'ษๅ
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
การศึกษาไทยในกระแสโลกาภิวัตน์
การศึกษาไทยในกระแสโลกาภิวัตน์การศึกษาไทยในกระแสโลกาภิวัตน์
การศึกษาไทยในกระแสโลกาภิวัตน์Maruding
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507bE31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507btoreiei
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นเรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นNutdanai Dt
 
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6Giftfy Snw
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)Nicha Nichakorn
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkAmr Thabet
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1cookie47
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6Pukkawin Ngamdee
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 

Viewers also liked (20)

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
การศึกษาไทยในกระแสโลกาภิวัตน์
การศึกษาไทยในกระแสโลกาภิวัตน์การศึกษาไทยในกระแสโลกาภิวัตน์
การศึกษาไทยในกระแสโลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507bE31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นเรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
 
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development Framework
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 

Similar to โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น

กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
International Finance Doc
International Finance DocInternational Finance Doc
International Finance Docmaovkh
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Docmaovkh
 
Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552Sarod Paichayonrittha
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
doc me
doc medoc me
doc memaovkh
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
ทวีปออสเตรเลีย (1)
ทวีปออสเตรเลีย (1)ทวีปออสเตรเลีย (1)
ทวีปออสเตรเลีย (1)wasinee rungsangsuwan
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
artscolumn
artscolumnartscolumn
artscolumnRMIT
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น (20)

กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
International Finance Doc
International Finance DocInternational Finance Doc
International Finance Doc
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Doc
 
Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
Document1
Document1Document1
Document1
 
doc me
doc medoc me
doc me
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
2
22
2
 
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
 
ทวีปออสเตรเลีย (1)
ทวีปออสเตรเลีย (1)ทวีปออสเตรเลีย (1)
ทวีปออสเตรเลีย (1)
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
artscolumn
artscolumnartscolumn
artscolumn
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 

More from Dr.Choen Krainara

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsDr.Choen Krainara
 

More from Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น

  • 1. การบรรยายพิเศษในหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดย ดร.สุวิทย คุณกิตติ รายวิชาทฤษฏีความรูโลกาภิวัตนและภูมิปญญาทองถิ่น วันที่ 17 มิถุนายน 2549 เวลา 09.00-16.00 น. หัวขอเรื่อง บริบทในดานตางๆ เชน เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และวิทยาศาสตรที่ เกี่ยวของกับสถานะของความรูและการพัฒนาภูมิภาค  ********************************************** 1. ความเปนมาของโลกาภิวัตน (Globalization) 1.1 ความหมายของโลกาภิวัตน โลกาภิวัตน (Globalization) หมายถึงปรากฏการณของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ซึ่งนําพาโดยการขยายของสิ่งอํานวยความสะดวกดานการขนสงและการสื่อสาร และการพึ่งพา ระหวางกันระหวางวัฒนธรรมที่โดยปกติแลวคอนขางหางไกลกัน การเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของการคาระหวาง ประเทศและการเงินไดเปนเครืองมือใหมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไดลึกซึ้งมากขึ้น สงผลใหมีการเพิ่มผลกระทบ ่ ของประเด็นระดับโลกไปยังระดับทองถิ่น นอกจากนี้องคกรระหวางประเทศก็ไดใหนิยามของโลกาภิวัตน ไวดังนี้ • กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ไดใหความหมายวาโลกาภิวัตน คือ การขยายตัวของการพึ่งพาทางเศรษฐกิจของประเทศตางๆ ทั่วโลกโดยการการเพิ่มขึ้นของปริมาณและ ความหลากหลายของธุรกรรมขามพรมแดนที่เปนสินคา และบริการ การเคลื่อนยายทุนระหวางประเทศที่ รวดเสรีมากขึ้น และการกระจายตัวอยางกวางขวางและรวดเร็วของเทคโนโลยี • ธนาคารโลก (World Bank) ไดใหความหมายวาโลกาภิวัตน คือ เสรีภาพและความสามารถของบุคคล ตางๆและบริษัทตาง ในการริเริ่มประกอบธุรกิจแบบสมัครใจกับประชาชนผูอยูอาศัยในประเทศอื่นๆ ประเด็นของการเรียกชื่อของผูนิยมโลกาภิวัตน (Globalism) มีคอนขางหลากหลายแนวคิด ซึ่งไดมีการเนนย้ําภาพ มุมมองระดับโลก โดยในมุมองของนักกิจกรรม ทั้งโลกาภิวัตน และผูนิยมโลกาภิวัตนมีความหมายคูกัน ขึ้นอยูกับ การใช หรืออยางใดอยางหนึ่ง คือ • อางถึงภาพดานบวกและปรัชญาระดับโลกที่นําไปสูความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยน ระหวางวัฒนธรรม และการนับถือวัฒนธรรมทองถิ่น • ในทํานองเดียวกันอาจเกี่ยวกับนโยบายการขยายเศรษฐกิจของประเทศหรืออาณานิคมทางวัฒนธรรม ซึ่ง จะคุกคามตอวัฒนธรรมทองถิ่น โดยแงมุมของการเสรีของการพึ่งพาทั่วโลกจะถูกชี้นํา ควบคุม จํากัด หรือ ในอีกทางหนึ่งคือการกําหนดรูปราง โดยถูกขับเคลื่อนโดยความสนใจของการทํากําไรของบริษัทขามชาติ ดร.สุวิทย คุณกิตติ 1 of 19
  • 2. สําหรับแงมุมเฉพาะดานเศรษฐกิจ สวนมากมักจะอางถึงผลกระทบจากการคาโดยเฉพาะการเปดเสรีทางการคา (หรือในทางที่กําลังถกเถียงคือ “การคาเสรี”) หากมองอยางรวมๆ โลกาภิวัตน อางถึงการบูรณาการทั้งหมดและ สงผลใหมีการเพิ่มขึ้นของการพึ่งพาระหวางผูเ ลนในเวทีโลก เชน ทางดานการเมือง ทางดานเศรษฐกิจ หรือ อื่นๆ 1.2 ความเปนมา การผอนคลายกฎระเบียบ (Liberalization) หมายถึงการผสมผสานกันของทฤษฏีทางเศรษฐศาสตรแบบเสรีกับ การลดอุปสรรคสําหรับการเคลื่อนยายของสินคา ซึ่งนําไปสูความเชี่ยวชาญของแตละประเทศในการสงออก และ เปนตัวกดดันเพื่อใหยกเลิกการปกปองทางภาษีและอุปสรรคอื่นๆ ทางการคา ระยะเวลาของมาตรฐานทองคําและ การผอนคลายกฎระเบียบในชวงคริสศตวรรษที่ 19 มักเรียกวา “ชวงแรกของโลกาภิวัตน” จากชวงการขยายอาณา นิคมทางเรือของอังกฤษและการแลกเปลี่ยนของสินคาที่ผูกกับเงินตราสกุลตางๆ ชวงนี้มีการขยายตัวพรอมกับการ เปนอุตสาหกรรม พื้นฐานทางทฤษฏีมาจากงานของ David Ricardo เกี่ยวกับความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบและ ไดพูดถึงดุลยภาพทั่วไป ในใจความสําคัญไดใหความคิดเห็นวา ชาติตางๆ จะคาขายกันอยางมีประสิทธิผล และ ปญหาชั่วคราวเกี่ยวกับการจัดหาและความตองการจะแกไขตัวเองโดยอัตโนมัติ สถาบันที่ดูแลมาตรฐานทองคํา ไดถูกนํามาใชในประเทศอุตสาหกรรมหลักๆ ระหวางประมาณป พ.ศ. 2393 และ พ.ศ. 2423 แมวาเวลาที่แนนอน ที่ประเทศตางๆ ไดใชมาตรฐานทองคํายังมีการถกเถียงอยู ชวงแรกของโลกาภิวัตน มีการพูดกันวาไดหยุดลงหลายชวงเริ่มตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ 1 และตอมาไดลมสลาย เนื่องจากวิกฤตการณมาตรฐานทองคําในปลายป พ.ศ. 2463 และตนป พ.ศ. 2473 ประเทศซึ่งไดเกี่ยวของใน ชวงแรกของโลกาภิวัตนประกอบดวย สมาชิกหลักของสหภาพยุโรป ประเทศรอบนอกสหภาพยุโรปบางประเทศ และประเทศในยุโรปที่มีสาขาในทวีปเมริกาและโอเชเนียมีความมั่งคั่งมากขึ้น ความเหลื่อมล้ําระหวางประเทศ ลดลง เมื่อสินคา ทุน และแรงงาน มีการเคลื่อนยายอยางเสรีระหวางประเทศ โลกาภิวัตนในชวงตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดรับการขับเคลื่อนโดยรอบเจรจาการคาในเบื้องตนอยูภายใตการ ริเริ่มของกรอบความตกลงทั่วไปวาดวยภาษีและการคา ( General Agreement on Tariff and Trade: GATT) ซึ่ง ไดนําไปสูการทําขอตกลงหลายฉบับเพื่อปรับลดขอจํากัดเกี่ยวกับการ”คาเสรี” การเจรจารอบอุรุกวัยนําไปสูการ จัดทําขอตกลงเพื่อการจัดตั้งองคการการคาโลก (World Trade Organization: WTO) เพื่อเปนตัวกลางในการไกล เกลี่ยการพิพาททางการคา นอกจากนี้ยังมีการลงนามความรวมมือทางการคาทวิภาคีอื่นๆ ประกอบดวย สวน ตางๆ ของสนธิสัญญา Europe’s Maastricht และขอตกลงเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement: NAFTA) โดยมีเปาหมายเพื่อลดภาษีและอุปสรรคทางการคา ดร.สุวิทย คุณกิตติ 2 of 19
  • 3. 2. ลักษณะเฉพาะของโลกาภิวัตน โลกาภิวัตนสามารถจําแนกดวยแนวโนมตางๆ ซึ่งสวนมากพัฒนาตั้งแตชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันประกอบดวย การเพิ่มขึ้นของการของเคลื่อนยายระหวางประเทศของสินคา เงิน ขอมูล และคน และการพัฒนาของเทคโนโลยี องคกร ระบบกฎหมาย และโครงสรางพื้นฐานเพื่ออํานวยความสะดวกการเคลื่อนยายนี้ โดยตัวอยางของ ลักษณะเฉพาะของโลกาภิวัตนที่มีอยูในปจจุบันที่มีการกลาวถึงไดแก 2.1 ดานเศรษฐกิจ • การเพิ่มขึ้นของการคาระหวางประเทศในอัตราที่รวดเร็วกวาอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจโลก • การเพิ่มขึ้นของการเคลื่อนยายเงินทุนระหวางประเทศประกอบดวยการลงทุนโดยตรงระหวางประเทศ • การเสื่อมถอยของบูรณภาพของชาติและพรมแดนของชาติจากขอตกลงระหวางประเทศนําไปสูการจัดตั้ง องคการตาง เชน องคการการคาโลก (WTO) และ OPEC • การพัฒนาของระบบการเงินของโลก • การเพิ่มขึ้นของสัดสวนของเศรษฐกิจโลกที่ควบคุมโดยบริษัทขามชาติ • การเพิ่มบทบาทขององคกรระหวางประเทศ เชน WTO WIPO IMF ซึ่งดําเนินงานเกี่ยวกับธุรกรรมระหวาง ประเทศ • การเพิ่มขึ้นของการปฏิบัติทางเศรษฐกิจ เชน outsourcing โดยธุรกิจบริษัทขามชาติ 2.2 ดานวัฒนธรรม • การเพิ่มขึ้นของการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหวางประเทศ • การกระจายตัวของวัฒนธรรมที่หลากหลาย และการเขาถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายสวนบุคคล เชน โดย การสงออกของภาพยนตร Hollywood และ Bollywood อยางไรก็ตามการนําเขาวัฒนธรรมสามารถเขา ทดแทนวัฒนธรรมทองถิ่น สงผลใหลดความหลากหลายและทําใหเกิดการวัฒนธรรมผสม (Hybridization) หรือบางทีถึงขั้นการกลืนวัฒนธรรม (Assimilation) ซึ่งตัวอยางที่เห็นไดชัดคือการทําให เปนวัฒนธรรมตะวันตก (Westernization) • การเพิ่มขึ้นของการเดินทางระหวางประเทศและการทองเที่ยว • การเพิ่มขึ้นของการเขาเมืองรวมทั้งการเขาเมืองผิดกฎหมาย • การกระจายตัวของอาหารทองถิ่น เชน พิซซา และอาหารอินเดีย ในหลายประเทศ (สวนมากจะปรับปรุง รสชาติใหสอดคลองกับทองถิ่น) ดร.สุวิทย คุณกิตติ 3 of 19
  • 4. 2.3 ดานเทคโนโลยี • การพัฒนาของโครงสรางพื้นฐานดานโทรคมนาคมของโลกและการเพิ่มขึ้นของการเคลื่อนยายของขอมูล ขามพรมแดน การใหเทคโนโลยี เชน อินเตอรเนท ดาวเทียมสื่อสาร และโทรศัพท 2.4 ดานกฎหมาย • การเพิ่มขึ้นของจํานวนมาตรฐานตางๆ ที่ถูกนําไปใชทั่วโลก เชน กฎหมายสิขสิทธิ์ และสิทธิบัตร • การผลักดันโดยผูสนับสนุนตางๆเพื่อการจัดตั้งศาลอาชญากรรมระหวางประเทศและการเลื่อนไหวเพื่อ ความยุติธรรมระหวางประเทศ • บางทานก็ไดใหความคิดเห็นวาแมแตการกอการรายก็ไดเปลี่ยนแปลงตามโลกาภิวัตนโดยการโจมตี ประเทศตางๆ ที่ไมไดกอใหเกิดความสัมพันธโดยตรงกับประเทศของตนเอง 2.5 ผลของการเจรจาการคาระหวางประเทศ อุปสรรคตางๆ ตอการคาระหวางประเทศไดคอยๆลดลง ตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยขอตกลงระหวาง ประเทศตางๆ ไดแก GATT ผลของการดําเนินงานภายใต GATT และ WTO ประกอบดวย • การสงเสริมการคาเสรี Ø ของสินคา v การลดหรือการขจัดภาษี การสรางเขตการคาเสรีขนาดเล็กหรือไมมีภาษี v การลดตนทุนดานการขนสง โดยเฉพาะการพัฒนาการใชตูคอนเทนเนอรขนสงสินคา สําหรับการขนสงทางทะเล Ø ของทุน: การลดหรือขจัดการควบคุมทุน Ø การลด การขจัด หรือการทําใหมีความคลายคลึงกันของการอุดหนุนสําหรับธุรกิจทองถิ่น • ขอจํากัดตางๆ ของทรัพยสินทางปญญา Ø การทําใหมีความคลายคลึงกันของกฎหมายทรัพยสินทางปญญาครอบคลุมทุกประเทศ (ทั่วๆ ไป คือการทําใหมีขอจํากัดมากขึ้น) Ø การใหการยอมรับขามประเทศของขอจํากัดตางๆ ของทรัพยสินทางปญญา ( เชน สิทธิบัตร ที ออกโดยประเทศจีน จะไดรับการรับรองในประเทศสหรัฐอเมริกา) 2.6 การตอตานโลกาภิวัตน หลายแงมุมของโลกาภิวัตนถูกมองวาเปนอันตรายโดยนักกิจกรรมที่สนใจผลประโยชนสาธารณะและผูซึ่งชาตินิยม อยางเขมแข็งโดยปกติมักเรียกวาเปนกลุมนักเคลื่อนไหวเพื่อความยุติธรรมแหงโลก ซึ่งการตอตานโลกาภิวัตนมี หลากหลายชนิด โดยทั่วไปนักวิจารณมองวาผลของโลกาภิวัตนยังไมเปนไปตามที่คาดหวังไวเมื่อพยายามเพิ่ม ดร.สุวิทย คุณกิตติ 4 of 19
  • 5. การคาเสรีไดเริ่มขึ้น และหลายองคกรที่เกี่ยวของในระบบโลกาภิวัตนยังไมไดใหความสนใจและใหความสําคัญกับ ประเทศที่ยากจน ชนชั้นทํางานและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังมีขอคิดเห็นที่ตอตานโลกาภิวัตนที่เกี่ยวของ ไดแก • ขอคิดเห็นดานเศรษฐกิจโดยนักเศรษฐศาสตรดานการคาอยางเทาเทียมมองวาการคาเสรีแบบไมมี ขอจํากัดกอใหเกิดประโยชนตอผูซึ่งมีกําลังทางการเงิน (เชน คนรวย) โดยอยูบนคาใชจายของคนยากจน • ผูตอตานโลกาภิวัตนหลายคนมองวาโลกาภิวัตนเปนการสงเสริมของวาระการเปนธุรกิจบริษัท ซึ่งมีการจง ใจที่จะจํากัดเสรีภาพของบุคคลตางๆ เพื่อประโยชนของกําไร พวกเขายังมองวาการเพิ่มขึ้นของความเปน อิสระและความเขมแข็งของกลุมบริษัทจะทําใหสามารถกําหนดนโยบายทางการเมืองของหลายๆ ประเทศ • บางคนมองวาโลกาภิวัตนไดกอใหเกิดวิชาเศรษฐศาสตรที่ใชเครดิตเปนฐาน สงผลใหเกิดการเติบโตที่ไม ยั่งยืนของหนี้และวิกฤตการณหนี้ • การเพิ่มขึ้นของกฎหมายและกฎระเบียบในขณะที่มีการลดลงของการแทรกแซงจากทางรัฐบาลประเทศ ตางๆ เพื่อปกปองความมั่นคั่งและธุรกิจตางๆ • นักตอตานบางคนปฏิเสธความจริงวาโลกาภิวัตนในปจจุบัน ไดทําใหมีการเคลื่อนยายเงินและธุรกิจ บริษัททั่วโลกแตยกเวนคนและสหภาพตางๆ ซึ่งสามารถพิจารณาไดจากการควบคุมการเขาเมืองอยาง เขมงวดในเกือบทุกประเทศ และการขาดสิทธิ์ของแรงงานในหลายประเทศในประเทศกําลังพัฒนา 2.7 การวัดผลของโลกาภิวัตน การวัดระดับของโลกาภิวัตนที่แตละประเทศไดเขาไปเกี่ยวของในแตละปไดมีการวัดเมื่อไมนานมานี้โดยใช หลักการงายๆ เปนทางเลือก เชน การเคลื่อนยายทางการคา การยายถิ่นฐาน หรือการลงทุนโดยตรงจาก ตางประเทศ วิธีการทีซับซอนกวานี้สําหรับวัดผลของโลกาภิวัตนลาสุดไดแกดัชนีซึ่งคํานวณโดยกลุมนักคิดของ สวิสเซอรแลนด โดยดัชนีไดวัดจาก 3 มิติหลัก ของโลกาภิวัตน คือ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง นอกจากนี้ยังมี ดัชนีรวมของโลกาภิวัตนและดัชนียอยโดยอางถึงการเคลื่อนยายทางเศรษฐกิจในปจจุบัน ขอจํากัดทางเศรษฐกิจ ขอมูลการติดตอสวนบุคคล ขอมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนยายของขาวสาร และขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่อยูใกลๆ ขอมูลจะมีการเผยแพรทุกๆ ป สําหรับ 122 ประเทศ โดยประเทศที่มีระดับของโลกาภิวัตนมากที่สุดไดแก สหรัฐอเมริกา ตามดวยแคนาดา อังกฤษ และฝรั่งเศส และประเทศที่มีระดับของโลกาภิวตนนอยที่สุด ไดแก บุรุนดี ั เบลิส เซียราเลียโอน เปนตน 3. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจและการกําหนดบทบาทของไทยในเวทีโลกและภูมิภาค 3.1 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุพาคี และบทบาทของเศรษฐกิจเอเชียที่ เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีนและอินเดีย ดร.สุวิทย คุณกิตติ 5 of 19
  • 6. การรวมกลุมทางการคามีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งจํานวนกลุมการตกลงการคาเสรี และความครอบคลุมของกิจกรรม ทางเศรษฐกิจที่อยูภายใตขอตกลง (Degree of economic integration) จะเพิ่มมากขึ้น การตกลงทางการคา เหลานี้เปนปจจัยที่สําคัญที่จะมีผลตอรูปแบบของระบบการคาของโลก (World trading system) ที่จะมีความ เขมขนมากขึ้น และมีผลตอกลไกการปรับตัวและการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและการปรับตัวในระดับกิจการของภาค ธุรกิจเอกชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน 3.1.1 การรวมกลุมทางการคาและขอตกลงการคาเสรีตาง ๆ ในระยะ 40 ปที่ผานมา ประเทศกําลังพัฒนามีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในตลาดโลก โดยสัดสวนในการคาโลกเพิ่มขึ้น จากรอยละ 20 ในป 2503 เปนประมาณรอยละ 35 ในป 2547 ในขณะที่ปริมาณและมูลคาของการคาโลกก็ได เพิ่มขึ้นมาก และในประเทศตาง ๆ สัดสวนการคาระหวางประเทศใน GDP ก็เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วและตอเนือง ่ เชนกัน ในชวงเวลาดังกลาวไดมีการเจรจาการคาหลายฝายหรือพหุพาคี 3 รอบรวมทั้งมีการปรับโครงสราง เศรษฐกิจในหลาย ๆ ประเทศซึ่งนโยบายหลักที่สําคัญในการปรับโครงสรางประการหนึ่งคือ การเปดเสรีทางการคา มากขึ้นโดยการลดกําแพงภาษีนําเขา รวมทั้งการสรางตลาดใหมสําหรับการสงออก และในป2537 ไดมีการจัดตั้ง องคการการคาโลก (World Trade Organization: WTO) แตในปจจุบันและแนวโนมในระยะตอไปนั้นระบบและกฎเกณฑทางการคากําลังเปลี่ยนไป โดยที่การตกลงทางการ คาทวิภาคีและภูมิภาค (Regional Trade Agreements: RTAs) มีจํานวนมากขึ้น จํานวนขอตกลงในลักษณะ ดังกลาวเพิ่มขึ้นมากกวา 4 เทาตั้งแตป 2533 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน และมีจํานวนสูงถึง 230 กลุมขอตกลงในป 2547 และอีกประมาณ 60 กลุมขอตกลงกําลังอยูในขั้นตอนตาง ๆ ของการเจรจา ซึ่งจะทําใหในป 2548 จะมีกลุม ขอตกลงประมาณ 290 กลุม และในปจจุบันเกือบทุกประเทศอยูในกลุมขอตกลงการคาเสรีอยางนอยหนึ่งกลุม และโดยเฉลี่ยแตละประเทศอยูในอยางนอย 6 กลุม RTAs ประเทศไทยเองจะมีขอตกลงระดับทวิภาคีกับ 8 ประเทศกับอีก 2 กลุม มูลคาการคาในระหวางสมาชิกของ RTAs ในปจจุบันคิดเปนสัดสวนเกือบรอยละ 40 ของมูลคาการคารวมของโลก ในขณะที่การเจรจาขอตกลงใหม ๆ ครอบคลุมทั้งดานการคาและดานอื่น ๆ อาทิ ดานการลงทุนดานบริการ ลิขสิทธิ์ และการเคลื่อนยายแรงงาน โดยที่การเจรจาใน 4 ดานนี้ที่นอกเหนือไปจากการคาสินคามีมากขึ้นตามลําดับและใน ปจจุบันมักจะถูกรวมไวในกรอบการเจรจาการคาเสรีในกลุมตาง ๆ แตอยางไรก็ตามมูลคาของสิทธิพิเศษ (Value of Preferences) ลดลงตามลําดับเนื่องจากประเทศสวนใหญไดมีการลดกําแพงภาษีเปนการทั่วไปในกรอบของ Most favored nation ไปพรอม ๆ กับการลดภาษีภายใตกรอบ RTAs ดวย ดร.สุวิทย คุณกิตติ 6 of 19
  • 7. 3.1.2 ผลกระทบตอประเทศไทย ตลาดสงออกที่ประเทศไทยมีขอตกลง FTA จะครอบคลุมประชากรรอยละ 45 ของประชากรโลก ซึ่งมีขนาด GDP เทากับรอยละ 48.4 ของเศรษฐกิจโลก ทําใหโอกาสทางเศรษฐกิจของประเทศไทยมีมากขึ้น ทั้งจากการคาภายใน กลุมขอตกลงและกับกลุมเศรษฐกิจอื่นที่ใหลําดับความสําคัญของตลาดไทยมากขึ้นในฐานะที่เปน spring board ไปสูตลาดเอเชีย แนวโนม RTAs ที่เพิ่มขึ้นนี้ทําใหระบบการคาโลกมีความซับซอนมากขึ้นโดยที่ประเทศตาง ๆ มี ขอตกลงที่แตกตางกันและใชกฎเกณฑที่แตกตางกันไปตามกลุมคูคาภายใตขอตกลงที่แตกตางกันไป (Spaghetti bowl effect) ซึ่งจะทําใหการปฏิบัติทางพิธีศุลกากรมีความยุงยากมากขึ้น ทําใหภาคธุรกิจเอกชนตองปรับตัวและมี การเขาถึงฐานขอมูลที่ครบถวนเหมาะสมโดยการสนับสนุนของภาครัฐเพื่อใหการดําเนินธุรกิจมีความคลองตัว แต ขณะเดียวกันการแขงขันจากกลุมจะรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากจะมีจํานวนประเทศทีไดรับผลประโยชนในการเขาถึง ่ ตลาดจากการที่เปนสมาชิกของขอตกลงตาง ๆ มากขึ้น ซึ่งจะทําใหประเทศไทยตองมีการปรับตัวทั้งในการบริหาร เศรษฐกิจสวนรวมใหมีประสิทธิภาพและการปรับตัวในระดับจุลภาคเพื่อใหแขงขันได อาทิ การเพิ่มคุณภาพและ มาตรฐานแรงงาน และคุณภาพและมาตรฐานสินคารวมทั้งมาตรฐานดานความปลอดภัยในการผลิตและการขน ถายสินคา ซึ่งเปนการปรับเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการ 3.2 ศูนยกลางเศรษฐกิจใหม: เอเชีย จีน และอินเดีย 3.2.1 การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ เศรษฐกิจของประเทศจีนมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยขยายตัวเฉลี่ยประมาณรอยละ 9.3 ตอป ในชวงป2533- 2547 และคาดวาจะขยายตัวรอยละ 8.0-8.5 ในป 2548 ซึ่งเปนอัตราการขยายตัวที่สูงกวาอัตราการขยายตัวโดย เฉลี่ยของเศรษฐกิจในกลุมประเทศตาง ๆ มาก ทําใหสัดสวน GDP ของประเทศจีนใน GDP รวมของโลกเพิ่มขึ้น ตอเนื่องจากรอยละ 1.8 ในป 2533 เปนรอยละ 3.9 ในป 2546 เชนเดียวกับเศรษฐกิจของอินเดียซึ่งมีการขยายตัว คอนขางดีและไมไดรับผลกระทบจากวิกฤตทางเศรษฐกิจในเอเชียในชวงป 2540-2541 และมีการขยายตัวเฉลี่ย รอยละ 6.3 ตอปในชวงป 2545-2547 และคาดวาจะขยายตัวประมาณรอยละ6.7 ในป 2548 และเศรษฐกิจมี ขนาดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 1.6 ของ GDP รวมของโลกในป 2546ดังนั้นโดยรวมเศรษฐกิจเอเชียจะมี บทบาทมากขึ้นในระบบเศรษฐกิจโลกและจะเปนตลาดสงออกที่สําคัญของโลก ประเทศจีนจะกลายเปนผูประกอบการและผูผลิตสินคาอุตสากรรมที่เปน World class มากขึ้น จากการที่บรรษัท ขามชาติตาง ๆ มีการเคลื่อนยายฐานการผลิตไปสูประเทศจีนมากขึ้นและยังจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอนาคต เนื่องจากจีนเปนตลาดใหญ มีความไดเปรียบดานคาแรงงาน และทรัพยากรบุคคลที่มีศักยภาพในขณะที่อินเดียมี ความไดเปรียบทางดานภาษาและทรัพยากรบุคคลในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งจะทําใหประสบ ความสําเร็จและมีความไดเปรียบในดานบริการที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น (IT-enabled services) ดร.สุวิทย คุณกิตติ 7 of 19
  • 8. 3.2.2 ผลกระทบตอประเทศไทย จีนและอินเดียจะเปนประเทศคูคาที่สําคัญมากขึ้นสําหรับประเทศไทย จะเห็นวาสัดสวนการสงออกของไทยไปสู ประเทศจีนเพิ่มขึ้นจากรอยละ3.0 ในป 2540 เปนรอยละ 7.1 ในป 2546 ในขณะที่มูลคาการสงออกไปยังตลาด อินเดียคิดเปนสัดสวนรอยละ 0.9 ของมูลคาการสงออกของไทยในชวง 11 เดือนแรกป 2547 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรอยละ 0.6ในป 2545 และรอยละ 0.8 ในป 2546 การที่จีนเปนฐานการผลิตสินคาอุตสาหกรรมที่สําคัญมากขึ้นของโลกจากการยายฐานการผลิตของโลกสูประเทศ จีนมากขึ้น จะทําใหเกิดความเชื่อมโยงของวงจรการผลิตในภูมิภาคเอเชียมากขึ้น และประเทศไทยเองเรงสราง เครือขายทางการคาและการลงทุนกับจีนมากขึ้น แตเนื่องกฎระเบียบดานศุลกากร และระบบภาษีภายในประเทศ จีนยังมีความซับซอนและแตกตางกันระหวางมณฑลตาง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจึงจําเปนตองมีฐานขอมูลที่ ครบถวนและทันสมัยประเทศอินเดียมีความไดเปรียบดานการศึกษาจากอิทธิพลของสหราชอาณาจักร รวมทั้งการ มีทรัพยากรบุคคลในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มากกวาประเทศอื่นในเอเชีย ดังนั้นความรวมมือดาน การศึกษาและการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยเฉพาะในดานซอฟแวรจะเปน ผลประโยชนตอประเทศไทยสัดสวนของชนชั้นกลางของสองประเทศนี้มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากภาวะเศรษฐกิจที่มีการ ขยายตัวตอเนื่องและมีการจางงานเพิ่มขึ้น ซึ่งจะทําใหกําลังซื้อเพิ่มขึ้น ดังนั้นทั้งสองตลาดนี้จะมีความสําคัญตอ การสงออกและการทองเที่ยวของไทยมากขึ้นตามลําดับ ในขณะที่การแขงขันในสองตลาดนี้จากประเทศตาง ๆ ก็ จะเพิ่มขึ้นดวยเชนกัน ดร.สุวิทย คุณกิตติ 8 of 19
  • 9. ความตกลงทางการคาเสรีของ กลุมตาง ๆ ป 2547 ดร.สุวิทย คุณกิตติ 9 of 19
  • 10. 3.3 ปจจัยผลักดันเพื่อการกําหนดบทบาทของไทยในเวทีโลกและภูมิภาค ทิศทางการดําเนินนโยบายความรวมมือระหวางประเทศ และความกาวหนาในยุคโลกาภิวัฒนในปจจุบัน ไดเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาคตางๆใหใกลชิดกันมากขึ้น ซึ่งการที่โลกเขาสูชวงของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญทั้งใน ดานเศรษฐกิจและสังคม สงผลกระทบในวงกวางตอระบบเศรษฐกิจและการปรับตัวของแตละประเทศ เพื่อให สามารถแขงขันไดและสรางความเปนอยูที่ดีแกประชาชน โดยสถานการณเศรษฐกิจสําคัญของโลก ที่มีผลตอการ รวมกลุมทางเศรษฐกิจของไทยกับประเทศเพื่อนบาน และการปรับบทบาทของไทย ดังนี้ 3.3.1 การเพิ่มบทบาทของเศรษฐกิจเอเชีย และการกาวสูการเปนศูนยกลางการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ใหมที่สําคัญของจีนและอินเดีย : ในปจจุบันประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูงกวาเศรษฐกิจโลกกระจุกตัวอยูใน ประเทศจีน อินเดีย และประเทศในเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะจีนซึ่งมีการลงทุนจากตางประเทศจํานวนมากและ การใชจายตอครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น และอินเดียที่มีความกาวหนาในระบบการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรม ยาและเวชภัณฑ ทําใหบทบาทของทั้งสองประเทศตอระบบเศรษฐกิจโลกทวีความสําคัญมากขึ้น จนเศรษฐกิจของ สหรัฐอเมริกาไมใชเครื่องจักรที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกเพียงประเทศเดียวอีกตอไป 3.3.2 กระแสโลกาภิวัตน มีผลใหการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจโลกกับภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะความรวมมือของกลุมเศรษฐกิจตางๆ อาทิ กลุม EU, ASEAN, APEC, NAFTA มีผลใหเกิดการ เคลื่อนยายอยางเสรีของ ทุน คน เทคโนโลยี และความรู ดร.สุวิทย คุณกิตติ 10 of 19
  • 11. ทําใหหลายประเทศตองปรับโครงสรางอุตสาหกรรมจากการใชแรงงานราคาถูก ไปสูการใชแรงงานฝมือ และอุตสาหกรรมที่พึ่งพาเทคโนโลยี และจะพัฒนาไปสูอุตสาหกรรมฐานความรู 3.3.3 การเจรจาในกรอบพหุภาคี (WTO) มีความลาชา และบรรลุขอตกลงไดยาก การรวมกลุมทาง เศรษฐกิจทั้งระดับทวิภาคี (FTA) และระดับภูมิภาค (RTAs) จึงทวีความสําคัญเพิ่มมากขึ้น โดยประเทศไทยเองจะ มีขอตกลงระดับทวิภาคีกับ 8 ประเทศ และอีก 2 กลุม 3.3.4 ภาวการณทางเศรษฐกิจโลก ทําใหประเทศไทยตองปรับบทบาทเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ดังกลาว ทั้งในแงการขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจการคา การคมนาคมขนสง การพัฒนาและแลกเปลี่ยน ความรูทั้งทางดานทรัพยากรมนุษย เทคโนโลยี และสารสนเทศ กับกลุมประเทศที่มีความใกลชิดทางภูมิศาสตร เชน กลุมประเทศเอเชียใตและกลุมประเทศเอเชียตะวันออก เพื่อเปนฐานเศรษฐกิจแหงใหม เนื่องจาก อุตสาหกรรมหลายชนิดของไทยมีขีดความสามารถเชิงเปรียบเทียบนอยลง ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงโครงสราง ประชากรของไทยเองที่กําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุอยางรวดเร็ว ภายในป 2553 ที่ทําใหประชากรวัยแรงงานนอยลง การแสวงหาความรวมมือทางเศรษฐกิจและความรวมมือดานอื่นๆ กับประเทศตางๆ ในระดับภูมิภาค จึงมีความจํา เปนมากขึ้น 3.4 บทบาทและการปรับตัวของไทยในเวทีโลกและภูมิภาค ผลจากการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจโลกดังกลาว ทําใหการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศใน ภูมิภาคตางๆ ทั้งในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี และภูมิภาคมีความสําคัญเพิ่มมากขึ้น ในฐานะเปน เครื่องมือเพื่อสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของกลุมกับกลุมเศรษฐกิจ อื่นๆ โดยไทยไดมีบทบาทที่โดดเดนในเวทีระหวางประเทศ และเวทีภูมิภาคดังนี้ 3.4.1 บทบาทไทยในเวทีพหุภาคี บทบาทประเทศไทยในเวทีพหุภาคี มีความโดดเดนขึ้นจากการปรับบทบาทจากประเทศผูรับ(Recipient Country) เปนประเทศผูใหความชวยเหลือ (Donors Country) กับประเทศแถบแอฟริกา และประเทศเพื่อนบาน และการเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยไทยไดบรรลุเปาหมายการพัฒนาแหง สหัสวรรษ (MDGs) เกือบทุกเปาหมายไดกอนกําหนดเวลาถึง 10 ป โดยเฉพาะการลดความยากจน การสราง โอกาสการศึกษาที่เทาเทียม และการลดการแพรระบาดของโรคเอดส และมาลาเรีย นอกจากนั้นการปรับบทบาท ของประเทศไทย ยังสงผลใหมีการปรับความสัมพันธกับประเทศตางๆ เชน ญี่ปุน และกลุมสหภาพยุโรป ใน ลักษณะหุนสวนการพัฒนา (Development Partner) ประกอบกับบทบาทของไทยในเวทีตางๆ ที่เขมแข็งและ เพิ่มขึ้น โดยเวทีพหุภาคีที่ไทยเขาไปมีบทบาท และเปนสมาชิกหลัก มีดังนี้ ดร.สุวิทย คุณกิตติ 11 of 19
  • 12. กรอบความรวมมือ สาระสําคัญ องคการการคาโลก (World Trade เปนเวทีเจรจาการคาพหุพาคีที่กําหนดกติกาเพื่อลด Organization : WTO) อุปสรรคและขอกีดกันทางการคา และสนับสนุนการคา ระหวางประเทศใหมีความเสรียิ่งขึ้น โดยไทยใชเวทีนี้สราง ตลาดการคาที่เปดกวางขึ้น และมีเวทีเจรจาเพื่อรักษา ผลประโยชน ทั้งในการรักษาสิทธิของประเทศผูสงออก และปกปองคุมครองสินคาและบริการที่ออนไหวของ ประเทศ โดยอยูบนพื้นฐานการแขงขันที่เปนธรรม และไม เลือกปฏิบัติ กลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – เปนเวทีเสนอแนะเชิงนโยบายหารือแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น แปซิฟก (APEC) และประเด็นทางเศรษฐกิจ ที่มีวัตถุประสงคเพื่อสงเริม การคาระดับพหุภาคี สนับสนุนการขยายตัว ทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและโลก และการลดอุปสรรค ทางการคา และสนับสนุนการเปดเสรีภายใตขอตกลงของ WTO โดยมีเปาหมายที่จะเปดเสรีทางการคาในป 2553 สําหรับประเทศที่พัฒนาแลวและ 2563 สําหรับประเทศที่ กําลังพัฒนา กลุมเอเปกจึงถือเปนตลาดสงออกที่สําคัญ ของไทย เนื่องจากมีประชากร ถึง 2,000 ลานคน และมี ปริมาณการคาประมาณรอยละ 40 ของการคาโลก 3.4.2 บทบาทของไทยในเวทีภูมิภาค ในเวทีภูมิภาค ไทยใหความสําคัญและมีบทบาทอยางมากใน 3 กรอบ ดังนี้ กรอบความรวมมือ สาระสําคัญ ความรวมมือในกรอบอาเซียน ไทยใหความสําคัญและมีบทบาทสนับสนุนการดําเนินงาน (ASEAN) หลายดาน เชน (1) การลดภาษีภายใตเขตการคาเสรี อาเซียน (AFTA) (2) การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน (AIA) (3) การเปดเสรีบริการดานตางๆ (4) การกําหนดให อาเซียนเปนแหลงอาหารที่สําคัญของโลก (5) ความ ดร.สุวิทย คุณกิตติ 12 of 19
  • 13. กรอบความรวมมือ สาระสําคัญ รวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน (6) การอํานวย ความสะดวกการขนสงสินคาผานแดน และ (7) การ เสริมสรางความเขมแข็งดานตางๆ เพื่อใหอาเซียนสามารถ แขงขันกับเขตเศรษฐกิจอื่นๆของโลกได เชน ดานคมนาคม พัฒนาทรัพยากรมนุษย ความสามารถการแขงขันของ ภาคเอกชน และการลดชองวางระหวางอาเซียนเกา-ใหม Asian Cooperation Dialogue : ACD ริเริ่มโดยประเทศไทย โดยมุงเสริมสรางความแข็งแกรง และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของเอเชีย โดย อาศัยความแตกตางหลากหลายและทรัพยากรที่อุดม สมบูรณของเอเชียที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด โดย เชื่อมโยงเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันตก และเอเชียใต ที่ ประกอบดวยประเทศสมาชิก 28 ประเทศ โดยการ สงเสริม Asia-wide Cooperation ที่เปนการตอยอดหรือ เสริมความรวมมือในกรอบอื่น ๆ Initiative for ASEAN Integration : IAI เปนกรอบความรวมมือระดับภูมิภาค ที่มุงเนนการลด ชองวางจากการพัฒนากับประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดย ประเทศไทยเองมีบทบาทชวยเพิ่มขีดความสามารถและ ใหการฝกอบรมบุคลากรของประเทศ CLMV ทางดาน เทคนิคและวิชาการในดานตางๆ เพื่อเปนพื้นฐานความ รวมมือ ซึ่งนําไปสูเปาหมาย การเปนตลาดเดียว (Single Market) รวมทั้งการเปนฐานอุตสาหกรรมการผลิตเดียว และการมุงบรรลุเปาหมายในการเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ในป 2020 ในทายที่สุด 3.4.3 บทบาทไทยในเวทีประเทศเพื่อนบาน ประเทศไทยในปจจุบัน ไดแสดงบทบาทของการเปนหุนสวนการพัฒนาในภูมิภาคและอนุภูมิภาค ผานทางนโยบายการตางประเทศที่เรียกวา “ Forward Engagement” โดยมุงหวังการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมของภูมิภาค โดยถือหลักการชวยเหลือตัวเอง (Self - help Cooperation) และการสรางความ เขมแข็งจากความแตกตาง (Strength from Diversity) บนพื้นฐานการเปนหุนสวนทางเศรษฐกิจและสังคม ดร.สุวิทย คุณกิตติ 13 of 19
  • 14. โดยประเทศไทยไดมีการรวมกลุมทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบานในหลายกรอบ ทั้งประเทศในแถบเอเชีย ใต เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดย 1) ไทยไดสนับสนุนใหความชวยเหลือทางการเงินเพื่อการพัฒนา (ODA) แก ประเทศดอยพัฒนาในภูมิภาค ในป 2003 ประมาณ 167 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ รอยละ 0.13 ของรายไดประชาชาติ ซึ่งมากกวาประเทศออสเตรเลีย ญี่ปุน สหรัฐ และหลายประเทศใน OECD โดยรอยละ 93 ของความชวยเหลือของไทยไปยัง ประเทศดอยพัฒนาในทวีปแอฟริกา รวมทั้งประเทศเพื่อนบาน เชน กัมพูชา ลาว พมา โดยการใหความชวยเหลือดังกลาวจะเนนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใน ประเทศเพื่อนบาน เชน การสรางถนน สะพาน เขื่อน และโรงไฟฟา ซึ่งถือเปนการ พัฒนาความเชื่อมโยงทางคมนาคม และพลังงาน เพื่อรองรับการพัฒนา เศรษฐกิจระยะยาว 2) การใหความชวยเหลือดานเทคนิควิชาการ เชน การฝกอบรมบุคลากรในสาขา ตางๆ อาทิ การศึกษา สาธารณสุข เกษตร คมนาคม การเงิน การธนาคาร ไทยก็ มีการดําเนินการใหความชวยเหลือในลักษณะเดียวกันกับสหประชาชาติ และ ADB 3) บทบาทและแนวคิดริเริ่มในทุกกรอบความรวมมือทั้งระดับพหุภาคี ภูมิภาค และ อนุภูมิภาค เชน ไทยกับประเทศเพื่อนบาน จึงเปนการแสวงหาโอกาสและ ผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกันในระยะแรก และพัฒนาสูประเด็นทางสังคม สิ่งแวดลอม เมื่อพบวา สภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมที่แตกตางกัน มากของประเทศยากจน และร่ํารวยนั้น ทายที่สุดแลวจะเปนตัวการที่ฉุดรั้งการ พัฒนาของทั้งภูมิภาค 3..4.4 ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหวางไทยและประเทศเพื่อนบาน ดานการคาการลงทุน มีดังนี้ 1) ไทยเปนคูคาสําคัญและเปนนักลงทุนรายใหญในประเทศ CLMV ความสัมพันธทางการคา ระหวางไทยและประเทศ CLMV เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกป โดยเฉพาะการคาชายแดน แตโดยสวน ใหญไทยเปนฝายไดดุลการคา และศักยภาพการคาในกลุมมีโอกาสขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจาก แนวโนมที่ประเทศ CLMV เพิ่มความเชื่อมโยงกับการคาภายในอนุภูมิภาคสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะลาว มากถึง 67.3 % ในป 2546 • ตําแหนงที่ตั้งซึ่งอยูจุดกึ่งกลางของอินโดจีน ทําใหไทยมีความไดเปรียบในการทําการคา กับ CLMV ซึ่งตลาดประเทศในเพื่อนบานพึ่งพาสินคาจากไทยเปนหลัก โดยไทยติด อันดับ 1-5 ของผูสงออกสินคาไปยังประเทศ CLMV ระหวางป 2530-2547 ซึ่งสินคาที่ ดร.สุวิทย คุณกิตติ 14 of 19
  • 15. ประเทศ CLMV นําเขาจากไทย ไดแก สินคาอุตสาหกรรม และอุปโภคบริโภค เชน เครื่อง คอมพิวเตอร แผงวงจรไฟฟา เม็ดพลาสติก น้ํามันสําเร็จรูปและน้ํามันดิบ เคมีภัณฑ เหล็ก ยางพารา ในทางกลับกัน ตลาดไทยยังเปนแหลงสงออกสินคาหลักของ CLMV ซึ่งเปนสินคา จําพวกวัตถุดิบและสินคาปฐมภูมิ ทั้งผานทางชายแดนและการคาระหวางประเทศดวย • การลงทุนของไทยในประเทศกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม โดยสวนใหญ เปน อุตสาหกรรมที่ลวนแลวแตพึ่งพาความไดเปรียบของประเทศเพื่อนบาน ในเชิงปจจัยการ ผลิต โดยเฉพาะภาคการผลิตที่ใชแรงงานเขมขน เชน อุตสาหกรรมสิ่งทอและ เครื่องนุงหม อุตสาหกรรมตัดเย็บเสื้อผา และอุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดิบในประเทศเพื่อน บาน เชน อุตสาหกรรมไฟฟา กาซธรรมชาติ อุตสาหกรรมเกษตร โทรคมนาคม ทองเที่ยว และบริการตางๆ โดย ไทยมีมูลคาการลงทุนสะสมในลาวเปนอันดับหนึ่ง เปนอันดับสาม ในพมารองจากสิงคโปร และอังกฤษ เปนอันดับ 5 ในกัมพูชา และเปนอันดับ 11 ใน เวียดนาม • ความสัมพันธไทย-จีน ในดานการคามีการขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกป แตสวนใหญไทยเปน ฝายขาดดุลการคา สินคาที่คาขายกันสวนใหญเปนสินคาอุปกรณชิ้นสวนอิเลคทรอนิกส คอมพิวเตอร อุปกรณไฟฟา เหล็ก และพลาสติก ตลอดจนมีความรวมมือในการลดภาษี เพื่อการคาผักผลไมระหวางกัน ในดานการลงทุนไทยลงทุนในจีน สวนใหญเปน อุตสาหกรรมเกษตรและบริการ ไดแก อาหารสัตว ธัญพืช ฟารมสัตว รถจักรยานยนต โรงแรม รานอาหาร นวดแผนไทย สวนในประเภทที่จีนมาลงทุนในไทยไดแก อุตสาหกรรมเบา กระดาษ เคมีภัณฑ พลาสติก 2) ไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเซีย มีการติดตอคาขายกันมาอยางตอเนื่องและมีมูลคาการคา ขยายตัวสูงขึ้น โดยอัตราขยายตัวเฉลี่ยของการคาในชวง 5 ปที่ผานมา (2543-2547) • ไทยยังคงเปนคูคาหลักของมาเลเซียและอินโดนีเซีย คือ ระหวางป 2530-2547 ไทยเปนคู คาอันดับ 6 ของมาเลเซีย และอินโดนีเซียนําเขาสินคาจากไทยอยูในอันดับที่ 7 โดยไทย เปนฝายไดดุลการคากับอินโดนีเซียและมาเลเซีย (การคาชายแดน) แตขาดดุลการคากับ มาเลเซียในสวนการคาระหวางประเทศ • สินคาออกของไทยไปกลุม IMT-GT ไดแก รถยนต เครื่องคอมพิวเตอร/อุปกรณ/ สวนประกอบ เคมีภัณฑ ยางพารา เหล็ก และเม็ดพลาสติก สินคานําเขามาไทย ไดแก น้ํามันดิบ เครื่องคอมพิวเตอร/อุปกรณ/สวนประกอบ เคมีภัณฑ เครื่องจักรไฟฟาและ สวนประกอบ สินแรโลหะเครื่องจักรกลและสวนประกอบ ดร.สุวิทย คุณกิตติ 15 of 19
  • 16. • การลงทุนของมาเลเซียและอินโดนีเซีย ในไทยเนนอุปกรณชิ้นสวนอิเลคทรอนิกส อุตสาหกรรมเกษตร เคมีภัณฑ สวนที่ไทยไปลงทุน เปนประเภทการผลิตเครื่องจักร/ เครื่องมือ ขนสง อาหารและเคมีภัณฑ โดยอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในอนาคต ไดแก ยางพาราและแปรรูปไมยาง อาหารฮาลาล ประมง บริการขนสง คาสง/คาปลีก โรงแรม และการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวระหวางไทยและมาเลเซีย ซึ่งนักทองเที่ยว มาเลเซียมีจํานวนมากเปนอันดับหนึ่งของนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาไทย 3) ไทย - ประเทศ BIMSTEC บทบาทไทยยังนอยแตมีแนวโนมโอกาสการพัฒนาทางการคาการ ลงทุนเพิ่มมากขึ้น • ในปจจุบันกลุม BIMSTEC สวนใหญจะมีความใกลชิด และคาขายกับอินเดียมากกวาไทย มีเพียง พมาเทานั้น ที่มีความใกลชิดและเปนคูคาหลักของไทยในกรอบนี้ หากแตในชวงทศวรรษที่ผานมา การสงออกของไทยในตลาด BIMSTEC ถึงแมจะมีปริมาณเพียง 2.2 % ของการสงออกทั้งหมด แตมีอัตราเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเพิ่มสูงกวาอัตราการสงออกไปยังตลาดอื่นๆในโลกถึง 3 เทา ดังนั้น หากมีการพัฒนาความรวมมือระหวางกันอยางแข็งขัน จะถือไดวากลุมนี้ซึ่งมีอินเดียเปน ตลาดใหญ จะเปนตลาดที่มีศักยภาพของไทยในอนาคต • ในปจจุบันสินคาสงออกที่สําคัญของไทยในกลุมนี้ ไดแก เม็ดพลาสติก เหล็ก/ผลิตภัณฑ น้ํามันดิบ เครื่องรับวิทยุโทรทัศน/สวนประกอบ ผาผืน เครื่องจักรกล/สวนประกอบ เคมีภัณฑ สินคานําเขา สวนใหญไดแก กาซธรรมชาติ เครื่องเพชร/อัญมณี/เงินและทองคํา สินแรโลหะ เคมีภัณฑ น้ํามัน สําเร็จรูป ไม/ไมแปรรูป พืช/ผลิตภัณฑจากพืช • โอกาสของไทยในกลุมประเทศ BIMSTEC ไทยจะมีเปนความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบที่โดดเดน ในการคาสินคาจําพวกที่ใชแรงงานมีฝมือและใชวัตถุดิบที่มีในประเทศ เชน ยางพารา และอาหาร และในระดับปานกลาง คือพวก พลาสติก และอุตสาหกรรมไม โดยนโยบายการมุงตะวันตกของ ไทย ผสานกับนโยบายมุงตะวันออกของอินเดียจะเปนแรงขับเคลื่อนสําคัญสําหรับกรอบ BIMSTEC ทั้งในปจจุบันและอนาคต 3.4.5 กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่สําคัญระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน จัดเปนกรอบความรวมมือที่มีผลตอ การพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคมากที่สุด โดยกรอบความรวมมือนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใชขอไดเปรียบเชิง เปรียบเทียบของแตละประเทศ เพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขัน สรางอํานาจตอรอง และลดชองวางทาง เศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาค โดยสามารถสรุปแนวทางความรวมมือของแตละกรอบ ไดดังนี้ ดร.สุวิทย คุณกิตติ 16 of 19
  • 17. 1) แผนงานการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ (GMS) กอตั้งในป 2535 ประกอบดวยสมาชิก 6 ประเทศ ไดแก กัมพูชา จีน (ยูนนานและตอมาเพิ่มกวางสี) สปป.ลาว ไทย และเวียดนาม โดยความชวยเหลือของ ADB ซึ่งมุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจ ผานการเชื่อมโยงตามแนว เศรษฐกิจ (Economic Corridor) การเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันและกระชับความสัมพันธของชุมชน หรือยุทธศาสตร 3Cs Connectivity Competitiveness Community โดยมีความรวมมือ 9 สาขา ครอบคลุม ดานโครงสรางพื้นฐาน สังคมสิ่งแวดลอม และ พลังงาน เปนสาขาหลัก 2) ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี-เจาพระยา-แมโขง (ACMECS) ริเริ่มในป 2546 ประกอบดวยสมาชิก 5 ประเทศ (กัมพูชา ลาว พมา เวียดนาม ไทย) โดยอยูบนพื้นฐานการสรางความเปน หุนสวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อลดชองวางทางเศรษฐกิจระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน โดยเนนการพัฒนาแบบองครวมในบริเวณพื้นที่ชายแดน ในลักษณะการพัฒนาเมืองคูแฝด Sister Cities ที่มี กิจกรรมการผลิตรวมกัน ทั้งดานเกษตรและอุตสาหกรรมรวมกัน โดยเนน 5 สาขาความรวมมือ ไดแก การ อํานวยความสะดวกดานการลงทุน เกษตรและอุตสาหกรรม คมนาคม ทองเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากร มนุษย 3) แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ริเริ่มในป 2536 ประกอบดวยประเทศสมาชิก 3 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย โดยมุงผลักดันความรวมมือ ภาคเอกชนในดานความรวมมือทางเศรษฐกิจ อาทิ การลงทุนทางดานพัฒนาฐานการผลิตและการแปรูป ตอเนื่อง การใชทรัพยากรทางเศรษฐกิจรวมกันในภาคใตของไทย ภาคเหนือและตะวันตกของมาเลเซีย และ เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และการแสวงหาความรวมมือในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการเชื่อม เสนทางคมนาคม เพื่อพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ชายแดนที่อยูติดกันระหวางไทยและมาเลเซีย และการ เชื่อมโยงกับอินโดนีเซีย ทั้งนี้ โดยภาครัฐเปนผูสนับสนุนดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการพัฒนาดาน กฎระเบียบเพื่ออํานวยความสะดวก โดยปจจุบันมีความรวมมือ 6 สาขาหลัก ไดแก การโครงสรางพื้นฐาน การคาและการพัฒนาจากจุดเริ่มแรก การพัฒนาตลาดเสรีดานโทรคมนาคม การทองเที่ยว การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย และการพัฒนาพื้นที่นอกเขตเมืองและการคาระหวางพื้นที่ และอยูระหวางการขยายเพิ่ม สาขาความรวมมือที่จําเปนในสถานการณปจจุบันอีก 3 ดาน ไดแก สาธารณสุข พลังงานทดแทน และการ ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 4) กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจ (BIMST-EC) ริเริ่มในป 2540 ประกอบดวยสมาชิก 7 ประเทศ ไดแก บังคลาเทศ ภูฐาน อินเดีย พมา เนปาล ศรีลังกา และประเทศไทย โดยมุงหวังการเสริมสราง สภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การใหความชวยเหลือในประเด็นที่เปน ผลประโยชนรวม รวมทั้งการใหความชวยเหลือดานการฝกอบรมและวิจัย บนพื้นฐานของความเทาเทียมทาง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ดร.สุวิทย คุณกิตติ 17 of 19