SlideShare a Scribd company logo
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 62
เงินเฟ้อ เงินฝืด
และการว่างงาน
สาระการเรียนรู้
	 ๑.	 ภาวะเงินเฟ้อ
	 ๒..	ภาวะเงินฝืด
	 ๓.	 ปัญหาการว่างงาน
ห
น่วยการเ
รียนรู้ที่
๕
แผนที่ ๑
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 63แผนที่ ๒
ภาวะเงินเฟ้อ
	 ภาวะเงินเฟ้อ (inflation) หมายถึง ภาวการณ์ที่อาจเป็น
ปรากฏการณ์ทางการเงินที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปเพิ่มขึ้น
อย่างรวดเร็ว และต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ระดับราคาสินค้า
และบริการทั่วไปจะเปลี่ยนแปลงในทางตรงกันข้ามกับอ�ำนาจซื้อ
คือ เมื่อเกิดเงินเฟ้ออ�ำนาจซื้อของเงินจะลดลง
	 ความรุนแรงของเงินเฟ้อแบ่งได้หลายระดับ ในทาง
เศรษฐศาสตร์แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ ดังต่อไปนี้
	 ๑.	 ภาวะเงินเฟ้อระดับอ่อนเป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้า
และบริการเพิ่มสูงขึ้นอย่างช้าๆ ไม่เกินร้อยละ ๕ ต่อปี
	 ๒.	 ภาวะเงินเฟ้อระดับปานกลาง เป็นภาวะที่ระดับราคา
สินค้าและบริการโดยทั่วไปมีราคาสูงขึ้นระหว่างร้อยละ ๕
ถึงร้อยละ ๒๐ ต่อปี
	 ๓.	 ภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง เป็นภาวะที่ระดับราคา
สินค้าและบริการโดยทั่วไปปรับเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ ๒๐ ต่อปี
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 64แผนที่ ๓
	 ๑.	 เงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุด้านอุปสงค์ เนื่องจาก
อุปสงค์มวลรวมหรือความต้องการใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจ
ในช่วงระยะเวลาหนึ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยที่อุปทานมวลรวม
หรือมูลค่าผลผลิตของสินค้า และบริการทั้งหมดในช่วงระยะเวลา
หนึ่งไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้
			 สาเหตุที่ท�ำให้อุปสงค์มวลรวมเพิ่มขึ้น มีดังนี้
			 ๑)		ผู้บริโภคและผู้ลงทุนมีรายได้มากขึ้น จึงมีความ
ต้องการสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น
			 ๒)	มีการขยายสินเชื่อให้แก่ผู้บริโภคและผู้ลงทุนอย่าง
ต่อเนื่องในปริมาณมาก และมีการจ้างงานอย่างเต็มที่
			 ๓)		รัฐบาลใช้นโยบายงบประมาณแบบขาดดุลมากเกินไป
			 ๔)		รัฐบาลใช้จ่ายในโครงการประชานิยมต่างๆ ท�ำให้
ประชาชนใช้จ่ายเงินเพิ่มขึ้น
			 ๕)		มีการขยายตัวของสภาพคล่องทางการเงินระหว่าง
ประเทศ
สาเหตุของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ
	 ๒.	 เงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุด้านอุปทาน เนื่องจาก
ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตต้องเสนอขายสินค้าในราคาที่สูงขึ้น
จึงเรียกเงินเฟ้อแบบนี้ว่า เงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดันของต้นทุน หรือ
ต้นทุนผลักดัน
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 65แผนที่ ๔
		 	 สาเหตุที่ท�ำให้อุปทานมวลรวมเพิ่มขึ้น มีดังนี้
			 ๒.๑	มีการจ้างงานเต็มที่ การขยายความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจอยู่ในอัตราสูง ท�ำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น
			 ๒.๒	เมื่อผู้ประกอบการต้องการอัตราก�ำไรที่สูงขึ้น ท�ำให้
ผู้ผลิตเสนอขายสินค้าในราคาที่สูงขึ้น
			 ๒.๓	เชื้อเพลิงและวัตถุดิบที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการผลิต
มีราคาสูงขึ้น
			 ๒.๔	เกิดวิบัติภัยทางธรรมชาติอย่างรุนแรง
			 ๒.๕	ผู้ผลิตผูกขาดขึ้นราคาสินค้าโดยรัฐบาลควบคุม
ไม่ได้
			 ๒.๖ 	สหภาพแรงงานมีอ�ำนาจต่อรองสูง
	 ๑.	 ความต้องการถือเงิน เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อจะท�ำให้
ค่าของเงินลดลง ประชาชนจึงรีบเร่งใช้จ่ายเงินไปในการซื้อสินค้า
และบริการต่างๆ มีผลให้อุปสงค์มวลรวมยิ่งเพิ่มขึ้น และท�ำให้เกิด
เงินเฟ้อรุนแรงขึ้นไปอีก
	 ๒.	 การออมและการลงทุนการเร่งการใช้จ่ายมีผลให้เงิน
ออมของประเทศลดลง การลงทุนที่มีอยู่จะเป็นเพียงระยะสั้นที่
สามารถท�ำก�ำไรได้สูง
ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้อ
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 66แผนที่ ๕
	 ๓.	 การกระจายรายได้ สรุปได้ ๓ ลักษณะ ดังนี้
			 ๑)		ผู้มีรายได้จากก�ำไรจะได้เปรียบ ในขณะที่ผู้มีรายได้
ประจ�ำจะเสียเปรียบ
			 ๒) ลูกหนี้จะได้เปรียบ ในขณะที่เจ้าหนี้เสียเปรียบ
			 ๓)		ผู้ที่ถือทรัพย์สินที่ไม่มีราคาแน่นอนตายตัวจะ
ได้เปรียบ และผู้ที่ถือทรัพย์สินที่เป็นตัวเงินจะเสียเปรียบ
	 ๔.	 การคลังของรัฐบาล ถ้ารายได้จากภาษีอากรของ
รัฐบาลส่วนใหญ่ได้มาจากภาษีเงินได้ซึ่งจัดเก็บในอัตราก้าวหน้า
รายได้ของรัฐบาลจะยิ่งสูงขึ้น จึงท�ำให้รัฐบาลเป็นฝ่ายได้รับ
ประโยชน์ในระยะที่เกิดเงินเฟ้อ
	 ๕.	 การค้าระหว่างประเทศปริมาณการส่งออกจะลดลง
เนื่องจากการที่ระดับราคาภายในประเทศสูงขึ้นนั้น มีผลท�ำให้
ต้นทุนการผลิตสินค้าภายในประเทศสูงขึ้นด้วย ราคาสินค้าออก
จึงต้องสูงขึ้น
	 ๖.	 เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เงินเฟ้อไม่ได้เกิด
ขึ้นในอัตราที่สม�่ำเสมอ นักธุรกิจจึงเกิดความลังเลใจที่จะลงทุน
จึงหันไปลงทุนในกิจกรรมที่ไม่เป็นประโยชน์ จะก่อให้เกิดปัญหา
ในการพัฒนาเศรษฐกิจและเกิดการว่างงานได้
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 67แผนที่ ๖
	 ๑.	 นโยบายการคลังเป็นการด�ำเนินงานของรัฐบาลโดย
ใช้การจัดเก็บภาษีและการใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นเครื่องมือ รัฐบาล
ต้องพยายามลดการใช้จ่ายของรัฐบาลลง โดยเฉพาะรายจ่ายที่
ไม่จ�ำเป็นต่างๆ และเพิ่มอัตราภาษีเงินได้เพื่อให้มีรายได้จากภาษี
อากรเพิ่มขึ้น
	 ๒.	 นโยบายการเงินธนาคารกลางมีบทบาทส�ำคัญในการ
ดูแลอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยใช้มาตรการต่างๆ
ทางการเงิน เพื่อลดปริมาณเงินที่หมุนเวียนในประเทศ ซึ่งท�ำให้
อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น และท�ำให้การจ้างงาน การลงทุนของประเทศ
ลดลง
	 ๓.	 มาตรการอื่นๆรัฐบาลอาจต้องด�ำเนินมาตรการอื่นๆ
เช่น ควบคุมราคาสินค้าที่จ�ำเป็นบางชนิดเพื่อมิให้ราคาสินค้า
เหล่านั้นสูงขึ้นมาก
แนวทางในการแก้ปัญหาภาวะเงินเฟ้อ
ภาวะเงินฝืด
	 ภาวะเงินฝืด (deflation) ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง
ภาวการณ์ทางเศรษฐกิจที่ระดับรายได้ประชาชาติ (National 
Income : NI) หรือรายได้รวมของประชากรในประเทศ หรือ
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 68แผนที่ ๗
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ลดลงอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งท�ำให้ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปต�่ำลงอย่างต่อเนื่อง
และระดับการว่างงานเพิ่มขึ้น เพราะภาวะเงินฝืดมักเกิดขึ้น
พร้อมกับการลดลงของผลผลิตและการจ้างงาน ภาวะเงินฝืด
มีหลายระดับ ได้แก่
	 ๑.	 ภาวะเงินฝืดระดับอ่อน ภาวะที่ระดับราคาสินค้า
และบริการลดลงเล็กน้อยไม่เกินร้อยละ ๕ ต่อปี
	 ๒.	 ภาวะเงินฝืดระดับปานกลาง ระดับราคาสินค้าและ
บริการลดลงในระดับเกินกว่าร้อยละ ๕ แต่ต�่ำกว่าร้อยละ ๒๐
ต่อปี
	 ๓.	 ภาวะเงินฝืดระดับรุนแรง เงินฝืดระดับรุนแรง เป็น
ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการมีการลดลงอย่างต่อเนื่อง
ในระดับเกินกว่าร้อยละ ๒๐ ต่อปี
	 เงินฝืดมีผลให้เงินมีอ�ำนาจซื้อเพิ่มขึ้น ผู้ที่ได้รับประโยชน์
จากภาวะเงินฝืด ได้แก่ เจ้าหนี้และผู้มีรายได้ประจ�ำ ส่วนผู้ที่
เสียประโยชน์จากภาวะเงินฝืด ได้แก่ ลูกหนี้และผู้มีรายได้จาก
ก�ำไรหรือเงินปันผล รายได้เหล่านั้นลดลงเพราะยอดขายลดลง
	 ๑.	 ธนาคารกลางพิมพ์ธนบัตรออกมาน้อย
	 ๒.	ประชาชนเก็บเงินไว้กับตัวมากเกินไป
	 ๓.	 มีการส่งเงินตราออกไปต่างประเทศมากเกินไป
สาเหตุของภาวะเงินฝืด
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 69แผนที่ ๘
	 ๔.	 ธนาคารกลางเรียกเก็บเงินที่ธนาคารพาณิชย์จะต้องมี
ส�ำรองตามกฎหมายในอัตราสูง
	 ๕.	 ธนาคารพาณิชย์ลดเครดิต การกู้ยืมเพื่อการลงทุน
ลดน้อยลง เป็นผลให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลดลง
	 ๖.	 รัฐบาลควบคุมการซื้อสินค้าและบริการ
	 ๗.	รัฐบาลเก็บภาษีแบบอัตราก้าวหน้า ประชาชนจึงมี
รายได้ลดลง ปริมาณเงินส่วนหนึ่งถูกดูดออกจากระบบเศรษฐกิจ
ท�ำให้ระบบเศรษฐกิจชะลอการเติบโตเป็นผลให้เกิดภาวะ
เงินฝืดขึ้น
	
	 ๑.	 การชะลอการลงทุน การผลิตลดลง การจ้างงานลดลง
ก่อให้เกิดปัญหาการว่างงาน
	 ๒.	 ประชาชนส่วนหนึ่งที่เป็นแรงงานในระบบการผลิตสินค้า
และบริการมีรายได้ลดลง
	 ๓.	 ผลกระทบต่อการถือเงินของประชาชนจะน้อยลง
ผลกระทบของการเกิดภาวะเงินฝืด
	 กลุ่มผู้ได้รับผลประโยชน์ ได้แก่ ผู้ที่ได้รับค่าจ้างประจ�ำ
ที่มีรายได้แน่นอน และเจ้าหนี้ซึ่งได้เปรียบเพราะเงินที่จะได้รับ
จากการจ่ายคืนเงินกู้ในอนาคตมีอ�ำนาจซื้อมากขึ้น ส่วนผู้บริโภค
ก็ได้ประโยชน์เช่นกันเพราะสินค้าและบริการมีราคาลดลง
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 70แผนที่ ๙
	 ๑.	 นโยบายการคลัง รัฐบาลจะใช้การจัดเก็บภาษีและ
การใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นเครื่องมือ
	 ๒.	นโยบายการเงิน ธนาคารกลางควรเพิ่มปริมาณเงินใน
ระบบเศรษฐกิจให้มากขึ้น
	 ๓.	 มาตรการอื่นๆรัฐบาลไม่ควรควบคุมราคาสินค้าที่จ�ำเป็น
ต่อการด�ำรงชีพของประชาชน
แนวทางในการแก้ปัญหาภาวะเงินฝืด
	 กลุ่มผู้เสียประโยชน์ได้แก่ ผู้ที่มีรายได้ไม่แน่นอน ผู้ผลิต
เจ้าของกิจการ นายจ้าง พ่อค้า นักธุรกิจ ลูกหนี้ และผู้มีรายได้
ตามภาวะเศรษฐกิจ เช่น การบริการต่างๆ เมื่อเศรษฐกิจถดถอย
รายได้ของประชากรกลุ่มนี้ก็ลดลงไปด้วย
ปัญหาการว่างงาน
	 การว่างงาน (unemployment) ในทางเศรษฐศาสตร์
หมายถึง การที่ผู้อยู่วัยท�ำงาน
แต่ไม่มีงานท�ำเพราะอุปทานของ
แรงงานมีมากว่าอุปสงค์ของ
แรงงาน ณ ระดับอัตราค่าจ้างต่างๆ
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 71แผนที่ ๑๐
	 ๑.	 การขาดข้อมูลทางแรงงาน
	 ๒.	 โครงสร้างทางเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป
	 ๓.	 วัฏจักรเศรษฐกิจ
	 ๔.	 ค่าแรงในตลาดแรงงานไม่ยืดหยุ่น
สาเหตุของการว่างงาน
	 ๑.	 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแรงงาน ประเทศ
ไม่สามารถใช้ทรัพยากรแรงงานที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่	
	 ๒.	 การออมและการลงทุนเมื่อประเทศมีการว่างงานเพิ่ม
ขึ้นมาก รายได้ของคนส่วนใหญ่จะลดลง ท�ำให้ประชาชนต้องลด
รายจ่าย และความสามารถในการออมและการลงทุนจะลดลง
ตามไปด้วย
	 ๓.	 การกระจายรายได้ เมื่อคนไม่มีงานท�ำ จะท�ำให้ไม่มี
รายได้เพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว
	 ๔.	 การคลังของรัฐบาล ในระยะที่เกิดการว่างงานอย่าง
รุนแรง การลงทุนชะงักงัน รายได้ของประชาชนลดลง ท�ำให้
รัฐบาลเก็บรายได้จากภาษีอากรทั้งทางตรงและทางอ้อมได้ลดลง
	 ๕.	 สภาพสังคมของประเทศการที่คนว่างงานมากๆ และ
ไม่มีรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว ท�ำให้เกิดความเดือดร้อน
และอาจท�ำให้บุคคลต้องแสวงหารายได้จากทางที่ผิดกฎหมาย
ผลกระทบของการว่างงาน
ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด 	 วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 72แผนที่ ๑๑
	 ๑. 	ให้บริการข่าวสารแก่คนงานและนายจ้างว่าที่ใดมีงาน
ให้ท�ำ
	 ๒.	 กระตุ้นให้คนงานท�ำงานอื่นๆ เมื่อสิ้นฤดูกาลการท�ำงาน
ประจ�ำ
	 ๓.	 ฝึกอบรมคนงานให้มีความรู้ เพื่อจะได้ท�ำงานในอาชีพ
อื่นๆ ได้
	 ๔.	 การว่างงานในระบบเศรษฐกิจซบเซาหรือตกต�่ำก็อาจจะ
บรรเทาลงได้โดย
			 ๑)		 การใช้นโยบายการคลังรัฐบาลต้องพยายามเพิ่ม
อุปสงค์มวลรวมโดยการเพิ่มรายจ่ายของรัฐบาลให้มากขึ้น หรือ
ลดอัตราดอกเบี้ย
			 ๒)		 การใช้นโยบายการเงิน ธนาคารกลางควรใช้
มาตรการต่างๆ ทางการเงิน เพื่อเพิ่มปริมาณเงินที่หมุนเวียนใน
ประเทศ ซึ่งมีผลท�ำให้อัตราดอกเบี้ยลดลง
แนวทางในการแก้ปัญหาการว่างงาน

More Related Content

What's hot

วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
Paew Tongpanya
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
De'Icejoong Ice
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 

What's hot (20)

วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 

เศรษฐศาสตร์บทที่ 5

  • 1. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 62 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน สาระการเรียนรู้ ๑. ภาวะเงินเฟ้อ ๒.. ภาวะเงินฝืด ๓. ปัญหาการว่างงาน ห น่วยการเ รียนรู้ที่ ๕ แผนที่ ๑
  • 2. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 63แผนที่ ๒ ภาวะเงินเฟ้อ ภาวะเงินเฟ้อ (inflation) หมายถึง ภาวการณ์ที่อาจเป็น ปรากฏการณ์ทางการเงินที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว และต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ระดับราคาสินค้า และบริการทั่วไปจะเปลี่ยนแปลงในทางตรงกันข้ามกับอ�ำนาจซื้อ คือ เมื่อเกิดเงินเฟ้ออ�ำนาจซื้อของเงินจะลดลง ความรุนแรงของเงินเฟ้อแบ่งได้หลายระดับ ในทาง เศรษฐศาสตร์แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ ดังต่อไปนี้ ๑. ภาวะเงินเฟ้อระดับอ่อนเป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้า และบริการเพิ่มสูงขึ้นอย่างช้าๆ ไม่เกินร้อยละ ๕ ต่อปี ๒. ภาวะเงินเฟ้อระดับปานกลาง เป็นภาวะที่ระดับราคา สินค้าและบริการโดยทั่วไปมีราคาสูงขึ้นระหว่างร้อยละ ๕ ถึงร้อยละ ๒๐ ต่อปี ๓. ภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง เป็นภาวะที่ระดับราคา สินค้าและบริการโดยทั่วไปปรับเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ ๒๐ ต่อปี
  • 3. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 64แผนที่ ๓ ๑. เงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุด้านอุปสงค์ เนื่องจาก อุปสงค์มวลรวมหรือความต้องการใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจ ในช่วงระยะเวลาหนึ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยที่อุปทานมวลรวม หรือมูลค่าผลผลิตของสินค้า และบริการทั้งหมดในช่วงระยะเวลา หนึ่งไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ สาเหตุที่ท�ำให้อุปสงค์มวลรวมเพิ่มขึ้น มีดังนี้ ๑) ผู้บริโภคและผู้ลงทุนมีรายได้มากขึ้น จึงมีความ ต้องการสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น ๒) มีการขยายสินเชื่อให้แก่ผู้บริโภคและผู้ลงทุนอย่าง ต่อเนื่องในปริมาณมาก และมีการจ้างงานอย่างเต็มที่ ๓) รัฐบาลใช้นโยบายงบประมาณแบบขาดดุลมากเกินไป ๔) รัฐบาลใช้จ่ายในโครงการประชานิยมต่างๆ ท�ำให้ ประชาชนใช้จ่ายเงินเพิ่มขึ้น ๕) มีการขยายตัวของสภาพคล่องทางการเงินระหว่าง ประเทศ สาเหตุของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ ๒. เงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุด้านอุปทาน เนื่องจาก ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตต้องเสนอขายสินค้าในราคาที่สูงขึ้น จึงเรียกเงินเฟ้อแบบนี้ว่า เงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดันของต้นทุน หรือ ต้นทุนผลักดัน
  • 4. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 65แผนที่ ๔ สาเหตุที่ท�ำให้อุปทานมวลรวมเพิ่มขึ้น มีดังนี้ ๒.๑ มีการจ้างงานเต็มที่ การขยายความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจอยู่ในอัตราสูง ท�ำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ๒.๒ เมื่อผู้ประกอบการต้องการอัตราก�ำไรที่สูงขึ้น ท�ำให้ ผู้ผลิตเสนอขายสินค้าในราคาที่สูงขึ้น ๒.๓ เชื้อเพลิงและวัตถุดิบที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการผลิต มีราคาสูงขึ้น ๒.๔ เกิดวิบัติภัยทางธรรมชาติอย่างรุนแรง ๒.๕ ผู้ผลิตผูกขาดขึ้นราคาสินค้าโดยรัฐบาลควบคุม ไม่ได้ ๒.๖ สหภาพแรงงานมีอ�ำนาจต่อรองสูง ๑. ความต้องการถือเงิน เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อจะท�ำให้ ค่าของเงินลดลง ประชาชนจึงรีบเร่งใช้จ่ายเงินไปในการซื้อสินค้า และบริการต่างๆ มีผลให้อุปสงค์มวลรวมยิ่งเพิ่มขึ้น และท�ำให้เกิด เงินเฟ้อรุนแรงขึ้นไปอีก ๒. การออมและการลงทุนการเร่งการใช้จ่ายมีผลให้เงิน ออมของประเทศลดลง การลงทุนที่มีอยู่จะเป็นเพียงระยะสั้นที่ สามารถท�ำก�ำไรได้สูง ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้อ
  • 5. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 66แผนที่ ๕ ๓. การกระจายรายได้ สรุปได้ ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑) ผู้มีรายได้จากก�ำไรจะได้เปรียบ ในขณะที่ผู้มีรายได้ ประจ�ำจะเสียเปรียบ ๒) ลูกหนี้จะได้เปรียบ ในขณะที่เจ้าหนี้เสียเปรียบ ๓) ผู้ที่ถือทรัพย์สินที่ไม่มีราคาแน่นอนตายตัวจะ ได้เปรียบ และผู้ที่ถือทรัพย์สินที่เป็นตัวเงินจะเสียเปรียบ ๔. การคลังของรัฐบาล ถ้ารายได้จากภาษีอากรของ รัฐบาลส่วนใหญ่ได้มาจากภาษีเงินได้ซึ่งจัดเก็บในอัตราก้าวหน้า รายได้ของรัฐบาลจะยิ่งสูงขึ้น จึงท�ำให้รัฐบาลเป็นฝ่ายได้รับ ประโยชน์ในระยะที่เกิดเงินเฟ้อ ๕. การค้าระหว่างประเทศปริมาณการส่งออกจะลดลง เนื่องจากการที่ระดับราคาภายในประเทศสูงขึ้นนั้น มีผลท�ำให้ ต้นทุนการผลิตสินค้าภายในประเทศสูงขึ้นด้วย ราคาสินค้าออก จึงต้องสูงขึ้น ๖. เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เงินเฟ้อไม่ได้เกิด ขึ้นในอัตราที่สม�่ำเสมอ นักธุรกิจจึงเกิดความลังเลใจที่จะลงทุน จึงหันไปลงทุนในกิจกรรมที่ไม่เป็นประโยชน์ จะก่อให้เกิดปัญหา ในการพัฒนาเศรษฐกิจและเกิดการว่างงานได้
  • 6. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 67แผนที่ ๖ ๑. นโยบายการคลังเป็นการด�ำเนินงานของรัฐบาลโดย ใช้การจัดเก็บภาษีและการใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นเครื่องมือ รัฐบาล ต้องพยายามลดการใช้จ่ายของรัฐบาลลง โดยเฉพาะรายจ่ายที่ ไม่จ�ำเป็นต่างๆ และเพิ่มอัตราภาษีเงินได้เพื่อให้มีรายได้จากภาษี อากรเพิ่มขึ้น ๒. นโยบายการเงินธนาคารกลางมีบทบาทส�ำคัญในการ ดูแลอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยใช้มาตรการต่างๆ ทางการเงิน เพื่อลดปริมาณเงินที่หมุนเวียนในประเทศ ซึ่งท�ำให้ อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น และท�ำให้การจ้างงาน การลงทุนของประเทศ ลดลง ๓. มาตรการอื่นๆรัฐบาลอาจต้องด�ำเนินมาตรการอื่นๆ เช่น ควบคุมราคาสินค้าที่จ�ำเป็นบางชนิดเพื่อมิให้ราคาสินค้า เหล่านั้นสูงขึ้นมาก แนวทางในการแก้ปัญหาภาวะเงินเฟ้อ ภาวะเงินฝืด ภาวะเงินฝืด (deflation) ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ภาวการณ์ทางเศรษฐกิจที่ระดับรายได้ประชาชาติ (National  Income : NI) หรือรายได้รวมของประชากรในประเทศ หรือ
  • 7. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 68แผนที่ ๗ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งท�ำให้ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปต�่ำลงอย่างต่อเนื่อง และระดับการว่างงานเพิ่มขึ้น เพราะภาวะเงินฝืดมักเกิดขึ้น พร้อมกับการลดลงของผลผลิตและการจ้างงาน ภาวะเงินฝืด มีหลายระดับ ได้แก่ ๑. ภาวะเงินฝืดระดับอ่อน ภาวะที่ระดับราคาสินค้า และบริการลดลงเล็กน้อยไม่เกินร้อยละ ๕ ต่อปี ๒. ภาวะเงินฝืดระดับปานกลาง ระดับราคาสินค้าและ บริการลดลงในระดับเกินกว่าร้อยละ ๕ แต่ต�่ำกว่าร้อยละ ๒๐ ต่อปี ๓. ภาวะเงินฝืดระดับรุนแรง เงินฝืดระดับรุนแรง เป็น ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการมีการลดลงอย่างต่อเนื่อง ในระดับเกินกว่าร้อยละ ๒๐ ต่อปี เงินฝืดมีผลให้เงินมีอ�ำนาจซื้อเพิ่มขึ้น ผู้ที่ได้รับประโยชน์ จากภาวะเงินฝืด ได้แก่ เจ้าหนี้และผู้มีรายได้ประจ�ำ ส่วนผู้ที่ เสียประโยชน์จากภาวะเงินฝืด ได้แก่ ลูกหนี้และผู้มีรายได้จาก ก�ำไรหรือเงินปันผล รายได้เหล่านั้นลดลงเพราะยอดขายลดลง ๑. ธนาคารกลางพิมพ์ธนบัตรออกมาน้อย ๒. ประชาชนเก็บเงินไว้กับตัวมากเกินไป ๓. มีการส่งเงินตราออกไปต่างประเทศมากเกินไป สาเหตุของภาวะเงินฝืด
  • 8. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 69แผนที่ ๘ ๔. ธนาคารกลางเรียกเก็บเงินที่ธนาคารพาณิชย์จะต้องมี ส�ำรองตามกฎหมายในอัตราสูง ๕. ธนาคารพาณิชย์ลดเครดิต การกู้ยืมเพื่อการลงทุน ลดน้อยลง เป็นผลให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลดลง ๖. รัฐบาลควบคุมการซื้อสินค้าและบริการ ๗. รัฐบาลเก็บภาษีแบบอัตราก้าวหน้า ประชาชนจึงมี รายได้ลดลง ปริมาณเงินส่วนหนึ่งถูกดูดออกจากระบบเศรษฐกิจ ท�ำให้ระบบเศรษฐกิจชะลอการเติบโตเป็นผลให้เกิดภาวะ เงินฝืดขึ้น ๑. การชะลอการลงทุน การผลิตลดลง การจ้างงานลดลง ก่อให้เกิดปัญหาการว่างงาน ๒. ประชาชนส่วนหนึ่งที่เป็นแรงงานในระบบการผลิตสินค้า และบริการมีรายได้ลดลง ๓. ผลกระทบต่อการถือเงินของประชาชนจะน้อยลง ผลกระทบของการเกิดภาวะเงินฝืด กลุ่มผู้ได้รับผลประโยชน์ ได้แก่ ผู้ที่ได้รับค่าจ้างประจ�ำ ที่มีรายได้แน่นอน และเจ้าหนี้ซึ่งได้เปรียบเพราะเงินที่จะได้รับ จากการจ่ายคืนเงินกู้ในอนาคตมีอ�ำนาจซื้อมากขึ้น ส่วนผู้บริโภค ก็ได้ประโยชน์เช่นกันเพราะสินค้าและบริการมีราคาลดลง
  • 9. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 70แผนที่ ๙ ๑. นโยบายการคลัง รัฐบาลจะใช้การจัดเก็บภาษีและ การใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นเครื่องมือ ๒. นโยบายการเงิน ธนาคารกลางควรเพิ่มปริมาณเงินใน ระบบเศรษฐกิจให้มากขึ้น ๓. มาตรการอื่นๆรัฐบาลไม่ควรควบคุมราคาสินค้าที่จ�ำเป็น ต่อการด�ำรงชีพของประชาชน แนวทางในการแก้ปัญหาภาวะเงินฝืด กลุ่มผู้เสียประโยชน์ได้แก่ ผู้ที่มีรายได้ไม่แน่นอน ผู้ผลิต เจ้าของกิจการ นายจ้าง พ่อค้า นักธุรกิจ ลูกหนี้ และผู้มีรายได้ ตามภาวะเศรษฐกิจ เช่น การบริการต่างๆ เมื่อเศรษฐกิจถดถอย รายได้ของประชากรกลุ่มนี้ก็ลดลงไปด้วย ปัญหาการว่างงาน การว่างงาน (unemployment) ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การที่ผู้อยู่วัยท�ำงาน แต่ไม่มีงานท�ำเพราะอุปทานของ แรงงานมีมากว่าอุปสงค์ของ แรงงาน ณ ระดับอัตราค่าจ้างต่างๆ
  • 10. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 71แผนที่ ๑๐ ๑. การขาดข้อมูลทางแรงงาน ๒. โครงสร้างทางเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป ๓. วัฏจักรเศรษฐกิจ ๔. ค่าแรงในตลาดแรงงานไม่ยืดหยุ่น สาเหตุของการว่างงาน ๑. การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแรงงาน ประเทศ ไม่สามารถใช้ทรัพยากรแรงงานที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ ๒. การออมและการลงทุนเมื่อประเทศมีการว่างงานเพิ่ม ขึ้นมาก รายได้ของคนส่วนใหญ่จะลดลง ท�ำให้ประชาชนต้องลด รายจ่าย และความสามารถในการออมและการลงทุนจะลดลง ตามไปด้วย ๓. การกระจายรายได้ เมื่อคนไม่มีงานท�ำ จะท�ำให้ไม่มี รายได้เพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว ๔. การคลังของรัฐบาล ในระยะที่เกิดการว่างงานอย่าง รุนแรง การลงทุนชะงักงัน รายได้ของประชาชนลดลง ท�ำให้ รัฐบาลเก็บรายได้จากภาษีอากรทั้งทางตรงและทางอ้อมได้ลดลง ๕. สภาพสังคมของประเทศการที่คนว่างงานมากๆ และ ไม่มีรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว ท�ำให้เกิดความเดือดร้อน และอาจท�ำให้บุคคลต้องแสวงหารายได้จากทางที่ผิดกฎหมาย ผลกระทบของการว่างงาน
  • 11. ลิขสิทธิ์ของบริษัท สำ�นักพิมพเอมพันธ จำ�กัด วิชา เศรษฐศาสตร์ ๓ หน่วยที่ ๕ 72แผนที่ ๑๑ ๑. ให้บริการข่าวสารแก่คนงานและนายจ้างว่าที่ใดมีงาน ให้ท�ำ ๒. กระตุ้นให้คนงานท�ำงานอื่นๆ เมื่อสิ้นฤดูกาลการท�ำงาน ประจ�ำ ๓. ฝึกอบรมคนงานให้มีความรู้ เพื่อจะได้ท�ำงานในอาชีพ อื่นๆ ได้ ๔. การว่างงานในระบบเศรษฐกิจซบเซาหรือตกต�่ำก็อาจจะ บรรเทาลงได้โดย ๑) การใช้นโยบายการคลังรัฐบาลต้องพยายามเพิ่ม อุปสงค์มวลรวมโดยการเพิ่มรายจ่ายของรัฐบาลให้มากขึ้น หรือ ลดอัตราดอกเบี้ย ๒) การใช้นโยบายการเงิน ธนาคารกลางควรใช้ มาตรการต่างๆ ทางการเงิน เพื่อเพิ่มปริมาณเงินที่หมุนเวียนใน ประเทศ ซึ่งมีผลท�ำให้อัตราดอกเบี้ยลดลง แนวทางในการแก้ปัญหาการว่างงาน