SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
1
‫ساح‬‫مت‬‫ل‬‫ا‬ ‫لك‬‫أ‬ ‫حمك‬
«‫للغة‬‫اب‬‫ندية‬‫ال‬‫تاي‬‫ل‬‫ا‬»
‫يف‬‫ل‬‫تأ‬
‫محمود‬‫بن‬‫بد‬‫ع‬‫هللا‬‫الهواىس‬
١٣١٤‫هــ‬-٠١٢٠‫م‬
2
เนื้อจระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่?
ถาม
รายการถามตอบ ผู้ถามได้ถามถึงเรื่องการบริโภคเนื้อจระเข้ ซึ่งอาจารย์ท่านนั้นตอบว่า
เนื้ อจระเข้หะลาลคือกินได้ เพราะถือว่าเป็นที่อนุญาตตามความหมายครอบคลุมกว้างๆ
ของบทบัญญัติในอัลกุรอาน แต่เป็นอายะฮ์และสูเราะฮ์อะไรผมจาไม่ได้แล้ว
จึงขอให้อาจารย์ช่วยชี้แจงหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้ชัดเจนด้วย
ศิษย์คนหนึ่งของอาจารย์
ตอบ
หลักฐานดังกล่าวที่อาจารย์ท่านนั้นอ้างมา ผู้เขียนเข้าใจว่าน่าจะเป็นอายะฮ์ที่ 96
สูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ ดังที่ผู้เขียนจะชี้แจงและอธิบายความหมายต่อไป
ปั ญ ห า เ รื่ อ ง เ นื้ อ จ ร ะ เ ข้ จ ะ ใ ช้ บ ริ โ ภ ค ไ ด้ ห รื อ ไ ม่ นี้
เป็ น ปั ญ ห า ขั ด แ ย้ ง ร ะ ห ว่ า ง นั ก วิ ช า ก า ร ทั้ งใ น อ ดี ต แ ล ะ ปั จ จุ บั น
ดังที่ผู้เขียนได้เรียนให้ทราบมาตั้งแต่ต้นแล้ว และการที่นักวิชาการท่านใด จะตอบปัญหาใด
ตามมุมมองของตนเอง ก็ไม่ถือว่าเป็นเรื่องผิด
แ ต่ ก่ อ น อื่ น
ผู้เขียนอยากจะอธิบายให้ผู้ฟังทุกท่านรับทราบพอเป็นสังเขปเกี่ยวกับกฎเกณฑ์เรื่องอาหารการ
กินของมุสลิมตามบทบัญญัติเสียก่อนในบางประเด็น เพื่อจะได้เข้าใจคาตอบที่จะถึงต่อไป ดังนี้
(1). โ ด ย พื้ น ฐ า น แ ล้ ว พ ร ะ อ ง ค์ อั ล ล อ ฮ์
ได้ทรงสร้างสรรพสิ่งทุกอย่างบนพื้ นโลกมาเพื่อให้ เกิดประโยชน์แก่มวลมนุษย์ทั้งสิ้น
ดังอัลกุรอานที่ว่า
﴿‫أ‬ ِ‫ِف‬ ‫ا‬‫ذ‬‫م‬ ُ‫مك‬َ‫ل‬ َ‫ق‬َ‫ل‬َ‫خ‬ ‫ى‬ِ‫ذ‬‫َّل‬‫أ‬ َ‫ُو‬‫ه‬‫أ‬ ۡ‫ل‬‫ي‬ِ َ‫م‬ ِ ۡ‫ضۡر‬‫ا‬ً‫ع‬﴾
“พระองค์คือผู้ทรงสร้างเพื่อพวกเจ้า ซึ่งทุกสิ่งทุกอย่างในพื้นพิภพนี้”1
เพ ร าะ ฉ ะ นั้ น โด ย นั ย นี้ ต าม ห ลั ก ก าร เดิ ม ข อ งบ ท บั ญ ญั ติ ก็ คื อ
ทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์ใช้บริโภคเป็นอาหาร ถือว่าอนุญาต (‫ة‬َ‫ح‬َ‫اب‬
ِ
‫)ا‬ ทั้งสิ้น
1
สูเราะฮ์ อัลบะเกาะเราะฮ์ อายะฮ์ที่ 29
3
(2). ต่ อม าพ ระอ งค์ อัลลอฮ์ ก็ได้ ท รงมี บั ญ ญั ติ เป็ น ห ลัก ก ารก ว้างๆ
อนุญาตให้มุสลิมบริโภคเฉพาะสิ่งที่ดี และห้ามจากการบริโภค “สิ่งที่น่ารังเกียจ” ทุกชนิด
ทั้งนี้พระองค์ได้ตรัสไว้ในอัลกุรอานที่ว่า
﴿ُ‫م‬ُ‫ه‬َ‫ل‬ ُّ‫ل‬ُِ‫ُي‬َ‫و‬ِ ۡ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫م‬ِ‫ر‬َ ُ‫ُي‬َ‫و‬ ِ‫ت‬َ‫ِب‬‫ي‬‫ذ‬‫ط‬‫ل‬‫أ‬ُ‫م‬َ‫ب‬َ‫خ‬ۡ‫ل‬‫أ‬َ‫ث‬ِ‫ئ‬﴾
“และพระองค์ทรงอนุ ญาตแก่พ วกเขา (ให้ บริโภค) สิ่งที่ ดีทั้ งห ลาย
และทรงห้ามพวกเขาจากสิ่งที่น่ารังเกียจทั้งหลาย”2
ค า ว่ า “สิ่ ง ที่ น่ า รั ง เ กี ย จ ” ห รื อ “ َ‫ث‬ِ‫ئ‬ َ‫ب‬َ‫خ‬ۡ‫ل‬‫أ‬” ใ น ที่ นี้ ห ม า ย ถึ ง
“สัตว์ที่น่ ารังเกียจในตัวของมันเอง” ซึ่งเราจะรู้จักความน่ารังเกียจของสัตว์ใดๆ
ได้จากการเป็นพิษภัยของมันต่อผู้บริโภค หรือพฤติกรรมการดารงชีพของมันเป็นที่น่ารังเกียจ
เ รื่ อ ง ค ว า ม ดี ห รื อ ค ว า ม น่ า รั ง เ กี ย จ ข อ ง สั ต ว์
จึงไม่มีส่วนสัมพันธ์กับมุมมองของชาวอาหรับโดยเฉพาะแต่ประการใด
หมายความว่า สัตว์ใดที่ชาวอาหรับรังเกียจ ก็มิใช่ว่าจะต้องเป็นสัตว์ที่ห้ามมุสลิมทั้งโลก,
ทั้งที่เป็นชาวอาหรับและมิใช่ชาวอาหรับ จากการบริโภคมัน
แ ล ะ ใ น ท า น อ ง เ ดี ย ว กั น สั ต ว์ ใ ด ที่ ช า ว อ า ห รั บ ถื อ ว่ า ดี
ก็มิได้หมายความว่าจะต้องเป็นสัตว์ที่หะลาลบริโภคแก่มุสลิมทั้งโลกเช่นเดียวกัน
อิบนุตัยมียะฮ์ ได้กล่าวว่า
ُ‫هللا‬ ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫ص‬ ‫ذ‬ ِ‫ِب‬‫ذ‬‫ن‬‫ل‬‫ا‬ ‫ذ‬‫ن‬‫ا‬َ‫ف‬، ُ‫ب‬ َ‫ر‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ه‬ْ‫ت‬َ‫ه‬ِ‫ر‬َ‫ك‬ ‫ا‬َ‫م‬ ْ‫م‬ُ ْ‫ْن‬ِ‫م‬ ‫د‬َ‫ح‬‫أ‬‫أ‬ ْ‫م‬ِ‫ر‬َ ُ‫ُي‬ ْ‫م‬َ‫ل‬ ُ‫ه‬َ‫ب‬‫ا‬َ ْ‫ْص‬‫أ‬‫أ‬َ‫و‬ َ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬‫ا‬َ‫م‬ ْ‫ِح‬‫ب‬ُ‫ي‬ ْ‫م‬َ‫ل‬َ‫و‬
ُ‫ب‬َ‫ر‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ه‬ْ‫ت‬َ َ‫َك‬‫أ‬‫أ‬
“เนื่องจากท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเศาะหาบะฮ์ของท่านนั้น
ไม่ปรากฏว่าจะมีท่านใดเคยห้ามบริโภคจากสิ่งที่ชาวอาหรับรังเกียจ และไม่มีท่านใดจะเค
ยถือว่าสิ่งที่ชาวอาหรับใช้บริโภค คือสิ่งที่อนุญาต”3
ส รุ ป แ ล้ ว
การการอนุญาตให้บริโภคสัตว์ใดจึงขึ้นอยู่กับคุณลักษณะที่ดีและการมีประโยชน์ต่อสุขภาพในก
ารบริโภคสัตว์นั้น และการห้ามบริโภคสัตว์ใดก็ขึ้นอยู่กับความน่ารังเกียจอันเป็นคุณลักษณะส่
วนตัว และการเป็นอันตรายต่อการบริโภคของมัน ดังกล่าวมาแล้ว
2
สูเราะฮ์ อัลอะอ์รอฟอายะฮ์ที่ 157
3
“มัจญ์มูอ์ อัลฟะตาวี” โดย อิบนุตัยมียะฮ์ เล่ม 17 หน้า 178-179
4
(3). นอกจากนี้ พระองค์อัลลอฮ์ ยังได้ตรัสไว้ในสูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ อายะฮ์ที่ 3
ห้ามมุสลิมจากการบริโภคสัตว์บางชนิดและสัตว์ที่ตายในบางลักษณะ คือ
สั ต ว์ ที่ ต า ย เ อ ง , เ ลื อ ด
(ที่ไหลขณะเชือด), สุกร, สัตว์ที่ถูกเปล่งนามอื่นจากอัลลอฮ์ขณะเชือด, สัตว์ที่ถูกรัดคอตาย, สั
ต ว์ ที่ ถู ก ตี ต า ย , สั ต ว์ ที่ ต ก จ า ก ที่ สู ง ต า ย , สั ต ว์ ที่ ถู ก ข วิ ด ต า ย ,
สัตว์ที่ถูกสัตว์ร้ายกัดกินนอกจากเชือดมันทัน,สัตว์ที่ถูกเชือดบนแท่นบูชา, สัตว์ที่ถูกเสี่ยงทายด้
วยไม้ติ้ว
แ ต่ ข้ อ ห้ า ม จ า ก ก า ร บ ริ โ ภ ค สั ต ว์ ดั ง ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น
มียกเว้นเฉพาะในกรณีคับขันเพื่อรักษาชีวิตไว้ ก็อนุญาตให้บริโภคได้
(4). แต่พระองค์อัลลอฮ์ ได้มีพระดารัสไว้ในอัลกุรอานว่า
﴿‫أ‬ۡ‫ي‬ َ‫ص‬ ۡ ُ‫مك‬َ‫ل‬ ‫ذ‬‫ل‬ِ‫ح‬ُ‫د‬ۡ‫ح‬َ‫ب‬ۡ‫ل‬‫أ‬ُ‫ه‬ُ‫م‬‫ا‬َ‫ع‬َ‫ط‬َ‫و‬ ِ‫ر‬‫ۥ‬َ‫ت‬َ‫م‬ۡ ُ‫مك‬‫ذ‬‫ل‬ ‫ا‬ً‫ع‬ِ‫ة‬َ‫ضۡر‬‫ا‬‫ذ‬‫ي‬ ‫ذ‬‫س‬‫ل‬ِ‫ل‬َ‫و‬﴾
“เป็ นที่อนุมัติแก่พวกเจ้าแล้วซึ่งสัตว์ที่ล่าได้ในทะเล และอาหารของมัน
เพื่อเป็ นปัจจัยยังชีพแก่พวกเจ้าและผู้เดินทาง”4
ค า ว่ า “ ท ะเ ล ” ใ น อ า ย ะ ฮ์ นี้ อั ช เช า ก า นี ไ ด้ ใ ห้ ค า อ ธิ บ า ย ว่ า5
หมายถึงแหล่งน้า (ไม่ว่าจะเป็นน้าจืดหรือน้าเค็ม) ที่มีสัตว์น้าอาศัยอยู่ จะเป็นคลอง, แม่น้า
หรือ oasis ในทะเลทราย ก็ตาม
ส่วนคาว่า “สัตว์ที่ล่าได้ในทะเล” นั กวิชาการตัฟสีรส่วนใหญ่ อธิบายว่า
หมายถึงสัตว์น้าที่เราจับมันได้ขณะยังมีชีวิตอยู่ ไม่ว่าจะเป็นปลาหรือสัตว์น้าประเภทใดก็ตาม
คาว่า “และอาหารของมัน” หมายถึงสัตว์น้าที่ตายเอง
แ ล ะ ค า ว่ า “สั ต ว์ น้ า ” ก็ ห ม า ย ถึ ง
“สัตว์ที่ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้นอกจากในน้าเท่านั้น”6
อายะฮ์ ข้ างต้ น นี้ เป็ นห ลั กฐาน อนุ ญ าต ให้ บ ริโภ ค สัต ว์น้ าได้ ทุ กช นิ ด
ไม่ว่ามันจะเป็นหรือตายเอง, และไม่ว่ามันจะมีรูปลักษณ์เหมือนกับสัตว์บกที่ห้ามรับประทาน
เช่นสุกรก็ตาม ยกเว้นสัตว์น้าที่น่ ารังเกียจบางชนิดเพราะมี อันตรายต่อผู้บริโภค
ดังจะกล่าวต่อไป
4
สูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ อายะฮ์ที่ 96
5
ตัฟสีร “ฟัตหุลเกาะดีร” เล่ม 2 หน้า 114
6
ดังคาอธิบายใน“เอานุลมะอ์บูด” เล่ม 1 หน้า 154
5
(5). ส่วนหลักฐานจากหะดีษนั้ น ท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม
ก็ ไ ด้ ห้ า ม จ า ก ก า ร บ ริ โ ภ ค สั ต ว์ ที่ มี เขี้ ย ว จ า ก สั ต ว์ ดุ ร้ า ย ทุ ก ช นิ ด
และห้ามจากบริโภคนกที่มีกรงเล็บไว้โฉบเฉี่ยวหรือจับเหยื่อทุกชนิด
อะบีษะอ์ละบะฮ์ อัลคุชะนี เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า
ُ‫هللا‬ ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ‫هللا‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ضۡر‬ ‫ى‬َ َ‫َن‬ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ِ ُ‫لك‬ ِ ْ‫لك‬‫أ‬‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ َ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬
“ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้ห้ามจาก (การบริโภค)
สัตว์ที่มีเขี้ยวทุกชนิดจากสัตว์ดุร้าย”7
อิมามมุสลิมยังได้บันทึกหะดีษนี้ มาจากอะบูฮุร็อยเราะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ
อีกสานวนหนึ่งว่า
‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬َ‫ف‬ ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ُّ ُ‫لك‬
“สัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดจากสัตว์ดุร้าย การบริโภคมันเป็ นเรื่องต้องห้าม”8
และอิมามมุสลิมยังได้รายงานมาจากอิบนุอับบาส เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ว่า
ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫هللا‬ ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ‫هللا‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ضۡر‬ ‫ى‬َ َ‫َن‬ٍ‫ب‬َ‫ل‬ْ‫خ‬ِ‫م‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ِ ُ‫لك‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬َ‫و‬ ،ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ِ ُ‫لك‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ َ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬
ِ ْ‫ي‬‫ذ‬‫ط‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬
“ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามจาก (การบริโภค)
สัตว์ที่มีเขี้ยวทุกชนิดจากสัตว์ดุร้าย และนกทุกชนิดที่มีกรงเล็บ”9
คาว่า “สัตว์ที่มีเขี้ ยว” หมายถึงสัตว์ที่มีฟันแหลมคมสาหรับฉีกเนื้ อเป็ นอาหาร
โด ย สิ่งที่ เรี ยก ว่าเขี้ ย ว จะ งอ ก คู่ ข น าน กั น ร ะห ว่างฟั น ห น้ ากั บ ฟั น ก รา ม
โดยมีฟันหน้าคั่นอยู่ระหว่างเขี้ยวทั้งสองประมาณ 4-6 ซี่
7
บันทึกโดย บุคอรี หะดีษเลขที่ 5530; มุสลิม หะดีษเลขที่ 13/1932 และผู้บันทึกท่านอื่นๆ
8
บันทึกโดย มุสลิม หะดีษเลขที่ 15/1933
9
บันทึกโดย มุสลิม หะดีษเลขที่ 16/1934
6
ส่วนคาว่า “สัตว์ดุร้าย” หมายถึงสัตว์ที่ใช้กรงเขี้ยวล่าสัตว์อื่นเป็นอาหาร
สัตว์มีเขี้ ยวและดุร้ายทุกชนิดที่ห้ ามบริโภคดังข้อความที่ระบุในหะดีษข้างต้น
มีความหมายครอบคลุมสัตว์ทุกชนิดที่มีลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นสัตว์บก, สัตว์น้า
หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
เมื่ อ พิ จ ารณ าสาน ว น ขอ งห ะดี ษ บ ท นี้ อ ย่างถี่ถ้ วน แล้ วจะเห็ น ได้ ว่ า
สัตว์ที่ท่านนะบีห้ามบริโภคจะมีคุณลักษณะในตัวเอง 2 ประการ คือ
1. มีเขี้ยว และ
2. เป็นสัตว์ดุร้าย
เพราะฉะนั้น สัตว์ใดที่มีองค์ประกอบครบทั้งสองประการดังข้างต้น เช่น สิงโต,
เสือทุกชนิด, สุนัขป่ า ฯลฯ ถือว่าเป็นสัตว์ห้ามบริโภคตามหลักการศาสนา
แ ต่ ถ้ าสัต ว์ช นิ ด ใด มี เพี ย งลั ก ษ ณ ะเดี ย ว จาก สอ งลัก ษ ณ ะนี้ ถื อ ว่ า
สัตว์ชนิดนั้นยังอนุญาตให้บริโภคได้ เช่น กระจง (ซึ่งหลายท่านบอกผู้เขียนว่า มันมีเขี้ยว)
แต่มันก็มิใช่สัตว์ดุร้าย หรืออย่างเช่นปลาฉลาม ซึ่งแม้จะเป็นสัตว์ดุร้าย แต่มันก็ไม่มีเขี้ยว
จะมีก็เฉพาะ “ฟัน” เพียงอย่างเดียวเท่านั้น
กระจงและปลาฉลาม จึงถือว่า เป็นสัตว์ที่อนุญาตให้บริโภคได้
ทีนี้ เราหันกลับมาพิจารณา “สัตว์” จากคาถามข้างต้น คือ จระเข้
ดั ง ไ ด้ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว ว่ า
นักวิชาการทั้งอดีตและปัจจุบันต่างขัดแย้งกันในเรื่องการอนุญาตให้บริโภคเนื้อจระเข้
อิมาม อะบู หะนี ฟ ะฮ์ กล่าวว่า สัตว์กินเนื้ อทุ กชนิ ด ไม่ ว่าใหญ่หรือเล็ก
ถือเป็นสัตว์ดุร้ายที่ห้ามบริโภคทั้งสิ้น
ตามนัยนี้ จระเข้จึงเป็นสัตว์ต้องห้ามตามทัศนะของอิมามอะบูหะนีฟะฮ์
อิบนุลกอสิมได้อ้างรายงานทัศนะหนึ่งจากอิมามมาลิกว่า การบริโภคสัตว์ดุร้ายที่มีเขี้ยว
เ ป็ น สิ่ ง น่ า รั ง เ กี ย จ ( ْ‫و‬ ُ‫ر‬ْ‫ك‬ َ‫م‬‫ه‬ ) แ ต่ ไ ม่ ถึ ง กั บ ต้ อ ง ห้ า ม ( ْ‫ي‬ ِ‫ر‬ َْ‫َت‬ )
ซึ่งทัศนะนี้เป็นทัศนะสานุศิษย์ส่วนใหญ่ของอิมามมาลิก10
แต่อิมามมาลิกเอง ได้รายงานหะดีษเรื่องห้ าม (‫ام‬َ‫ر‬َ‫)ح‬ บริโภคสัตว์ดุร้ายที่มีเขี้ยว
จ า ก ส า น ว น ก าร ร าย งาน ข อ ง อ ะ บู ฮุ ร็ ฮ ย เร า ะ ฮ์ เร า ะ ฎิ ยั ล ล อ ฮุ อั น ฮุ
ดังการบันทึกของอิมามมุสลิมข้างต้น แล้วท่านก็กล่าวในตอนท้ายหะดีษว่า
َ‫ُو‬‫ه‬َ‫و‬ُ‫ر‬ْ‫م‬‫أ‬‫ل‬ْ‫ا‬َ‫َن‬َ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬
“มันคือ ภารกิจ (ที่ต้องปฏิบัติ) สาหรับเรา”11
10
“ฟิกฮุสสุนนะฮ์” เล่ม 3 หน้า 255
11
“อัลมุวัฏเฏาะอ์” โดย อิมามมาลิก หะดีษเลขที่ 1097
7
คากล่าวนี้แสดงว่า สัตว์ดุร้ายที่มีเขี้ยวทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นสิงโต, เสือ, จระเข้ เป็นต้น
เป็นสัตว์ห้ามบริโภคในทัศนะของท่าน
อิ ม า ม ช า ฟิ อี แ ล ะ อิ ม า ม อ ะ ห์ มั ด มี ทั ศ น ะ ว่ า
การบริโภคเนื้อจระเข้เป็นสิ่งต้องห้ามเช่นเดียวกัน12
นี่คือบทสรุปจากทัศนะของนักวิชาการในอดีต
สาหรับนักวิชาการยุคใหม่ที่โน้มเอียงไปทางอนุญาตให้บริโภคเนื้อจระเข้ได้เท่าที่ผู้เขียน
อ่ า น เ จ อ ก็ คื อ ِ‫ء‬‫ا‬َ‫ت‬ ْ‫ف‬ ‫ال‬ ِ‫ل‬ ُ‫ة‬َ‫م‬ ِ‫ئ‬ ‫ا‬ ‫ذ‬‫دل‬ ‫ا‬ ُ‫ة‬َ‫ن‬ْ‫ج‬‫ذ‬‫ل‬‫ل‬ َ‫ا‬
หรือคณะกรรมการถาวรสาหรับตอบปัญหาแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย
แต่คณะกรรมการฯ ดังกล่าวนี้ก็เสนอแนะว่า ที่รอบคอบก็คือไม่ควรบริโภคเนื้อจระเข้!
ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงจากความขัดแย้ง และเทน้าหนักให้ด้านหลักฐานห้าม13
ส่วนนักวิชาการอาหรับอีกท่านหนึ่ง คือ ชัยค์มุหัมมัด บินศอลิห์ อัลอุษัยมีน
ได้กล่าวว่า14
َ‫ىن‬ْ‫ث‬َ‫ت‬ ْ‫س‬‫ا‬َ‫و‬ ، ِ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ِ‫ة‬َ‫ي‬‫ل‬ ْ‫ا‬ ِ‫م‬ْ‫و‬ُ‫م‬ُ‫ع‬ِ‫ل‬ ،‫ل‬ َ‫ال‬َ‫ح‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ ‫ا‬َ‫م‬ ُّ ُ‫ُك‬َ‫ف‬ ، ْ‫ْي‬ َ‫ش‬ ِ‫ر‬ْ‫ح‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ‫ا‬‫ذ‬‫م‬ِ‫م‬ َ‫ىن‬ْ‫ث‬َ‫ت‬ ْ‫ُس‬‫ي‬ َ‫ال‬ َ‫و‬
،َ‫ة‬‫ذ‬‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫و‬ َ‫ح‬‫ا‬ َ‫س‬ْ‫م‬ِ‫ت‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ َ‫ع‬ َ‫د‬ْ‫ف‬ ِ‫الض‬ ِ‫اء‬َ‫م‬َ‫ل‬ُ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ض‬ْ‫ع‬َ‫ب‬‫ذ‬ ُ‫لك‬ ‫ذ‬‫ن‬ ‫أ‬‫أ‬ ُ‫ح‬ ِ‫ج‬‫ا‬‫ذ‬‫الر‬ َ‫و‬ِ‫ر‬ْ‫ح‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ‫ذ‬‫ال‬
ِ
‫ا‬ ُ‫إ‬ُِْ‫ع‬َ‫ي‬ َ‫ال‬ ‫ا‬َ‫م‬
‫ل‬َ‫ال‬َ‫ح‬َُ‫َّل‬ْ‫ع‬‫أ‬ ُ‫هللا‬َ‫و‬
“ไม่มีข้อยกเว้นสาหรับสัตว์น้ าชนิดใด (ในด้านอนุ ญาตให้บริโภคได้)
ดั ง นั้ น สั ต ว์ ทุ ก ช นิ ด ที่ ( อ า ศั ย ) อ ยู่ ใ น น้ า ถื อ ว่ า ห ะ ล า ล
เพราะความหมายครอบคลุมของอายะฮ์อัลกุรอานและหะดีษ, นักวิชาการบางท่านได้ยกเ
ว้น ( คื อ ห้ าม บ ริโภค ) ก บ , จ ระเข้ แ ล ะงู แ ต่ ทั ศ น ะที่ มี น้ าห นัก ก็ คื อ
สัตว์ทุกชนิดที่ไม่สามารถดารงชีวิตได้นอกจากในน้า ถือว่าหะลาล วัลลอฮุ อะอ์ลัม”
ชี้แจง
ผู้เขียนมีข้อสงสัยจากคากล่าวข้างต้นของชัยค์มุหัมมัด บินศอลิห์ อัลอุษัยมีน
หลายประการดังต่อไปนี้
12
“ฟัตหุลบารี” โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานี เล่ม 9 หน้า 619; “อัลมัจญ์มูอ์” โดย อิมามนะวะวี เล่ม 9
หน้า 32; “อัลมุฆนี” โดย อิบนุกุดามะฮ์ เล่ม 9 หน้า 338
13
“เมาสูอะตุลอะห์กามอัชชัรอียะฮ์” เล่ม 3 หน้า 257-258
14
“เมาสูอะตุลอะห์กามอัชชัรอียะฮ์” เล่ม 3 หน้า 252
8
1. ทัศนะของท่านที่ว่า สัตว์น้าทุกชนิดใช้บริโภคได้โดยไม่มีข้อยกเว้นสัตว์ชนิดใดทั้งสิ้น
เ พ ร า ะ อ า ย ะ ฮ์ ที่ 96 จ า ก สู เ ร า ะ ฮ์ อั ล ม า อิ ด ะ ฮ์
ที่ผ่านมาแล้วได้กล่าวอนุญาตไว้แบบครอบคลุมนั้น
ขอถามว่า แล้วสัตว์น้าที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เช่น ปลาปักเป้ า, แมงกะพรุนไฟ
หรือไข่แมงดาถ้วย ฯลฯ จะอนุญาตให้บริโภคได้หรือไม่?
แน่นอน! คาตอบก็คือ สัตว์น้าเหล่านี้ ย่อม “ถูกยกเว้น” จากการอนุญาตให้บริโภค
เพ ร า ะ มั น เป็ น สั ต ว์ ที่ น่ า รั งเกี ย จ เนื่ อ งจ า ก มี อั น ต ร า ย ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภ ค
ดังที่ได้อธิบายผ่านมาแล้วตอนต้น
ฉ ะ นั้ น ข้ อ อ้ า งข อ ง ชั ย ค์ มุ หั ม มั ด บิ น ศ อ ลิ ห์ อั ล อุ ษั ย มี น ที่ ว่ า
สัตว์น้าทุกชนิดใช้บริโภคได้โดยไม่มีข้อยกเว้น จึงไม่น่าจะถูกต้อง
2. ค า ก ล่ า ว ข อ งชั ย ค์ มุ หั ม มั ด บิ น ศ อ ลิ ห์ อั ล อุ ษั ย มี น ที่ ว่ า
“สัตว์ทุกชนิดที่ไม่สามารถดารงชีวิตได้นอกจากในน้าถือว่าหะลาล” นั้น คากล่าวนี้ถือว่าถูกต้อง
แ ต่ ไ ม่ ทั้ ง ห ม ด เ พ ร า ะ สั ต ว์ ที่ ผู้ เ ขี ย น ย ก ตั ว อ ย่ า ง ม า
ล้ ว น เป็ น สัต ว์ น้ าอ ย่ างแ ท้ จ ริ งที่ ไม่ ส า ม า ร ถ ด า ร งชี วิ ต อ ยู่ บ น บ ก ไ ด้
แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก มั น เ ป็ น สั ต ว์ ที่ เ ป็ น อั น ต ร า ย ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภ ค
จึงต้องถูกยกเว้นจากการอนุญาตให้บริโภคได้ ดังกล่าวมาแล้วในข้อที่ 1.
3. คาถามข้อต่อมาก็คือ กบ, จระเข้ และงู ถือเป็นสัตว์น้าหรือไม่?
คาตอบและทัศนะที่ถูกต้องในเรื่องนี้ก็คือ ทั้งกบ, จระเข้ และงู ไม่ใช่สัตว์น้า
เ พ ร า ะ สั ต ว์ น้ า
หมายถึงสัตว์ที่ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่บนบกได้นอกจากอาศัยอยู่ในน้าเพียงอย่างเดียว
ดังคากล่าวของชัยค์มุหัมมัด บินศอลิห์ อัลอุษัยมีนเอง
แต่ทว่ากบ, จระเข้ และงู อาศัยและดารงชีพอยู่ได้ ทั้ งบนบกและในน้ า
จึงเรียกว่าเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
มีรายงานว่า อะฏออ์ บินอะบีเราะบาห์ (เป็ นตาบิอีน , เสียชีวิต ฮ.ศ. 114)
ถูกถามถึง ِ‫اء‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ن‬ْ‫ب‬
ِ
‫ا‬ (แปลตรงตัวว่า ลูกน้า แต่จะเป็ นสัตว์อะไรผู้ เขียนไม่ ทราบ
เพราะค้นหาปทานุกรมหลายเล่มก็ยังไม่เจอ) ว่า มันควรเป็นสัตว์ล่าบนบกหรือสัตว์ล่าในน้า
ท่านตอบว่า
،ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ُو‬‫ه‬َ‫ف‬ َ َ‫َث‬ْ‫ك‬‫أ‬‫أ‬ ُ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ك‬َ‫ي‬ ُ‫ث‬ْ‫ي‬َ‫ح‬ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ُو‬‫ه‬َ‫ف‬ ُ‫خ‬ِ‫ر‬َ‫ف‬ُ‫ي‬ ُ‫ث‬ْ‫ي‬َ‫ح‬َ‫و‬
9
“แหล่งใดที่มันอาศัยอยู่มากกว่า มันก็เป็นสัตว์ของแหล่งนั้น, และแหล่งใดที่มันออกไข่
มันก็เป็นสัตว์ของแหล่งนั้น”15
หมายความว่า ถ้าปกติมันชอบอยู่ในน้ามากกว่าบนบก ก็ให้ถือว่ามันเป็นสัตว์น้า
แต่ถ้ามันออกไข่บนบกก็ให้ถือว่ามันเป็นสัตว์บก
ถ้าเราจะตัดสินกัน ตาม กฎ เกณ ฑ์ข้ อนี้ ปั ญ หาก็มี ว่า แล้วเราจะหุ ก ม์ ว่า
จระเข้เป็นสัตว์บกหรือสัตว์น้า?
เพราะจระเข้ ปกติจะชอบอาศัยอยู่ในน้า แต่มันออกไข่บนบก!
สรุปแล้ว จระเข้จึงไม่ใช่ทั้งสัตว์น้าและสัตว์บก แต่เป็นสัตว์ประเภท “ครึ่งบกครึ่งน้า”
ดังกล่าวมาแล้ว
ในปทานุกรมกล่าวว่า16
ٍ‫ر‬َ‫ب‬ ُ‫ن‬‫ا‬َ‫و‬َ‫ي‬ َ‫ح‬ ُ‫ح‬‫ا‬ َ‫س‬ْ‫م‬ِ‫ت‬‫ل‬َ‫ا‬‫ى‬ ِ‫ئ‬‫ا‬َ‫م‬، ِ‫ب‬‫الضذ‬ ِ ْ‫ُك‬َ‫ش‬ ْ ِ‫ِف‬ ِ‫ف‬ ِ‫ح‬‫ا‬ َ‫و‬‫ذ‬‫الز‬ ِ َ‫َل‬ْ‫ي‬ ِ‫ص‬َ‫ف‬ ْ‫ن‬ ِ‫م‬ُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫و‬ َ‫ط‬ ِ‫م‬ ْ‫س‬ِ‫ج‬ْ‫ل‬‫ا‬ُ ْ‫ِي‬‫ب‬َ‫ك‬
ِ‫ل‬ُ‫ج‬ْ‫ضۡر‬‫أ‬‫ل‬ْ‫ا‬ ُ ْ‫ي‬ ِ‫ص‬َ‫ق‬ ِ‫َب‬‫ن‬‫ذ‬‫َّل‬‫ا‬. . .
“จ ร ะ เ ข้
เป็ นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า จากตระกูลสัตว์เลื้ อยคลานที่มีรูปร่างคล้ายกับแย้, ตัวใหญ่,
หางยาวและขาสั้น . . .”
จ ร ะ เ ข้ ที่ ใ ห ญ่ เต็ ม ที่ บ า ง ตั ว จ ะ มี ค ว า ม สู งป ร ะ ม า ณ 3 ฟุ ต
และความยาวจากหัวจรดปลายหาง ยาวถึง 20 ฟุต
มี ข้ อ มู ล ที่ ค ว ร จ ะ ต้ อ งรั บ ท ร า บ ไ ว้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ าร ณ าก็ คื อ
จระเข้ทุกชนิดจะต้องขึ้นมาขุดหลุมแล้ววางไข่บนบก
ไข่จระเข้จะใช้เวลาประมาณ 12 สัปดาห์หรือเกือบ 3 เดือน จึงออกเป็นตัว
ร ะ ย ะ เ ว ล า ร ะ ห ว่ า ง นั้ น
แม่จระเข้จะเฝ้าระวังไข่ของมันจนกว่าจะออกเป็นตัวโดยไม่ยอมลงน้าไปหากินตามปกติ แถมบ
า ง ค รั้ ง มั น จ ะ จั บ สั ต ว์ บ ก เ ช่ น ลิ ง , ก ว า ง ห รื อ ต ะ ก ว ด
ที่มาป้ วนเปี้ ยนอยู่ใกล้รังของมันกินเป็นอาหารด้วย
จระเข้จึงหากินได้ทั้งบนบกและในน้า
ส่ ว น ก บ แ ล ะ งู ธ ร ร ม ช า ติ นิ สั ย แ ท้ จ ริ ง ข อ ง มั น คื อ
เป็นสัตว์ที่ชอบหาแมลงหรือสัตว์เล็กๆบนบกกินเป็นอาหาร ดังเป็นที่ทราบกันดี
เพ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ก บ แ ล ะ งู จึ งเห มื อ น กั บ จ ร ะ เข้ คื อ ไ ม่ ใ ช่ เป็ น
“สัตว์น้า” ดังความเข้าใจของชัยค์มุหัมมัด บินศอลิห์ อัลอุษัยมีน และนักวิชาการบางท่าน
15
ตัฟสีร “อัลกุรฏุบี” เล่ม 3 หน้า 490
16
“อัลมุอ์ญัม อัลวะซีฏ” เล่ม 1 หน้า 88
10
แต่ถือว่า มันเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าเช่นเดียวกัน
หากมีคาถามว่า แล้วกบ, งู, ตัวเงินตัวทอง (เหี้ย) และตะกวด จะบริโภคได้หรือไม่?
คาตอบก็คือ กบห้ามบริโภค เพราะท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ห้ามฆ่ากบ17
การที่ท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ห้ ามฆ่าสัตว์ (ไม่ว่าสัตว์ชนิดใด)
จะอยู่บนเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งจาก 2 ประการคือ
1. ห้ามฆ่าเพราะมันมีเกียรติในตัวเอง ได้แก่ มนุษย์
2. ห้ามฆ่าเพราะมันเป็นสัตว์ที่ห้ามบริโภค
สัตว์ที่ห้ามฆ่าในลักษณะนี้ เช่น กบ, มด, ผึ้ง, นกหัวขวาน, นกเหยี่ยวเล็กชนิดหนึ่ง
ฯลฯ
อัลค็อฏฏอบี ได้กล่าวว่า18
ِ
‫ا‬ ،ِ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫ر‬ْ‫م‬‫أ‬‫أ‬ ِ‫د‬َ‫ح‬‫أ‬ ِ‫ل‬ َ‫ُو‬‫ه‬ ‫ا‬َ‫م‬‫ذ‬‫ن‬
ِ
‫ا‬َ‫ف‬ ِ‫ان‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ِ ِ‫ِل‬ْ‫ت‬َ‫ق‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ ٍ‫ى‬ِ ْ‫ْن‬َ‫م‬ ُّ ُ‫ُك‬َ‫ف‬ِ‫ه‬ ِ‫س‬ْ‫ف‬َ‫ن‬ ْ ِ‫ِف‬ ِ‫ه‬ِ‫ت‬َ‫م‬ْ‫ر‬ُ‫ح‬ِ‫ل‬ ‫ا‬‫ذ‬‫م‬‫ا‬‫ذ‬‫م‬
ِ
‫ا‬َ‫و‬ ، ِ ِ‫م‬َ‫د‬‫ل‬َْ‫َك‬
‫ا‬َ ِ‫ِه‬ِ‫و‬َْ‫َن‬َ‫و‬ ِ‫د‬ُ‫ه‬ ْ‫ُد‬‫ه‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ِ‫د‬َ ُّ‫لُّص‬َ‫َك‬ ِ‫ه‬ِ‫م‬ْ‫ح‬َ‫ل‬ ِ ْ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ح‬َ‫ت‬ِ‫ل‬
“สัตว์ทุกชนิดที่ห้ามฆ่า มิใช่เพราะอื่นใดนอกจากมี (เหตุผล) หนึ่งจากสองประการคือ
บ า ง ค รั้ ง เ ป็ น เ พ ร า ะ มั น มี เ กี ย ร ติ อ ยู่ ใ น ตั ว เ อ ง เ ช่ น
มนุษย์, และบางครั้งเพราะเนื้ อของมันเป็นที่ต้องห้ าม เช่น นกเหยี่ยวเล็กชนิดหนึ่ง,
นกหัวขวาน และสัตว์ที่คล้ายคลึงกับทั้งสองนั้น”
ส่วนงู ก็เป็นสัตว์ที่ห้ามบริโภค เพราะมันเป็นสัตว์ที่ถูกสั่งให้ฆ่า เช่นเดียวกับอีกา, หนู,
เหยี่ยวแดง เป็นต้น
ท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
ِ‫ات‬‫ذ‬‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬‫ا‬‫و‬ُ‫ل‬ُ‫ت‬ْ‫ق‬ُ‫ا‬
“พวกท่านจงฆ่าบรรดางูทั้งหลาย”19
สัตว์ที่ถูกสั่งให้ฆ่า ก็ด้วยเหตุผลเดียวกันกับสัตว์ที่ห้ามฆ่า ตามทัศนะที่ถูกต้องคือ
เพราะมันเป็นสัตว์ที่ห้ามบริโภค
อิมามนะวะวี ได้กล่าวว่า20
17
ดังหะดีษจากการบันทึกโดย อะบูดาวูด หะดีษเลขที่ 3871; อันนะสาอี หะดีษเลขที่ 4360; หะดีษบทนี้เป็ น
หะดีษเศาะหี้ห์ดังการรับรองโดยชัยค์อัลอัลบานี ใน “เศาะหี้ห์ อะบีดาวูด” หะดีษเลขที่ 3279
18
“มะอาลิม อัสสุนัน” เล่ม 4 หน้า 204
19
บันทึกโดย บุคอรี หะดีษเลขที่ 3297; มุสลิม หะดีษเลขที่ 128/2233
20
“อัลมัจญ์มูอ์” เล่ม 9 หน้า 22
11
‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬َ‫ف‬ ِ‫ت‬ َ‫اَن‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ِ ِ‫ِل‬ْ‫ت‬َ‫ق‬ِ‫ب‬ َ‫ر‬ِ‫م‬‫أ‬ ‫ا‬َ‫م‬
“สัตว์ใดที่ถูกสั่งให้ฆ่า การบริโภคมันก็เป็นเรื่องต้องห้าม”
และอิบนุตัยมียะฮ์ ได้กล่าวว่า21
ِ‫ات‬‫ذ‬‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ ْ‫لك‬‫أ‬‫أ‬َ ْ‫ي‬ِ‫م‬ِ‫ل‬ ْ‫س‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ع‬‫ا‬َ ْ‫م‬
ِ
ِ‫اب‬ ‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ِ‫ب‬ِ‫ضۡر‬‫ا‬َ‫ق‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬
“การบริโภคงูและแมงป่ อง เป็นเรื่องต้องห้ามตามมติเอกฉันท์ของบรรดามุสลิม”
ส่ ว น ตั ว เ งิ น ตั ว ท อ ง ห รื อ เ หี้ ย แ ล ะ ต ะ ก ว ด
ก็จัด อ ยู่ใน สัต ว์ที่ ห้ าม บ ริโภ ค เพ ราะมั น เป็ น สัต ว์ ที่ น่ ารังเกี ย จ ( ُ‫ث‬ِ‫ئ‬‫ا‬َ‫ب‬َ‫خ‬ْ‫ل‬َ‫ا‬)
เนื่องจากมันชอบกินซากสัตว์เน่า แม้กระทั่งซากศพของมนุษย์ที่มันเจอหรือขุดได้
ในกรณีของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้านี้ อิบนุลอะเราะบี ได้กล่าวเอาไว้ว่า
ِ‫ل‬َ‫د‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ َ َ‫اضۡر‬َ‫ع‬َ‫ت‬ ُ‫ه‬‫ذ‬‫ن‬‫أ‬ ِ‫ل‬ ،ُ‫ه‬ُ‫ع‬ْ‫ن‬َ‫م‬ ِ‫ر‬ْ‫ح‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ِ َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ُ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ك‬َ‫ي‬ ْ‫ى‬ ِ‫ذ‬‫اَّل‬ ِ‫ان‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ُ‫ح‬ْ‫ي‬ِ‫ح‬ ‫ذ‬‫لص‬َ‫ا‬ُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َ‫د‬ ، ِ‫ن‬َ‫ال‬ْ‫ي‬
َُ‫َّل‬ْ‫ع‬‫أ‬‫أ‬ ُ‫هللا‬َ‫و‬ ‫ا‬ً‫اط‬َ‫ي‬ِ‫ت‬ْ‫ح‬‫ا‬ ِ ْ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ح‬‫ذ‬‫ت‬‫ل‬‫ا‬ ُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َ‫د‬ ُ‫ب‬‫ذ‬‫ل‬َ‫غ‬ُ‫ي‬َ‫ف‬ ،ٍ ْ‫ي‬ِ‫ر‬َْ‫َت‬ ُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َ‫د‬َ‫و‬ ٍ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َْ‫َت‬
“ทัศนะที่ถูกต้องในเรื่องของสัตว์ซึ่งอยู่ได้ทั้งบนบกและในน้าคือ ห้าม (บริโภค)
มั น เ นื่ อ ง จ า ก ส อ ง ห ลั ก ฐ า น ใ น เ รื่ อ ง นี้ ขั ด แ ย้ ง กั น เ อ ง
หมายถึงหลักฐานอนุญาตและหลักฐานห้าม ดังนั้นจึงต้องให้น้าหนักกับหลักฐานห้ามมากกว่า
เพื่อความรอบคอบ”22
เพราะฉะนั้น การอ้างเอาอายะฮ์ที่ 96 ของสูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ มาเป็นหลักฐานว่า
อ นุ ญ าต ให้ บ ริ โภ ค ก บ , จ ร ะ เข้ แ ละ งูด้ วย เพ ร าะ มั น เป็ น “สั ต ว์ น้ า ”
ดั ง ค ว า ม ห ม า ย ค ร อ บ ค ลุ ม ข อ ง อ า ย ะ ฮ์ นี้
จึงไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริงและตามธรรมชาตินิสัยที่แท้จริงของสัตว์เหล่านี้
4. แ ม้ ใน ก ร ณี สม มุ ติ ว่าจ ร ะเข้ เป็ น สัต ว์น้ า แ ต่ ที่ สาคั ญ ที่ สุด ก็คื อ
จระเข้เป็นสัตว์ดุร้ายที่มีเขี้ยว จึงเป็นสัตว์ห้ามบริโภค ดังหะดีษถูกต้องที่ผ่านมาแล้วข้างต้น
ชัยค์สุลัยมาน บินศอลิห์ อัลคุรอชี กล่าวว่า
،‫ضۡر‬ْ‫ُو‬‫ه‬ ْ‫ش‬َ‫م‬ ‫ى‬ ِ‫ائ‬َ‫م‬ ٍ‫ر‬َ‫ب‬ ُ‫ان‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ ُ‫اح‬ َ‫س‬ْ‫م‬ِ‫ت‬‫ل‬َ‫ا‬، ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫و‬ُ‫ذ‬ ُ‫ه‬‫ذ‬‫ن‬‫أ‬ ِ‫ل‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬ ُ‫ز‬ ْ‫و‬ُ َ‫َي‬ َ‫ال‬ ،ِ‫ة‬َ‫ب‬ ْ‫ذ‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ه‬‫ا‬َ‫ي‬ِ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ُ‫إ‬ُِْ‫ع‬َ‫ي‬
َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ِ ُ‫لك‬ َ ْ‫لك‬‫أ‬‫أ‬ َ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫هللا‬ ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫ص‬ َ‫م‬‫ذ‬‫ر‬َ‫ح‬ ْ‫د‬َ‫ق‬َ‫و‬ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬
“จระเข้เป็ นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย, อาศัยอยู่ในน้าจืด,
ไม่ อนุ ญ าต ให้ บ ริโภ ค มั นเพ ราะมั นเป็ น สัต ว์มี เขี้ ย ว ซึ่งท่ าน เราะสูลุ ลลอ ฮ์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามบริโภคสัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดที่ดุร้าย”23
21
“อัลฟะตาวี” เล่ม 11 หน้า 609
22
ตัฟสีร “อัลกุรฺฏุบี” เล่ม 3 หน้า 490
23
“ُ‫ز‬ْ‫و‬َُ‫َي‬ َ‫ال‬‫ا‬َ‫م‬َ‫و‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬ ُ‫ز‬ْ‫و‬َُ‫اَي‬َ‫م‬ ،ُ‫ان‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬َ‫ا‬” หน้า 44
12
ผู้เขียนไม่เคยเจอว่า จะมีนักวิชาการท่านใดปฏิเสธในแง่ที่ว่า จระเข้เป็นสัตว์มีเขี้ยวที่
ดุร้าย
แต่ที่นักวิชาการบางท่านหรือหลายท่านมีแนวโน้มว่า อนุญาตให้บริโภคเนื้อจระเข้ได้
(แม้จะยอมรับว่าเป็นเรื่องน่ารังเกียจก็ตาม) ก็เพราะเหตุผล 2 ประการ คือ
1. เพ ราะเข้ าใจว่า จระเข้เป็ นสัตว์น้า (คือสัตว์ที่อาศัยอยู่เฉพ าะในน้า)
จึงอนุญาตให้บริโภคได้ โดยอ้างความหมายครอบคลุมกว้างๆ ของอายะฮ์ที่ 96 สูเราะฮ์
อัลมาอิดะฮ์ เป็นหลักฐาน
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องนี้ ผู้เขียนได้อธิบายผ่านมาแล้ว จึงไม่ขอชี้แจงซ้าอีก
2. เพราะในบางทัศนะของอิมามมาลิกถือว่า สิ่งที่ห้ าม (‫ام‬َ‫ر‬ َ‫)ح‬ บริโภค
ก็คือสิ่งที่พระองค์อัลลอฮ์ ได้ทรงระบุห้ามเอาไว้ในอัลกุรอานเท่านั้น
ส่วนสิ่งที่อัลกุรอานมิได้ระบุการห้ามเอาไว้ ถือว่า เป็นที่อนุมัติทั้งหมด
ส่ ว น ก า ร “ห้ า ม ”บ ริ โภ ค สั ต ว์ ใ ด ดั งที่ มี ป ร า ก ฏ ใ น บ า งห ะ ดี ษ
การห้ามดังกล่าวถือว่าการบริโภคสัตว์นั้นเป็นเรื่องน่ารังเกียจ (‫ه‬ْ‫و‬ُ‫ر‬ْ‫ك‬َ‫م‬) มิใช่ห้ามขาดจากบริโภค
(‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬)
ตัวอย่างเช่น สานวนในหะดีษจากการรายงานของอะบูษะอ์ละบะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ
ที่ผ่านมาแล้ว กล่าวว่า
“ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้าม (จากการบริโภค)
สัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดที่ดุร้าย”
ค า ว่ า “ห้ า ม ”
ในหะดีษบทนี้ ตามทัศนะของสานุศิษย์ส่วนใหญ่ของอิมามมาลิกจึงหมายถึง “มักรูฮ์”
หรือน่ารังเกียจที่จะบริโภคสัตว์มีเขี้ยวที่ดุร้าย
แต่ทัศนะดังกล่าวนี้ ขัดแย้ งกับหะดีษที่รายงานมาจาก อะบูฮุ ร็อยเราะฮ์
เร า ะ ฎิ ยั ล ล อ ฮุ อั น ฮุ จ า ก ก า ร บั น ทึ ก โ ด ย อิ ม า ม ม า ลิ ก เ อ ง24
และอิมามมุสลิม25 ด้วยข้อความที่ชัดเจนว่า
‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬َ‫ف‬ ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ُّ ُ‫لك‬
“สัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดจากสัตว์ดุร้าย การบริโภคมันเป็ นเรื่องหะรอม (ต้องห้าม)”
ด้วยเหตุนี้ อิมามมาลิกจึงกล่าวยอมรับในตอนท้ายหะดีษบทนี้ว่า
24
“อัลมุวัฏเฏาะอ์” หะดีษเลขที่ 1097
25
หะดีษเลขที่ 13/1933
13
َ‫َن‬َ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ ُ‫ر‬ْ‫م‬‫أ‬‫ل‬ْ‫ا‬ َ‫ُو‬‫ه‬َ‫و‬
“มันคือ ภารกิจ (ที่ต้องปฏิบัติ) สาหรับเรา”
จากคาพูดดังกล่าวของอิมามมาลิก อิบนุรุชด์ได้กล่าวอธิบายว่า26
ُُ‫ِل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َ‫د‬ ‫ا‬َ‫م‬ ِ‫أ‬‫ذ‬‫ط‬َ‫و‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ِ‫اِل‬َ‫م‬ َ‫ر‬َ‫ك‬َ‫ذ‬َ‫و‬‫ة‬َ‫م‬‫ذ‬‫ر‬َ‫ح‬ُ‫م‬ ُ‫ه‬َ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ ‫ا‬َ‫َنذ‬‫أ‬‫أ‬
“อิมามมาลิกได้ระบุ ใน อัลมุวัฏเฏาะอ์ด้วยข้อความซึ่งเป็ นหลักฐานว่า มั น
(การบริโภคสัตว์ดุร้ายทุกชนิดที่มีเขี้ยว) เป็นเรื่องหะรอมสาหรับท่าน”
และอัซซุรกอนี ก็ได้อธิบายหะดีษมุวัฏเฏาะอ์ของอิมามมาลิกว่า27
ِ‫أ‬‫ذ‬‫ط‬َ‫و‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫َب‬‫ه‬ْ‫ذ‬َ‫م‬ ُ‫ر‬ِ‫ه‬‫ا‬َ‫ظ‬َ‫و‬ُ ْ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ح‬‫ذ‬‫ت‬‫ل‬‫ا‬
“และตามรูปการจากแนวทางอิมามมาลิกในอัลมุวัฏเฏาะอ์ก็คือ หะรอม
(บริโภคสัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดที่ดุร้าย)”
สรุปแล้ว แม้ นั กวิชาการจะมีทัศนะขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคเนื้ อจระเข้
แ ต่ ผู้ ที่ ท ร า บ ดี ถึ ง ส ถ า น ภ า พ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง จ ร ะ เ ข้
และพิ จารณ าห ลั กฐ าน ทั้ งห ม ด ด้ วยค วาม เป็ น ธ รรม ย่อ ม ป ฏิ เสธ ไม่ ได้ ว่า
การบริโภคเนื้อจระเข้เป็นสิ่งต้องห้าม ตามทัศนะที่ถูกต้องในเรื่องนี้
. ‫عَّل‬‫أ‬ ‫وهللا‬
‫محمود‬‫بن‬‫عبد‬‫هللا‬‫الهواىس‬
tel. 08 66859660
‫العَّل‬‫قال‬‫هللا‬‫قال‬‫ضۡرسوهل‬...‫قال‬‫الصحابة‬‫لُس‬‫متويه‬‫ل‬‫اب‬
26
“บิดายะตุลมุจญตะฮิด” เล่ม 1 หน้า 468
27
“อัซซุรกอนี” โดย อัซซุรกอนี เล่ม 3 หน้า 120
14
‫ما‬‫العَّل‬‫نصبك‬‫للخالف‬‫سفاهة‬...‫بي‬‫الرسول‬‫بي‬‫و‬‫قول‬‫فقيه‬
‫وصَّل‬‫هللا‬‫وسَّل‬‫عَّل‬‫بُنا‬‫ن‬‫محمد‬‫وعَّل‬‫هل‬‫أ‬‫ْصابه‬‫أ‬‫و‬
‫ومن‬‫بعهم‬‫ت‬‫سان‬‫ح‬‫اب‬‫ىل‬‫ا‬‫يوم‬‫ادلين‬

More Related Content

Viewers also liked

الأحكام السلطانية من السياسة الشرعية
الأحكام السلطانية من السياسة الشرعيةالأحكام السلطانية من السياسة الشرعية
الأحكام السلطانية من السياسة الشرعيةOm Muktar
 
التنبيهات الجلية على الأخطاء العقدية في شروح كتب السنة النبوية - تحفة الأحوذي...
التنبيهات الجلية على الأخطاء العقدية في شروح كتب السنة النبوية - تحفة الأحوذي...التنبيهات الجلية على الأخطاء العقدية في شروح كتب السنة النبوية - تحفة الأحوذي...
التنبيهات الجلية على الأخطاء العقدية في شروح كتب السنة النبوية - تحفة الأحوذي...Om Muktar
 
منهج السلف والمتكلمين في موافقة العقل للنقل
منهج السلف والمتكلمين في موافقة العقل للنقل منهج السلف والمتكلمين في موافقة العقل للنقل
منهج السلف والمتكلمين في موافقة العقل للنقل Om Muktar
 
التعليق على رسالة رفع الأساطين في حكم الإتصال بالسلاطين للشوكاني
التعليق على رسالة رفع الأساطين في حكم الإتصال بالسلاطين للشوكانيالتعليق على رسالة رفع الأساطين في حكم الإتصال بالسلاطين للشوكاني
التعليق على رسالة رفع الأساطين في حكم الإتصال بالسلاطين للشوكانيOm Muktar
 
حجابُ المَرأة ولباسها في الصلاة) لشيخ الإسلام)
حجابُ المَرأة ولباسها في الصلاة) لشيخ الإسلام)حجابُ المَرأة ولباسها في الصلاة) لشيخ الإسلام)
حجابُ المَرأة ولباسها في الصلاة) لشيخ الإسلام)Om Muktar
 
بيان ما في نصيحة إبراهيم الرحيلي من الخلل والإخلال
بيان ما في نصيحة إبراهيم الرحيلي من الخلل والإخلالبيان ما في نصيحة إبراهيم الرحيلي من الخلل والإخلال
بيان ما في نصيحة إبراهيم الرحيلي من الخلل والإخلالOm Muktar
 
Does Saudi Arabia Preach Intolerance and Hatred in the UK and the US?
Does Saudi Arabia Preach Intolerance and Hatred in the UK and the US?Does Saudi Arabia Preach Intolerance and Hatred in the UK and the US?
Does Saudi Arabia Preach Intolerance and Hatred in the UK and the US?Om Muktar
 
ปัญหาการทำเมาลิด - อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัย
ปัญหาการทำเมาลิด - อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัยปัญหาการทำเมาลิด - อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัย
ปัญหาการทำเมาลิด - อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัยOm Muktar
 
موقف ابن تيمية من الأشاعرة
موقف ابن تيمية من الأشاعرةموقف ابن تيمية من الأشاعرة
موقف ابن تيمية من الأشاعرةOm Muktar
 
الرد على الجهمية - ابن منده
الرد على الجهمية  - ابن مندهالرد على الجهمية  - ابن منده
الرد على الجهمية - ابن مندهOm Muktar
 
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อมถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อมOm Muktar
 
بيان تلبيس المفتري محمد زاهد الكوثري أو رد الكوثري على الكوثري
بيان تلبيس المفتري محمد زاهد الكوثري أو رد الكوثري على الكوثريبيان تلبيس المفتري محمد زاهد الكوثري أو رد الكوثري على الكوثري
بيان تلبيس المفتري محمد زاهد الكوثري أو رد الكوثري على الكوثريOm Muktar
 
The Salafis and the Palestinian Issue
The Salafis and the Palestinian IssueThe Salafis and the Palestinian Issue
The Salafis and the Palestinian IssueOm Muktar
 
(كسر الصنم أو ما ورد في الكتب المذهبية من الأمور المخالفة للقرآن الكريم والعق...
(كسر الصنم أو ما ورد في الكتب المذهبية من الأمور المخالفة للقرآن الكريم والعق...(كسر الصنم أو ما ورد في الكتب المذهبية من الأمور المخالفة للقرآن الكريم والعق...
(كسر الصنم أو ما ورد في الكتب المذهبية من الأمور المخالفة للقرآن الكريم والعق...Om Muktar
 
المخرج من الفتنة
المخرج من الفتنةالمخرج من الفتنة
المخرج من الفتنةOm Muktar
 
The Devil’s Deception of ‘Abdullaah Faysal Al-Jamaykee
The Devil’s Deception of ‘Abdullaah Faysal Al-JamaykeeThe Devil’s Deception of ‘Abdullaah Faysal Al-Jamaykee
The Devil’s Deception of ‘Abdullaah Faysal Al-JamaykeeOm Muktar
 
دور المرأة في إصلاح المجتمع
دور المرأة في إصلاح المجتمعدور المرأة في إصلاح المجتمع
دور المرأة في إصلاح المجتمعOm Muktar
 
تنبيه الخلف الحاضر على أن تفويض السلف لا ينافي الإجراء على الظواهر
تنبيه الخلف الحاضر على أن تفويض السلف لا ينافي الإجراء على الظواهرتنبيه الخلف الحاضر على أن تفويض السلف لا ينافي الإجراء على الظواهر
تنبيه الخلف الحاضر على أن تفويض السلف لا ينافي الإجراء على الظواهرOm Muktar
 
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...Om Muktar
 
الإرهاب وآثاره على الأفراد والأمم
الإرهاب وآثاره على الأفراد والأممالإرهاب وآثاره على الأفراد والأمم
الإرهاب وآثاره على الأفراد والأممOm Muktar
 

Viewers also liked (20)

الأحكام السلطانية من السياسة الشرعية
الأحكام السلطانية من السياسة الشرعيةالأحكام السلطانية من السياسة الشرعية
الأحكام السلطانية من السياسة الشرعية
 
التنبيهات الجلية على الأخطاء العقدية في شروح كتب السنة النبوية - تحفة الأحوذي...
التنبيهات الجلية على الأخطاء العقدية في شروح كتب السنة النبوية - تحفة الأحوذي...التنبيهات الجلية على الأخطاء العقدية في شروح كتب السنة النبوية - تحفة الأحوذي...
التنبيهات الجلية على الأخطاء العقدية في شروح كتب السنة النبوية - تحفة الأحوذي...
 
منهج السلف والمتكلمين في موافقة العقل للنقل
منهج السلف والمتكلمين في موافقة العقل للنقل منهج السلف والمتكلمين في موافقة العقل للنقل
منهج السلف والمتكلمين في موافقة العقل للنقل
 
التعليق على رسالة رفع الأساطين في حكم الإتصال بالسلاطين للشوكاني
التعليق على رسالة رفع الأساطين في حكم الإتصال بالسلاطين للشوكانيالتعليق على رسالة رفع الأساطين في حكم الإتصال بالسلاطين للشوكاني
التعليق على رسالة رفع الأساطين في حكم الإتصال بالسلاطين للشوكاني
 
حجابُ المَرأة ولباسها في الصلاة) لشيخ الإسلام)
حجابُ المَرأة ولباسها في الصلاة) لشيخ الإسلام)حجابُ المَرأة ولباسها في الصلاة) لشيخ الإسلام)
حجابُ المَرأة ولباسها في الصلاة) لشيخ الإسلام)
 
بيان ما في نصيحة إبراهيم الرحيلي من الخلل والإخلال
بيان ما في نصيحة إبراهيم الرحيلي من الخلل والإخلالبيان ما في نصيحة إبراهيم الرحيلي من الخلل والإخلال
بيان ما في نصيحة إبراهيم الرحيلي من الخلل والإخلال
 
Does Saudi Arabia Preach Intolerance and Hatred in the UK and the US?
Does Saudi Arabia Preach Intolerance and Hatred in the UK and the US?Does Saudi Arabia Preach Intolerance and Hatred in the UK and the US?
Does Saudi Arabia Preach Intolerance and Hatred in the UK and the US?
 
ปัญหาการทำเมาลิด - อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัย
ปัญหาการทำเมาลิด - อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัยปัญหาการทำเมาลิด - อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัย
ปัญหาการทำเมาลิด - อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัย
 
موقف ابن تيمية من الأشاعرة
موقف ابن تيمية من الأشاعرةموقف ابن تيمية من الأشاعرة
موقف ابن تيمية من الأشاعرة
 
الرد على الجهمية - ابن منده
الرد على الجهمية  - ابن مندهالرد على الجهمية  - ابن منده
الرد على الجهمية - ابن منده
 
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อมถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
 
بيان تلبيس المفتري محمد زاهد الكوثري أو رد الكوثري على الكوثري
بيان تلبيس المفتري محمد زاهد الكوثري أو رد الكوثري على الكوثريبيان تلبيس المفتري محمد زاهد الكوثري أو رد الكوثري على الكوثري
بيان تلبيس المفتري محمد زاهد الكوثري أو رد الكوثري على الكوثري
 
The Salafis and the Palestinian Issue
The Salafis and the Palestinian IssueThe Salafis and the Palestinian Issue
The Salafis and the Palestinian Issue
 
(كسر الصنم أو ما ورد في الكتب المذهبية من الأمور المخالفة للقرآن الكريم والعق...
(كسر الصنم أو ما ورد في الكتب المذهبية من الأمور المخالفة للقرآن الكريم والعق...(كسر الصنم أو ما ورد في الكتب المذهبية من الأمور المخالفة للقرآن الكريم والعق...
(كسر الصنم أو ما ورد في الكتب المذهبية من الأمور المخالفة للقرآن الكريم والعق...
 
المخرج من الفتنة
المخرج من الفتنةالمخرج من الفتنة
المخرج من الفتنة
 
The Devil’s Deception of ‘Abdullaah Faysal Al-Jamaykee
The Devil’s Deception of ‘Abdullaah Faysal Al-JamaykeeThe Devil’s Deception of ‘Abdullaah Faysal Al-Jamaykee
The Devil’s Deception of ‘Abdullaah Faysal Al-Jamaykee
 
دور المرأة في إصلاح المجتمع
دور المرأة في إصلاح المجتمعدور المرأة في إصلاح المجتمع
دور المرأة في إصلاح المجتمع
 
تنبيه الخلف الحاضر على أن تفويض السلف لا ينافي الإجراء على الظواهر
تنبيه الخلف الحاضر على أن تفويض السلف لا ينافي الإجراء على الظواهرتنبيه الخلف الحاضر على أن تفويض السلف لا ينافي الإجراء على الظواهر
تنبيه الخلف الحاضر على أن تفويض السلف لا ينافي الإجراء على الظواهر
 
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
 
الإرهاب وآثاره على الأفراد والأمم
الإرهاب وآثاره على الأفراد والأممالإرهاب وآثاره على الأفراد والأمم
الإرهاب وآثاره على الأفراد والأمم
 

Similar to จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)

Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookJintana Deenang
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfssuser09955f
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfssuser09955f
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยNassaree Jeh-uma
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยNassaree Jeh-uma
 

Similar to จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย) (9)

Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital Book
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
 

More from Om Muktar

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمOm Muktar
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىOm Muktar
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةOm Muktar
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانOm Muktar
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่Om Muktar
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Om Muktar
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Om Muktar
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةOm Muktar
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلاميةOm Muktar
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمةOm Muktar
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيOm Muktar
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيOm Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...Om Muktar
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةOm Muktar
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدOm Muktar
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويمOm Muktar
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةOm Muktar
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريOm Muktar
 

More from Om Muktar (20)

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 

จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)

  • 2. 2 เนื้อจระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? ถาม รายการถามตอบ ผู้ถามได้ถามถึงเรื่องการบริโภคเนื้อจระเข้ ซึ่งอาจารย์ท่านนั้นตอบว่า เนื้ อจระเข้หะลาลคือกินได้ เพราะถือว่าเป็นที่อนุญาตตามความหมายครอบคลุมกว้างๆ ของบทบัญญัติในอัลกุรอาน แต่เป็นอายะฮ์และสูเราะฮ์อะไรผมจาไม่ได้แล้ว จึงขอให้อาจารย์ช่วยชี้แจงหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้ชัดเจนด้วย ศิษย์คนหนึ่งของอาจารย์ ตอบ หลักฐานดังกล่าวที่อาจารย์ท่านนั้นอ้างมา ผู้เขียนเข้าใจว่าน่าจะเป็นอายะฮ์ที่ 96 สูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ ดังที่ผู้เขียนจะชี้แจงและอธิบายความหมายต่อไป ปั ญ ห า เ รื่ อ ง เ นื้ อ จ ร ะ เ ข้ จ ะ ใ ช้ บ ริ โ ภ ค ไ ด้ ห รื อ ไ ม่ นี้ เป็ น ปั ญ ห า ขั ด แ ย้ ง ร ะ ห ว่ า ง นั ก วิ ช า ก า ร ทั้ งใ น อ ดี ต แ ล ะ ปั จ จุ บั น ดังที่ผู้เขียนได้เรียนให้ทราบมาตั้งแต่ต้นแล้ว และการที่นักวิชาการท่านใด จะตอบปัญหาใด ตามมุมมองของตนเอง ก็ไม่ถือว่าเป็นเรื่องผิด แ ต่ ก่ อ น อื่ น ผู้เขียนอยากจะอธิบายให้ผู้ฟังทุกท่านรับทราบพอเป็นสังเขปเกี่ยวกับกฎเกณฑ์เรื่องอาหารการ กินของมุสลิมตามบทบัญญัติเสียก่อนในบางประเด็น เพื่อจะได้เข้าใจคาตอบที่จะถึงต่อไป ดังนี้ (1). โ ด ย พื้ น ฐ า น แ ล้ ว พ ร ะ อ ง ค์ อั ล ล อ ฮ์ ได้ทรงสร้างสรรพสิ่งทุกอย่างบนพื้ นโลกมาเพื่อให้ เกิดประโยชน์แก่มวลมนุษย์ทั้งสิ้น ดังอัลกุรอานที่ว่า ﴿‫أ‬ ِ‫ِف‬ ‫ا‬‫ذ‬‫م‬ ُ‫مك‬َ‫ل‬ َ‫ق‬َ‫ل‬َ‫خ‬ ‫ى‬ِ‫ذ‬‫َّل‬‫أ‬ َ‫ُو‬‫ه‬‫أ‬ ۡ‫ل‬‫ي‬ِ َ‫م‬ ِ ۡ‫ضۡر‬‫ا‬ً‫ع‬﴾ “พระองค์คือผู้ทรงสร้างเพื่อพวกเจ้า ซึ่งทุกสิ่งทุกอย่างในพื้นพิภพนี้”1 เพ ร าะ ฉ ะ นั้ น โด ย นั ย นี้ ต าม ห ลั ก ก าร เดิ ม ข อ งบ ท บั ญ ญั ติ ก็ คื อ ทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์ใช้บริโภคเป็นอาหาร ถือว่าอนุญาต (‫ة‬َ‫ح‬َ‫اب‬ ِ ‫)ا‬ ทั้งสิ้น 1 สูเราะฮ์ อัลบะเกาะเราะฮ์ อายะฮ์ที่ 29
  • 3. 3 (2). ต่ อม าพ ระอ งค์ อัลลอฮ์ ก็ได้ ท รงมี บั ญ ญั ติ เป็ น ห ลัก ก ารก ว้างๆ อนุญาตให้มุสลิมบริโภคเฉพาะสิ่งที่ดี และห้ามจากการบริโภค “สิ่งที่น่ารังเกียจ” ทุกชนิด ทั้งนี้พระองค์ได้ตรัสไว้ในอัลกุรอานที่ว่า ﴿ُ‫م‬ُ‫ه‬َ‫ل‬ ُّ‫ل‬ُِ‫ُي‬َ‫و‬ِ ۡ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫م‬ِ‫ر‬َ ُ‫ُي‬َ‫و‬ ِ‫ت‬َ‫ِب‬‫ي‬‫ذ‬‫ط‬‫ل‬‫أ‬ُ‫م‬َ‫ب‬َ‫خ‬ۡ‫ل‬‫أ‬َ‫ث‬ِ‫ئ‬﴾ “และพระองค์ทรงอนุ ญาตแก่พ วกเขา (ให้ บริโภค) สิ่งที่ ดีทั้ งห ลาย และทรงห้ามพวกเขาจากสิ่งที่น่ารังเกียจทั้งหลาย”2 ค า ว่ า “สิ่ ง ที่ น่ า รั ง เ กี ย จ ” ห รื อ “ َ‫ث‬ِ‫ئ‬ َ‫ب‬َ‫خ‬ۡ‫ل‬‫أ‬” ใ น ที่ นี้ ห ม า ย ถึ ง “สัตว์ที่น่ ารังเกียจในตัวของมันเอง” ซึ่งเราจะรู้จักความน่ารังเกียจของสัตว์ใดๆ ได้จากการเป็นพิษภัยของมันต่อผู้บริโภค หรือพฤติกรรมการดารงชีพของมันเป็นที่น่ารังเกียจ เ รื่ อ ง ค ว า ม ดี ห รื อ ค ว า ม น่ า รั ง เ กี ย จ ข อ ง สั ต ว์ จึงไม่มีส่วนสัมพันธ์กับมุมมองของชาวอาหรับโดยเฉพาะแต่ประการใด หมายความว่า สัตว์ใดที่ชาวอาหรับรังเกียจ ก็มิใช่ว่าจะต้องเป็นสัตว์ที่ห้ามมุสลิมทั้งโลก, ทั้งที่เป็นชาวอาหรับและมิใช่ชาวอาหรับ จากการบริโภคมัน แ ล ะ ใ น ท า น อ ง เ ดี ย ว กั น สั ต ว์ ใ ด ที่ ช า ว อ า ห รั บ ถื อ ว่ า ดี ก็มิได้หมายความว่าจะต้องเป็นสัตว์ที่หะลาลบริโภคแก่มุสลิมทั้งโลกเช่นเดียวกัน อิบนุตัยมียะฮ์ ได้กล่าวว่า ُ‫هللا‬ ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫ص‬ ‫ذ‬ ِ‫ِب‬‫ذ‬‫ن‬‫ل‬‫ا‬ ‫ذ‬‫ن‬‫ا‬َ‫ف‬، ُ‫ب‬ َ‫ر‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ه‬ْ‫ت‬َ‫ه‬ِ‫ر‬َ‫ك‬ ‫ا‬َ‫م‬ ْ‫م‬ُ ْ‫ْن‬ِ‫م‬ ‫د‬َ‫ح‬‫أ‬‫أ‬ ْ‫م‬ِ‫ر‬َ ُ‫ُي‬ ْ‫م‬َ‫ل‬ ُ‫ه‬َ‫ب‬‫ا‬َ ْ‫ْص‬‫أ‬‫أ‬َ‫و‬ َ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬‫ا‬َ‫م‬ ْ‫ِح‬‫ب‬ُ‫ي‬ ْ‫م‬َ‫ل‬َ‫و‬ ُ‫ب‬َ‫ر‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ه‬ْ‫ت‬َ َ‫َك‬‫أ‬‫أ‬ “เนื่องจากท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเศาะหาบะฮ์ของท่านนั้น ไม่ปรากฏว่าจะมีท่านใดเคยห้ามบริโภคจากสิ่งที่ชาวอาหรับรังเกียจ และไม่มีท่านใดจะเค ยถือว่าสิ่งที่ชาวอาหรับใช้บริโภค คือสิ่งที่อนุญาต”3 ส รุ ป แ ล้ ว การการอนุญาตให้บริโภคสัตว์ใดจึงขึ้นอยู่กับคุณลักษณะที่ดีและการมีประโยชน์ต่อสุขภาพในก ารบริโภคสัตว์นั้น และการห้ามบริโภคสัตว์ใดก็ขึ้นอยู่กับความน่ารังเกียจอันเป็นคุณลักษณะส่ วนตัว และการเป็นอันตรายต่อการบริโภคของมัน ดังกล่าวมาแล้ว 2 สูเราะฮ์ อัลอะอ์รอฟอายะฮ์ที่ 157 3 “มัจญ์มูอ์ อัลฟะตาวี” โดย อิบนุตัยมียะฮ์ เล่ม 17 หน้า 178-179
  • 4. 4 (3). นอกจากนี้ พระองค์อัลลอฮ์ ยังได้ตรัสไว้ในสูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ อายะฮ์ที่ 3 ห้ามมุสลิมจากการบริโภคสัตว์บางชนิดและสัตว์ที่ตายในบางลักษณะ คือ สั ต ว์ ที่ ต า ย เ อ ง , เ ลื อ ด (ที่ไหลขณะเชือด), สุกร, สัตว์ที่ถูกเปล่งนามอื่นจากอัลลอฮ์ขณะเชือด, สัตว์ที่ถูกรัดคอตาย, สั ต ว์ ที่ ถู ก ตี ต า ย , สั ต ว์ ที่ ต ก จ า ก ที่ สู ง ต า ย , สั ต ว์ ที่ ถู ก ข วิ ด ต า ย , สัตว์ที่ถูกสัตว์ร้ายกัดกินนอกจากเชือดมันทัน,สัตว์ที่ถูกเชือดบนแท่นบูชา, สัตว์ที่ถูกเสี่ยงทายด้ วยไม้ติ้ว แ ต่ ข้ อ ห้ า ม จ า ก ก า ร บ ริ โ ภ ค สั ต ว์ ดั ง ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น มียกเว้นเฉพาะในกรณีคับขันเพื่อรักษาชีวิตไว้ ก็อนุญาตให้บริโภคได้ (4). แต่พระองค์อัลลอฮ์ ได้มีพระดารัสไว้ในอัลกุรอานว่า ﴿‫أ‬ۡ‫ي‬ َ‫ص‬ ۡ ُ‫مك‬َ‫ل‬ ‫ذ‬‫ل‬ِ‫ح‬ُ‫د‬ۡ‫ح‬َ‫ب‬ۡ‫ل‬‫أ‬ُ‫ه‬ُ‫م‬‫ا‬َ‫ع‬َ‫ط‬َ‫و‬ ِ‫ر‬‫ۥ‬َ‫ت‬َ‫م‬ۡ ُ‫مك‬‫ذ‬‫ل‬ ‫ا‬ً‫ع‬ِ‫ة‬َ‫ضۡر‬‫ا‬‫ذ‬‫ي‬ ‫ذ‬‫س‬‫ل‬ِ‫ل‬َ‫و‬﴾ “เป็ นที่อนุมัติแก่พวกเจ้าแล้วซึ่งสัตว์ที่ล่าได้ในทะเล และอาหารของมัน เพื่อเป็ นปัจจัยยังชีพแก่พวกเจ้าและผู้เดินทาง”4 ค า ว่ า “ ท ะเ ล ” ใ น อ า ย ะ ฮ์ นี้ อั ช เช า ก า นี ไ ด้ ใ ห้ ค า อ ธิ บ า ย ว่ า5 หมายถึงแหล่งน้า (ไม่ว่าจะเป็นน้าจืดหรือน้าเค็ม) ที่มีสัตว์น้าอาศัยอยู่ จะเป็นคลอง, แม่น้า หรือ oasis ในทะเลทราย ก็ตาม ส่วนคาว่า “สัตว์ที่ล่าได้ในทะเล” นั กวิชาการตัฟสีรส่วนใหญ่ อธิบายว่า หมายถึงสัตว์น้าที่เราจับมันได้ขณะยังมีชีวิตอยู่ ไม่ว่าจะเป็นปลาหรือสัตว์น้าประเภทใดก็ตาม คาว่า “และอาหารของมัน” หมายถึงสัตว์น้าที่ตายเอง แ ล ะ ค า ว่ า “สั ต ว์ น้ า ” ก็ ห ม า ย ถึ ง “สัตว์ที่ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้นอกจากในน้าเท่านั้น”6 อายะฮ์ ข้ างต้ น นี้ เป็ นห ลั กฐาน อนุ ญ าต ให้ บ ริโภ ค สัต ว์น้ าได้ ทุ กช นิ ด ไม่ว่ามันจะเป็นหรือตายเอง, และไม่ว่ามันจะมีรูปลักษณ์เหมือนกับสัตว์บกที่ห้ามรับประทาน เช่นสุกรก็ตาม ยกเว้นสัตว์น้าที่น่ ารังเกียจบางชนิดเพราะมี อันตรายต่อผู้บริโภค ดังจะกล่าวต่อไป 4 สูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ อายะฮ์ที่ 96 5 ตัฟสีร “ฟัตหุลเกาะดีร” เล่ม 2 หน้า 114 6 ดังคาอธิบายใน“เอานุลมะอ์บูด” เล่ม 1 หน้า 154
  • 5. 5 (5). ส่วนหลักฐานจากหะดีษนั้ น ท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม ก็ ไ ด้ ห้ า ม จ า ก ก า ร บ ริ โ ภ ค สั ต ว์ ที่ มี เขี้ ย ว จ า ก สั ต ว์ ดุ ร้ า ย ทุ ก ช นิ ด และห้ามจากบริโภคนกที่มีกรงเล็บไว้โฉบเฉี่ยวหรือจับเหยื่อทุกชนิด อะบีษะอ์ละบะฮ์ อัลคุชะนี เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ُ‫هللا‬ ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ‫هللا‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ضۡر‬ ‫ى‬َ َ‫َن‬ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ِ ُ‫لك‬ ِ ْ‫لك‬‫أ‬‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ َ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ “ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้ห้ามจาก (การบริโภค) สัตว์ที่มีเขี้ยวทุกชนิดจากสัตว์ดุร้าย”7 อิมามมุสลิมยังได้บันทึกหะดีษนี้ มาจากอะบูฮุร็อยเราะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ อีกสานวนหนึ่งว่า ‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬َ‫ف‬ ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ُّ ُ‫لك‬ “สัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดจากสัตว์ดุร้าย การบริโภคมันเป็ นเรื่องต้องห้าม”8 และอิมามมุสลิมยังได้รายงานมาจากอิบนุอับบาส เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ว่า ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫هللا‬ ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ‫هللا‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ضۡر‬ ‫ى‬َ َ‫َن‬ٍ‫ب‬َ‫ل‬ْ‫خ‬ِ‫م‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ِ ُ‫لك‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬َ‫و‬ ،ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ِ ُ‫لك‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ َ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ ْ‫ي‬‫ذ‬‫ط‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ “ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามจาก (การบริโภค) สัตว์ที่มีเขี้ยวทุกชนิดจากสัตว์ดุร้าย และนกทุกชนิดที่มีกรงเล็บ”9 คาว่า “สัตว์ที่มีเขี้ ยว” หมายถึงสัตว์ที่มีฟันแหลมคมสาหรับฉีกเนื้ อเป็ นอาหาร โด ย สิ่งที่ เรี ยก ว่าเขี้ ย ว จะ งอ ก คู่ ข น าน กั น ร ะห ว่างฟั น ห น้ ากั บ ฟั น ก รา ม โดยมีฟันหน้าคั่นอยู่ระหว่างเขี้ยวทั้งสองประมาณ 4-6 ซี่ 7 บันทึกโดย บุคอรี หะดีษเลขที่ 5530; มุสลิม หะดีษเลขที่ 13/1932 และผู้บันทึกท่านอื่นๆ 8 บันทึกโดย มุสลิม หะดีษเลขที่ 15/1933 9 บันทึกโดย มุสลิม หะดีษเลขที่ 16/1934
  • 6. 6 ส่วนคาว่า “สัตว์ดุร้าย” หมายถึงสัตว์ที่ใช้กรงเขี้ยวล่าสัตว์อื่นเป็นอาหาร สัตว์มีเขี้ ยวและดุร้ายทุกชนิดที่ห้ ามบริโภคดังข้อความที่ระบุในหะดีษข้างต้น มีความหมายครอบคลุมสัตว์ทุกชนิดที่มีลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นสัตว์บก, สัตว์น้า หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า เมื่ อ พิ จ ารณ าสาน ว น ขอ งห ะดี ษ บ ท นี้ อ ย่างถี่ถ้ วน แล้ วจะเห็ น ได้ ว่ า สัตว์ที่ท่านนะบีห้ามบริโภคจะมีคุณลักษณะในตัวเอง 2 ประการ คือ 1. มีเขี้ยว และ 2. เป็นสัตว์ดุร้าย เพราะฉะนั้น สัตว์ใดที่มีองค์ประกอบครบทั้งสองประการดังข้างต้น เช่น สิงโต, เสือทุกชนิด, สุนัขป่ า ฯลฯ ถือว่าเป็นสัตว์ห้ามบริโภคตามหลักการศาสนา แ ต่ ถ้ าสัต ว์ช นิ ด ใด มี เพี ย งลั ก ษ ณ ะเดี ย ว จาก สอ งลัก ษ ณ ะนี้ ถื อ ว่ า สัตว์ชนิดนั้นยังอนุญาตให้บริโภคได้ เช่น กระจง (ซึ่งหลายท่านบอกผู้เขียนว่า มันมีเขี้ยว) แต่มันก็มิใช่สัตว์ดุร้าย หรืออย่างเช่นปลาฉลาม ซึ่งแม้จะเป็นสัตว์ดุร้าย แต่มันก็ไม่มีเขี้ยว จะมีก็เฉพาะ “ฟัน” เพียงอย่างเดียวเท่านั้น กระจงและปลาฉลาม จึงถือว่า เป็นสัตว์ที่อนุญาตให้บริโภคได้ ทีนี้ เราหันกลับมาพิจารณา “สัตว์” จากคาถามข้างต้น คือ จระเข้ ดั ง ไ ด้ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว ว่ า นักวิชาการทั้งอดีตและปัจจุบันต่างขัดแย้งกันในเรื่องการอนุญาตให้บริโภคเนื้อจระเข้ อิมาม อะบู หะนี ฟ ะฮ์ กล่าวว่า สัตว์กินเนื้ อทุ กชนิ ด ไม่ ว่าใหญ่หรือเล็ก ถือเป็นสัตว์ดุร้ายที่ห้ามบริโภคทั้งสิ้น ตามนัยนี้ จระเข้จึงเป็นสัตว์ต้องห้ามตามทัศนะของอิมามอะบูหะนีฟะฮ์ อิบนุลกอสิมได้อ้างรายงานทัศนะหนึ่งจากอิมามมาลิกว่า การบริโภคสัตว์ดุร้ายที่มีเขี้ยว เ ป็ น สิ่ ง น่ า รั ง เ กี ย จ ( ْ‫و‬ ُ‫ر‬ْ‫ك‬ َ‫م‬‫ه‬ ) แ ต่ ไ ม่ ถึ ง กั บ ต้ อ ง ห้ า ม ( ْ‫ي‬ ِ‫ر‬ َْ‫َت‬ ) ซึ่งทัศนะนี้เป็นทัศนะสานุศิษย์ส่วนใหญ่ของอิมามมาลิก10 แต่อิมามมาลิกเอง ได้รายงานหะดีษเรื่องห้ าม (‫ام‬َ‫ر‬َ‫)ح‬ บริโภคสัตว์ดุร้ายที่มีเขี้ยว จ า ก ส า น ว น ก าร ร าย งาน ข อ ง อ ะ บู ฮุ ร็ ฮ ย เร า ะ ฮ์ เร า ะ ฎิ ยั ล ล อ ฮุ อั น ฮุ ดังการบันทึกของอิมามมุสลิมข้างต้น แล้วท่านก็กล่าวในตอนท้ายหะดีษว่า َ‫ُو‬‫ه‬َ‫و‬ُ‫ر‬ْ‫م‬‫أ‬‫ل‬ْ‫ا‬َ‫َن‬َ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ “มันคือ ภารกิจ (ที่ต้องปฏิบัติ) สาหรับเรา”11 10 “ฟิกฮุสสุนนะฮ์” เล่ม 3 หน้า 255 11 “อัลมุวัฏเฏาะอ์” โดย อิมามมาลิก หะดีษเลขที่ 1097
  • 7. 7 คากล่าวนี้แสดงว่า สัตว์ดุร้ายที่มีเขี้ยวทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นสิงโต, เสือ, จระเข้ เป็นต้น เป็นสัตว์ห้ามบริโภคในทัศนะของท่าน อิ ม า ม ช า ฟิ อี แ ล ะ อิ ม า ม อ ะ ห์ มั ด มี ทั ศ น ะ ว่ า การบริโภคเนื้อจระเข้เป็นสิ่งต้องห้ามเช่นเดียวกัน12 นี่คือบทสรุปจากทัศนะของนักวิชาการในอดีต สาหรับนักวิชาการยุคใหม่ที่โน้มเอียงไปทางอนุญาตให้บริโภคเนื้อจระเข้ได้เท่าที่ผู้เขียน อ่ า น เ จ อ ก็ คื อ ِ‫ء‬‫ا‬َ‫ت‬ ْ‫ف‬ ‫ال‬ ِ‫ل‬ ُ‫ة‬َ‫م‬ ِ‫ئ‬ ‫ا‬ ‫ذ‬‫دل‬ ‫ا‬ ُ‫ة‬َ‫ن‬ْ‫ج‬‫ذ‬‫ل‬‫ل‬ َ‫ا‬ หรือคณะกรรมการถาวรสาหรับตอบปัญหาแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย แต่คณะกรรมการฯ ดังกล่าวนี้ก็เสนอแนะว่า ที่รอบคอบก็คือไม่ควรบริโภคเนื้อจระเข้! ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงจากความขัดแย้ง และเทน้าหนักให้ด้านหลักฐานห้าม13 ส่วนนักวิชาการอาหรับอีกท่านหนึ่ง คือ ชัยค์มุหัมมัด บินศอลิห์ อัลอุษัยมีน ได้กล่าวว่า14 َ‫ىن‬ْ‫ث‬َ‫ت‬ ْ‫س‬‫ا‬َ‫و‬ ، ِ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ِ‫ة‬َ‫ي‬‫ل‬ ْ‫ا‬ ِ‫م‬ْ‫و‬ُ‫م‬ُ‫ع‬ِ‫ل‬ ،‫ل‬ َ‫ال‬َ‫ح‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ ‫ا‬َ‫م‬ ُّ ُ‫ُك‬َ‫ف‬ ، ْ‫ْي‬ َ‫ش‬ ِ‫ر‬ْ‫ح‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ‫ا‬‫ذ‬‫م‬ِ‫م‬ َ‫ىن‬ْ‫ث‬َ‫ت‬ ْ‫ُس‬‫ي‬ َ‫ال‬ َ‫و‬ ،َ‫ة‬‫ذ‬‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫و‬ َ‫ح‬‫ا‬ َ‫س‬ْ‫م‬ِ‫ت‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ َ‫ع‬ َ‫د‬ْ‫ف‬ ِ‫الض‬ ِ‫اء‬َ‫م‬َ‫ل‬ُ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ض‬ْ‫ع‬َ‫ب‬‫ذ‬ ُ‫لك‬ ‫ذ‬‫ن‬ ‫أ‬‫أ‬ ُ‫ح‬ ِ‫ج‬‫ا‬‫ذ‬‫الر‬ َ‫و‬ِ‫ر‬ْ‫ح‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ‫ذ‬‫ال‬ ِ ‫ا‬ ُ‫إ‬ُِْ‫ع‬َ‫ي‬ َ‫ال‬ ‫ا‬َ‫م‬ ‫ل‬َ‫ال‬َ‫ح‬َُ‫َّل‬ْ‫ع‬‫أ‬ ُ‫هللا‬َ‫و‬ “ไม่มีข้อยกเว้นสาหรับสัตว์น้ าชนิดใด (ในด้านอนุ ญาตให้บริโภคได้) ดั ง นั้ น สั ต ว์ ทุ ก ช นิ ด ที่ ( อ า ศั ย ) อ ยู่ ใ น น้ า ถื อ ว่ า ห ะ ล า ล เพราะความหมายครอบคลุมของอายะฮ์อัลกุรอานและหะดีษ, นักวิชาการบางท่านได้ยกเ ว้น ( คื อ ห้ าม บ ริโภค ) ก บ , จ ระเข้ แ ล ะงู แ ต่ ทั ศ น ะที่ มี น้ าห นัก ก็ คื อ สัตว์ทุกชนิดที่ไม่สามารถดารงชีวิตได้นอกจากในน้า ถือว่าหะลาล วัลลอฮุ อะอ์ลัม” ชี้แจง ผู้เขียนมีข้อสงสัยจากคากล่าวข้างต้นของชัยค์มุหัมมัด บินศอลิห์ อัลอุษัยมีน หลายประการดังต่อไปนี้ 12 “ฟัตหุลบารี” โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานี เล่ม 9 หน้า 619; “อัลมัจญ์มูอ์” โดย อิมามนะวะวี เล่ม 9 หน้า 32; “อัลมุฆนี” โดย อิบนุกุดามะฮ์ เล่ม 9 หน้า 338 13 “เมาสูอะตุลอะห์กามอัชชัรอียะฮ์” เล่ม 3 หน้า 257-258 14 “เมาสูอะตุลอะห์กามอัชชัรอียะฮ์” เล่ม 3 หน้า 252
  • 8. 8 1. ทัศนะของท่านที่ว่า สัตว์น้าทุกชนิดใช้บริโภคได้โดยไม่มีข้อยกเว้นสัตว์ชนิดใดทั้งสิ้น เ พ ร า ะ อ า ย ะ ฮ์ ที่ 96 จ า ก สู เ ร า ะ ฮ์ อั ล ม า อิ ด ะ ฮ์ ที่ผ่านมาแล้วได้กล่าวอนุญาตไว้แบบครอบคลุมนั้น ขอถามว่า แล้วสัตว์น้าที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เช่น ปลาปักเป้ า, แมงกะพรุนไฟ หรือไข่แมงดาถ้วย ฯลฯ จะอนุญาตให้บริโภคได้หรือไม่? แน่นอน! คาตอบก็คือ สัตว์น้าเหล่านี้ ย่อม “ถูกยกเว้น” จากการอนุญาตให้บริโภค เพ ร า ะ มั น เป็ น สั ต ว์ ที่ น่ า รั งเกี ย จ เนื่ อ งจ า ก มี อั น ต ร า ย ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภ ค ดังที่ได้อธิบายผ่านมาแล้วตอนต้น ฉ ะ นั้ น ข้ อ อ้ า งข อ ง ชั ย ค์ มุ หั ม มั ด บิ น ศ อ ลิ ห์ อั ล อุ ษั ย มี น ที่ ว่ า สัตว์น้าทุกชนิดใช้บริโภคได้โดยไม่มีข้อยกเว้น จึงไม่น่าจะถูกต้อง 2. ค า ก ล่ า ว ข อ งชั ย ค์ มุ หั ม มั ด บิ น ศ อ ลิ ห์ อั ล อุ ษั ย มี น ที่ ว่ า “สัตว์ทุกชนิดที่ไม่สามารถดารงชีวิตได้นอกจากในน้าถือว่าหะลาล” นั้น คากล่าวนี้ถือว่าถูกต้อง แ ต่ ไ ม่ ทั้ ง ห ม ด เ พ ร า ะ สั ต ว์ ที่ ผู้ เ ขี ย น ย ก ตั ว อ ย่ า ง ม า ล้ ว น เป็ น สัต ว์ น้ าอ ย่ างแ ท้ จ ริ งที่ ไม่ ส า ม า ร ถ ด า ร งชี วิ ต อ ยู่ บ น บ ก ไ ด้ แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก มั น เ ป็ น สั ต ว์ ที่ เ ป็ น อั น ต ร า ย ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภ ค จึงต้องถูกยกเว้นจากการอนุญาตให้บริโภคได้ ดังกล่าวมาแล้วในข้อที่ 1. 3. คาถามข้อต่อมาก็คือ กบ, จระเข้ และงู ถือเป็นสัตว์น้าหรือไม่? คาตอบและทัศนะที่ถูกต้องในเรื่องนี้ก็คือ ทั้งกบ, จระเข้ และงู ไม่ใช่สัตว์น้า เ พ ร า ะ สั ต ว์ น้ า หมายถึงสัตว์ที่ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่บนบกได้นอกจากอาศัยอยู่ในน้าเพียงอย่างเดียว ดังคากล่าวของชัยค์มุหัมมัด บินศอลิห์ อัลอุษัยมีนเอง แต่ทว่ากบ, จระเข้ และงู อาศัยและดารงชีพอยู่ได้ ทั้ งบนบกและในน้ า จึงเรียกว่าเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า มีรายงานว่า อะฏออ์ บินอะบีเราะบาห์ (เป็ นตาบิอีน , เสียชีวิต ฮ.ศ. 114) ถูกถามถึง ِ‫اء‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ن‬ْ‫ب‬ ِ ‫ا‬ (แปลตรงตัวว่า ลูกน้า แต่จะเป็ นสัตว์อะไรผู้ เขียนไม่ ทราบ เพราะค้นหาปทานุกรมหลายเล่มก็ยังไม่เจอ) ว่า มันควรเป็นสัตว์ล่าบนบกหรือสัตว์ล่าในน้า ท่านตอบว่า ،ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ُو‬‫ه‬َ‫ف‬ َ َ‫َث‬ْ‫ك‬‫أ‬‫أ‬ ُ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ك‬َ‫ي‬ ُ‫ث‬ْ‫ي‬َ‫ح‬ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ُو‬‫ه‬َ‫ف‬ ُ‫خ‬ِ‫ر‬َ‫ف‬ُ‫ي‬ ُ‫ث‬ْ‫ي‬َ‫ح‬َ‫و‬
  • 9. 9 “แหล่งใดที่มันอาศัยอยู่มากกว่า มันก็เป็นสัตว์ของแหล่งนั้น, และแหล่งใดที่มันออกไข่ มันก็เป็นสัตว์ของแหล่งนั้น”15 หมายความว่า ถ้าปกติมันชอบอยู่ในน้ามากกว่าบนบก ก็ให้ถือว่ามันเป็นสัตว์น้า แต่ถ้ามันออกไข่บนบกก็ให้ถือว่ามันเป็นสัตว์บก ถ้าเราจะตัดสินกัน ตาม กฎ เกณ ฑ์ข้ อนี้ ปั ญ หาก็มี ว่า แล้วเราจะหุ ก ม์ ว่า จระเข้เป็นสัตว์บกหรือสัตว์น้า? เพราะจระเข้ ปกติจะชอบอาศัยอยู่ในน้า แต่มันออกไข่บนบก! สรุปแล้ว จระเข้จึงไม่ใช่ทั้งสัตว์น้าและสัตว์บก แต่เป็นสัตว์ประเภท “ครึ่งบกครึ่งน้า” ดังกล่าวมาแล้ว ในปทานุกรมกล่าวว่า16 ٍ‫ر‬َ‫ب‬ ُ‫ن‬‫ا‬َ‫و‬َ‫ي‬ َ‫ح‬ ُ‫ح‬‫ا‬ َ‫س‬ْ‫م‬ِ‫ت‬‫ل‬َ‫ا‬‫ى‬ ِ‫ئ‬‫ا‬َ‫م‬، ِ‫ب‬‫الضذ‬ ِ ْ‫ُك‬َ‫ش‬ ْ ِ‫ِف‬ ِ‫ف‬ ِ‫ح‬‫ا‬ َ‫و‬‫ذ‬‫الز‬ ِ َ‫َل‬ْ‫ي‬ ِ‫ص‬َ‫ف‬ ْ‫ن‬ ِ‫م‬ُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫و‬ َ‫ط‬ ِ‫م‬ ْ‫س‬ِ‫ج‬ْ‫ل‬‫ا‬ُ ْ‫ِي‬‫ب‬َ‫ك‬ ِ‫ل‬ُ‫ج‬ْ‫ضۡر‬‫أ‬‫ل‬ْ‫ا‬ ُ ْ‫ي‬ ِ‫ص‬َ‫ق‬ ِ‫َب‬‫ن‬‫ذ‬‫َّل‬‫ا‬. . . “จ ร ะ เ ข้ เป็ นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า จากตระกูลสัตว์เลื้ อยคลานที่มีรูปร่างคล้ายกับแย้, ตัวใหญ่, หางยาวและขาสั้น . . .” จ ร ะ เ ข้ ที่ ใ ห ญ่ เต็ ม ที่ บ า ง ตั ว จ ะ มี ค ว า ม สู งป ร ะ ม า ณ 3 ฟุ ต และความยาวจากหัวจรดปลายหาง ยาวถึง 20 ฟุต มี ข้ อ มู ล ที่ ค ว ร จ ะ ต้ อ งรั บ ท ร า บ ไ ว้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ าร ณ าก็ คื อ จระเข้ทุกชนิดจะต้องขึ้นมาขุดหลุมแล้ววางไข่บนบก ไข่จระเข้จะใช้เวลาประมาณ 12 สัปดาห์หรือเกือบ 3 เดือน จึงออกเป็นตัว ร ะ ย ะ เ ว ล า ร ะ ห ว่ า ง นั้ น แม่จระเข้จะเฝ้าระวังไข่ของมันจนกว่าจะออกเป็นตัวโดยไม่ยอมลงน้าไปหากินตามปกติ แถมบ า ง ค รั้ ง มั น จ ะ จั บ สั ต ว์ บ ก เ ช่ น ลิ ง , ก ว า ง ห รื อ ต ะ ก ว ด ที่มาป้ วนเปี้ ยนอยู่ใกล้รังของมันกินเป็นอาหารด้วย จระเข้จึงหากินได้ทั้งบนบกและในน้า ส่ ว น ก บ แ ล ะ งู ธ ร ร ม ช า ติ นิ สั ย แ ท้ จ ริ ง ข อ ง มั น คื อ เป็นสัตว์ที่ชอบหาแมลงหรือสัตว์เล็กๆบนบกกินเป็นอาหาร ดังเป็นที่ทราบกันดี เพ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ก บ แ ล ะ งู จึ งเห มื อ น กั บ จ ร ะ เข้ คื อ ไ ม่ ใ ช่ เป็ น “สัตว์น้า” ดังความเข้าใจของชัยค์มุหัมมัด บินศอลิห์ อัลอุษัยมีน และนักวิชาการบางท่าน 15 ตัฟสีร “อัลกุรฏุบี” เล่ม 3 หน้า 490 16 “อัลมุอ์ญัม อัลวะซีฏ” เล่ม 1 หน้า 88
  • 10. 10 แต่ถือว่า มันเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าเช่นเดียวกัน หากมีคาถามว่า แล้วกบ, งู, ตัวเงินตัวทอง (เหี้ย) และตะกวด จะบริโภคได้หรือไม่? คาตอบก็คือ กบห้ามบริโภค เพราะท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ห้ามฆ่ากบ17 การที่ท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ห้ ามฆ่าสัตว์ (ไม่ว่าสัตว์ชนิดใด) จะอยู่บนเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งจาก 2 ประการคือ 1. ห้ามฆ่าเพราะมันมีเกียรติในตัวเอง ได้แก่ มนุษย์ 2. ห้ามฆ่าเพราะมันเป็นสัตว์ที่ห้ามบริโภค สัตว์ที่ห้ามฆ่าในลักษณะนี้ เช่น กบ, มด, ผึ้ง, นกหัวขวาน, นกเหยี่ยวเล็กชนิดหนึ่ง ฯลฯ อัลค็อฏฏอบี ได้กล่าวว่า18 ِ ‫ا‬ ،ِ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫ر‬ْ‫م‬‫أ‬‫أ‬ ِ‫د‬َ‫ح‬‫أ‬ ِ‫ل‬ َ‫ُو‬‫ه‬ ‫ا‬َ‫م‬‫ذ‬‫ن‬ ِ ‫ا‬َ‫ف‬ ِ‫ان‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ِ ِ‫ِل‬ْ‫ت‬َ‫ق‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ ٍ‫ى‬ِ ْ‫ْن‬َ‫م‬ ُّ ُ‫ُك‬َ‫ف‬ِ‫ه‬ ِ‫س‬ْ‫ف‬َ‫ن‬ ْ ِ‫ِف‬ ِ‫ه‬ِ‫ت‬َ‫م‬ْ‫ر‬ُ‫ح‬ِ‫ل‬ ‫ا‬‫ذ‬‫م‬‫ا‬‫ذ‬‫م‬ ِ ‫ا‬َ‫و‬ ، ِ ِ‫م‬َ‫د‬‫ل‬َْ‫َك‬ ‫ا‬َ ِ‫ِه‬ِ‫و‬َْ‫َن‬َ‫و‬ ِ‫د‬ُ‫ه‬ ْ‫ُد‬‫ه‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ِ‫د‬َ ُّ‫لُّص‬َ‫َك‬ ِ‫ه‬ِ‫م‬ْ‫ح‬َ‫ل‬ ِ ْ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ح‬َ‫ت‬ِ‫ل‬ “สัตว์ทุกชนิดที่ห้ามฆ่า มิใช่เพราะอื่นใดนอกจากมี (เหตุผล) หนึ่งจากสองประการคือ บ า ง ค รั้ ง เ ป็ น เ พ ร า ะ มั น มี เ กี ย ร ติ อ ยู่ ใ น ตั ว เ อ ง เ ช่ น มนุษย์, และบางครั้งเพราะเนื้ อของมันเป็นที่ต้องห้ าม เช่น นกเหยี่ยวเล็กชนิดหนึ่ง, นกหัวขวาน และสัตว์ที่คล้ายคลึงกับทั้งสองนั้น” ส่วนงู ก็เป็นสัตว์ที่ห้ามบริโภค เพราะมันเป็นสัตว์ที่ถูกสั่งให้ฆ่า เช่นเดียวกับอีกา, หนู, เหยี่ยวแดง เป็นต้น ท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า ِ‫ات‬‫ذ‬‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬‫ا‬‫و‬ُ‫ل‬ُ‫ت‬ْ‫ق‬ُ‫ا‬ “พวกท่านจงฆ่าบรรดางูทั้งหลาย”19 สัตว์ที่ถูกสั่งให้ฆ่า ก็ด้วยเหตุผลเดียวกันกับสัตว์ที่ห้ามฆ่า ตามทัศนะที่ถูกต้องคือ เพราะมันเป็นสัตว์ที่ห้ามบริโภค อิมามนะวะวี ได้กล่าวว่า20 17 ดังหะดีษจากการบันทึกโดย อะบูดาวูด หะดีษเลขที่ 3871; อันนะสาอี หะดีษเลขที่ 4360; หะดีษบทนี้เป็ น หะดีษเศาะหี้ห์ดังการรับรองโดยชัยค์อัลอัลบานี ใน “เศาะหี้ห์ อะบีดาวูด” หะดีษเลขที่ 3279 18 “มะอาลิม อัสสุนัน” เล่ม 4 หน้า 204 19 บันทึกโดย บุคอรี หะดีษเลขที่ 3297; มุสลิม หะดีษเลขที่ 128/2233 20 “อัลมัจญ์มูอ์” เล่ม 9 หน้า 22
  • 11. 11 ‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬َ‫ف‬ ِ‫ت‬ َ‫اَن‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ِ ِ‫ِل‬ْ‫ت‬َ‫ق‬ِ‫ب‬ َ‫ر‬ِ‫م‬‫أ‬ ‫ا‬َ‫م‬ “สัตว์ใดที่ถูกสั่งให้ฆ่า การบริโภคมันก็เป็นเรื่องต้องห้าม” และอิบนุตัยมียะฮ์ ได้กล่าวว่า21 ِ‫ات‬‫ذ‬‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ ْ‫لك‬‫أ‬‫أ‬َ ْ‫ي‬ِ‫م‬ِ‫ل‬ ْ‫س‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ع‬‫ا‬َ ْ‫م‬ ِ ِ‫اب‬ ‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ِ‫ب‬ِ‫ضۡر‬‫ا‬َ‫ق‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ “การบริโภคงูและแมงป่ อง เป็นเรื่องต้องห้ามตามมติเอกฉันท์ของบรรดามุสลิม” ส่ ว น ตั ว เ งิ น ตั ว ท อ ง ห รื อ เ หี้ ย แ ล ะ ต ะ ก ว ด ก็จัด อ ยู่ใน สัต ว์ที่ ห้ าม บ ริโภ ค เพ ราะมั น เป็ น สัต ว์ ที่ น่ ารังเกี ย จ ( ُ‫ث‬ِ‫ئ‬‫ا‬َ‫ب‬َ‫خ‬ْ‫ل‬َ‫ا‬) เนื่องจากมันชอบกินซากสัตว์เน่า แม้กระทั่งซากศพของมนุษย์ที่มันเจอหรือขุดได้ ในกรณีของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้านี้ อิบนุลอะเราะบี ได้กล่าวเอาไว้ว่า ِ‫ل‬َ‫د‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ َ َ‫اضۡر‬َ‫ع‬َ‫ت‬ ُ‫ه‬‫ذ‬‫ن‬‫أ‬ ِ‫ل‬ ،ُ‫ه‬ُ‫ع‬ْ‫ن‬َ‫م‬ ِ‫ر‬ْ‫ح‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ِ َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ُ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ك‬َ‫ي‬ ْ‫ى‬ ِ‫ذ‬‫اَّل‬ ِ‫ان‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ُ‫ح‬ْ‫ي‬ِ‫ح‬ ‫ذ‬‫لص‬َ‫ا‬ُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َ‫د‬ ، ِ‫ن‬َ‫ال‬ْ‫ي‬ َُ‫َّل‬ْ‫ع‬‫أ‬‫أ‬ ُ‫هللا‬َ‫و‬ ‫ا‬ً‫اط‬َ‫ي‬ِ‫ت‬ْ‫ح‬‫ا‬ ِ ْ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ح‬‫ذ‬‫ت‬‫ل‬‫ا‬ ُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َ‫د‬ ُ‫ب‬‫ذ‬‫ل‬َ‫غ‬ُ‫ي‬َ‫ف‬ ،ٍ ْ‫ي‬ِ‫ر‬َْ‫َت‬ ُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َ‫د‬َ‫و‬ ٍ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َْ‫َت‬ “ทัศนะที่ถูกต้องในเรื่องของสัตว์ซึ่งอยู่ได้ทั้งบนบกและในน้าคือ ห้าม (บริโภค) มั น เ นื่ อ ง จ า ก ส อ ง ห ลั ก ฐ า น ใ น เ รื่ อ ง นี้ ขั ด แ ย้ ง กั น เ อ ง หมายถึงหลักฐานอนุญาตและหลักฐานห้าม ดังนั้นจึงต้องให้น้าหนักกับหลักฐานห้ามมากกว่า เพื่อความรอบคอบ”22 เพราะฉะนั้น การอ้างเอาอายะฮ์ที่ 96 ของสูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ มาเป็นหลักฐานว่า อ นุ ญ าต ให้ บ ริ โภ ค ก บ , จ ร ะ เข้ แ ละ งูด้ วย เพ ร าะ มั น เป็ น “สั ต ว์ น้ า ” ดั ง ค ว า ม ห ม า ย ค ร อ บ ค ลุ ม ข อ ง อ า ย ะ ฮ์ นี้ จึงไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริงและตามธรรมชาตินิสัยที่แท้จริงของสัตว์เหล่านี้ 4. แ ม้ ใน ก ร ณี สม มุ ติ ว่าจ ร ะเข้ เป็ น สัต ว์น้ า แ ต่ ที่ สาคั ญ ที่ สุด ก็คื อ จระเข้เป็นสัตว์ดุร้ายที่มีเขี้ยว จึงเป็นสัตว์ห้ามบริโภค ดังหะดีษถูกต้องที่ผ่านมาแล้วข้างต้น ชัยค์สุลัยมาน บินศอลิห์ อัลคุรอชี กล่าวว่า ،‫ضۡر‬ْ‫ُو‬‫ه‬ ْ‫ش‬َ‫م‬ ‫ى‬ ِ‫ائ‬َ‫م‬ ٍ‫ر‬َ‫ب‬ ُ‫ان‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ ُ‫اح‬ َ‫س‬ْ‫م‬ِ‫ت‬‫ل‬َ‫ا‬، ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫و‬ُ‫ذ‬ ُ‫ه‬‫ذ‬‫ن‬‫أ‬ ِ‫ل‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬ ُ‫ز‬ ْ‫و‬ُ َ‫َي‬ َ‫ال‬ ،ِ‫ة‬َ‫ب‬ ْ‫ذ‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ه‬‫ا‬َ‫ي‬ِ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ُ‫إ‬ُِْ‫ع‬َ‫ي‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ِ ُ‫لك‬ َ ْ‫لك‬‫أ‬‫أ‬ َ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫هللا‬ ‫ذ‬‫َّل‬ َ‫ص‬ َ‫م‬‫ذ‬‫ر‬َ‫ح‬ ْ‫د‬َ‫ق‬َ‫و‬ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ “จระเข้เป็ นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย, อาศัยอยู่ในน้าจืด, ไม่ อนุ ญ าต ให้ บ ริโภ ค มั นเพ ราะมั นเป็ น สัต ว์มี เขี้ ย ว ซึ่งท่ าน เราะสูลุ ลลอ ฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามบริโภคสัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดที่ดุร้าย”23 21 “อัลฟะตาวี” เล่ม 11 หน้า 609 22 ตัฟสีร “อัลกุรฺฏุบี” เล่ม 3 หน้า 490 23 “ُ‫ز‬ْ‫و‬َُ‫َي‬ َ‫ال‬‫ا‬َ‫م‬َ‫و‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬ ُ‫ز‬ْ‫و‬َُ‫اَي‬َ‫م‬ ،ُ‫ان‬َ‫و‬َ‫ي‬َ‫ح‬ْ‫ل‬َ‫ا‬” หน้า 44
  • 12. 12 ผู้เขียนไม่เคยเจอว่า จะมีนักวิชาการท่านใดปฏิเสธในแง่ที่ว่า จระเข้เป็นสัตว์มีเขี้ยวที่ ดุร้าย แต่ที่นักวิชาการบางท่านหรือหลายท่านมีแนวโน้มว่า อนุญาตให้บริโภคเนื้อจระเข้ได้ (แม้จะยอมรับว่าเป็นเรื่องน่ารังเกียจก็ตาม) ก็เพราะเหตุผล 2 ประการ คือ 1. เพ ราะเข้ าใจว่า จระเข้เป็ นสัตว์น้า (คือสัตว์ที่อาศัยอยู่เฉพ าะในน้า) จึงอนุญาตให้บริโภคได้ โดยอ้างความหมายครอบคลุมกว้างๆ ของอายะฮ์ที่ 96 สูเราะฮ์ อัลมาอิดะฮ์ เป็นหลักฐาน ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องนี้ ผู้เขียนได้อธิบายผ่านมาแล้ว จึงไม่ขอชี้แจงซ้าอีก 2. เพราะในบางทัศนะของอิมามมาลิกถือว่า สิ่งที่ห้ าม (‫ام‬َ‫ر‬ َ‫)ح‬ บริโภค ก็คือสิ่งที่พระองค์อัลลอฮ์ ได้ทรงระบุห้ามเอาไว้ในอัลกุรอานเท่านั้น ส่วนสิ่งที่อัลกุรอานมิได้ระบุการห้ามเอาไว้ ถือว่า เป็นที่อนุมัติทั้งหมด ส่ ว น ก า ร “ห้ า ม ”บ ริ โภ ค สั ต ว์ ใ ด ดั งที่ มี ป ร า ก ฏ ใ น บ า งห ะ ดี ษ การห้ามดังกล่าวถือว่าการบริโภคสัตว์นั้นเป็นเรื่องน่ารังเกียจ (‫ه‬ْ‫و‬ُ‫ر‬ْ‫ك‬َ‫م‬) มิใช่ห้ามขาดจากบริโภค (‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬) ตัวอย่างเช่น สานวนในหะดีษจากการรายงานของอะบูษะอ์ละบะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ที่ผ่านมาแล้ว กล่าวว่า “ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้าม (จากการบริโภค) สัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดที่ดุร้าย” ค า ว่ า “ห้ า ม ” ในหะดีษบทนี้ ตามทัศนะของสานุศิษย์ส่วนใหญ่ของอิมามมาลิกจึงหมายถึง “มักรูฮ์” หรือน่ารังเกียจที่จะบริโภคสัตว์มีเขี้ยวที่ดุร้าย แต่ทัศนะดังกล่าวนี้ ขัดแย้ งกับหะดีษที่รายงานมาจาก อะบูฮุ ร็อยเราะฮ์ เร า ะ ฎิ ยั ล ล อ ฮุ อั น ฮุ จ า ก ก า ร บั น ทึ ก โ ด ย อิ ม า ม ม า ลิ ก เ อ ง24 และอิมามมุสลิม25 ด้วยข้อความที่ชัดเจนว่า ‫ام‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ُ‫ه‬ُ ْ‫َك‬‫أ‬‫أ‬َ‫ف‬ ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ب‬ ِ‫س‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ب‬ َ‫َن‬ ْ‫ى‬ِ‫ذ‬ ُّ ُ‫لك‬ “สัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดจากสัตว์ดุร้าย การบริโภคมันเป็ นเรื่องหะรอม (ต้องห้าม)” ด้วยเหตุนี้ อิมามมาลิกจึงกล่าวยอมรับในตอนท้ายหะดีษบทนี้ว่า 24 “อัลมุวัฏเฏาะอ์” หะดีษเลขที่ 1097 25 หะดีษเลขที่ 13/1933
  • 13. 13 َ‫َن‬َ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ ُ‫ر‬ْ‫م‬‫أ‬‫ل‬ْ‫ا‬ َ‫ُو‬‫ه‬َ‫و‬ “มันคือ ภารกิจ (ที่ต้องปฏิบัติ) สาหรับเรา” จากคาพูดดังกล่าวของอิมามมาลิก อิบนุรุชด์ได้กล่าวอธิบายว่า26 ُُ‫ِل‬ْ‫ي‬ِ‫ل‬َ‫د‬ ‫ا‬َ‫م‬ ِ‫أ‬‫ذ‬‫ط‬َ‫و‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬ ِ‫اِل‬َ‫م‬ َ‫ر‬َ‫ك‬َ‫ذ‬َ‫و‬‫ة‬َ‫م‬‫ذ‬‫ر‬َ‫ح‬ُ‫م‬ ُ‫ه‬َ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ ‫ا‬َ‫َنذ‬‫أ‬‫أ‬ “อิมามมาลิกได้ระบุ ใน อัลมุวัฏเฏาะอ์ด้วยข้อความซึ่งเป็ นหลักฐานว่า มั น (การบริโภคสัตว์ดุร้ายทุกชนิดที่มีเขี้ยว) เป็นเรื่องหะรอมสาหรับท่าน” และอัซซุรกอนี ก็ได้อธิบายหะดีษมุวัฏเฏาะอ์ของอิมามมาลิกว่า27 ِ‫أ‬‫ذ‬‫ط‬َ‫و‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫َب‬‫ه‬ْ‫ذ‬َ‫م‬ ُ‫ر‬ِ‫ه‬‫ا‬َ‫ظ‬َ‫و‬ُ ْ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ح‬‫ذ‬‫ت‬‫ل‬‫ا‬ “และตามรูปการจากแนวทางอิมามมาลิกในอัลมุวัฏเฏาะอ์ก็คือ หะรอม (บริโภคสัตว์มีเขี้ยวทุกชนิดที่ดุร้าย)” สรุปแล้ว แม้ นั กวิชาการจะมีทัศนะขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคเนื้ อจระเข้ แ ต่ ผู้ ที่ ท ร า บ ดี ถึ ง ส ถ า น ภ า พ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง จ ร ะ เ ข้ และพิ จารณ าห ลั กฐ าน ทั้ งห ม ด ด้ วยค วาม เป็ น ธ รรม ย่อ ม ป ฏิ เสธ ไม่ ได้ ว่า การบริโภคเนื้อจระเข้เป็นสิ่งต้องห้าม ตามทัศนะที่ถูกต้องในเรื่องนี้ . ‫عَّل‬‫أ‬ ‫وهللا‬ ‫محمود‬‫بن‬‫عبد‬‫هللا‬‫الهواىس‬ tel. 08 66859660 ‫العَّل‬‫قال‬‫هللا‬‫قال‬‫ضۡرسوهل‬...‫قال‬‫الصحابة‬‫لُس‬‫متويه‬‫ل‬‫اب‬ 26 “บิดายะตุลมุจญตะฮิด” เล่ม 1 หน้า 468 27 “อัซซุรกอนี” โดย อัซซุรกอนี เล่ม 3 หน้า 120