SlideShare a Scribd company logo
การออกแบบการเรียนรู้ตาม
แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
Jonassen ได้นาเสนอลักษณะของสิ่งแวดล้อม
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อการ
เรียนรู้อย่างมีความหมาย จะต้องมีคุณลักษณะ
ดังนี้
1. การทากิจกรรม (Active)
เป็นกระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมของผู้เรียน ด้วยความตั้งใจ
และความรับผิดชอบ โดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ทุกคน ทุกวัย เกิดการ
เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ยกตัวอย่างเช่น การเล่นเบสบอลบนลานทรายของ
พวกเด็กๆ เขาจะเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการเล่นระหว่างกัน โดยการเจรจา
ต่อรอง(negotiate)ถึงวิธีการเล่น ไม่ใช่ว่าพวกเขาจะต้องมาเรียนรู้
วิธีการเล่นในชั้นเรียน หรือในโรงเรียน ซึ่งเป็นลักษณะการเรียนรู้ที่
เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ทักษะ ความรู้ ที่ได้เกิดจากการแลกเปลี่ยนกับ
สมาชิกคนอืน โดยใช้วธการสือสารและการลงมือปฏิบัตเิ อง ตลอดจน
่
ิี ่
การสะท้อนผลหลังการเรียนรู้
2. การสร้างความรู้ (constructive)
ผู้เรียนจะบูรณาการความรู้ใหม่เข้ากับความรู้เดิม เพื่อที่จะทาให้เกิด
ความหมายยิ่งขึ้น รูปแบบการเรียนรู้อย่างมีความหมายจะเกิดจากการมี
ประสบการณ์ การสะท้อนผล (reflection) ซึ่งจะทาให้พวกเขาลึกซึ้ง
ยิ่งขึ้น
3.การเรียนรูแบบร่วมมือ (collaborative)
้
โดยธรรมชาติแล้วผู้เรียนจะมีการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และความรู้อยู่
แล้ว มนุษย์โดยธรรมชาติแล้วก็มักจะค้นหาวิธการ ที่จะให้คนอื่น
ี
ช่วยเหลือในการแก้ปัญหาและการปฏิบัติภารกิจ
4.ความตั้งใจ (intentional)
• พฤติกรรมมนุษย์โดยทั่วไปแล้วล้วนมีเป้าหมาย และก็จะทาทุกอย่างเพื่อให้
เป้าหมายของตนเองประสบผลสาเร็จ เป้าหมายอาจจะมีตั้งแต่เรืองธรรมดา ไป
่
จนถึงเรืองซับซ้อน เช่น ความต้องการทีจะพัฒนาทักษะฝีมออาชีพ ดังนั้น การที่
่
ื
จะให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทา และเกิดการเรียนรู้ได้ จะต้องเป็นสิ่งแวดล้อมที่
ส่งเสริมผู้เรียนให้มีการกล่าวออกมา เกี่ยวกับเป้าหมายในสถานการณ์เรียนรู้นั้น
5.ความซับซ้อน (complex)
บางครั้งในการเรียนการสอนแบบเดิม มักเป็นการถ่ายทอดความรู้จากครูไปยังนักเรียน
สอนในเรืองที่ง่ายๆเป็นบริบทธรรมดา แต่ในความเป็นจริงในโลก กลับซับซ้อน และ
่
ไม่ได้มีวิธีการแก้ปัญหาได้โดยวิธีเดียว ปัญหาที่เกิดขึ้นก็ไม่มีวิแก้ไขในตาราเรียนเลย
ดังนั้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนาเสนอการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนได้มสวนร่วมใน
ี่
การแก้ปญหาทีซับซ้อน เป็น โครงสร้างปัญหาที่ไม่สมบูรณ์ (ill-structure ) ซึ่ง
ั ่
อย่างน้อยที่สุดก็จะทาให้ผู้เรียนได้เกิดทักษะการคิดขั้นสูง และช่วยพัฒนามุมมองใน
การมองโลกยิ่งขึ้น
6.สภาพและบริบท (contextual)
มีงานวิจัยหลายชิ้นที่แสดงให้เห็นว่า ภารกิจการเรียนรู้ที่เป็นสถานการณ์
ความเป็นจริงในโลกที่มีความหมาย หรือ สถานการณ์จาลองในcase-based
หรือ problem based learning สิ่งเหล่านี้ ก็ยังไม่ทาให้เกิดความเข้าใจของ
ผู้เรียนได้ แต่ว่าเป็นเพียงการถ่ายโยงให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่ๆเท่านั้น ความคิด
นามธรรมเกี่ยวกับกฏที่เราจดจา จะสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ปัญหา
ที่เกิดขึ้นได้ แต่เราก็ยังมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสอนในเรืองของความรู้ และ
่
ทักษะในชีวิตจริง บริบทซึ่งมีประโยชน์อย่างมาก และ ต้องจัดเตรียมการเรียนรู้ให้
ผู้เรียนเห็นความแตกต่างในหลากหลายบริบทเพือเขาได้ฝึกปฏิบตและใช้ความคิด
่
ัิ
7.การสนทนา (conversational)
โดยปกติในสังคมก็จะมีการพูดคุย สนทนากันเกี่ยวกับปัญหางาน ผู้คนก็มักจะ
ค้นหาความคิดเห็น หรือ ความคิดจากบุคคลอื่นๆ เทคโนโลยี จะช่วยสนับสนุน
กระบวนการสนทนาเหล่านี้ โดยการเชื่อมผู้เรียนระหว่าง ชั้นเรียน เมือง หรือ ข้าม
โลก ซึ่งผู้เรียนก็จะกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของสังคมแห่งการเรียนรู้ ทั้งในชั้นเรียน
และโลกภายนอก มุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับโลก จะช่วยในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตจริง
8.การสะท้อนผล (reflective)
ผู้เรียนจะสะท้อนผล ด้วยการใช้เทคโนโลยีเป็นฐานในการเรียนรู้
ที่จะกล่าวออกมา ในสิ่งที่ทาอยู่ และยุทธศาสตร์ที่ใช้ คาตอบที่พบ และ
เมื่อเขาได้พูดคุยกัน พวกจะทาให้เกิดการเรียนรู้ จากการสะท้อนผล
เกี่ยวกับกระบวนการ และ สิ่งทีทาให้ตัดสินใจอย่างนั้น เขาจะเข้าใจได้ดี
่
ยิ่งขึ้น และทาให้เกิดความรู้ขึ้นใหม่จากสถานการณ์
ตัวอย่างการสอนตามแนวคิด
คอนสตรัคติวิสม์

โดยนาตัวอย่างมาจากชั้นเรียนวิชาภาษาญี่ปุ่น
1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
เป็นขั้นตอนการเตรียมความพร้อมของนักเรียน โดยการทบทวนความรู้เดิมและ
พยายามกระตุ้นให้นักเรียนระลึกถึงประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเนื้อหาใหม่
ด้วยวิธีการต่างๆ
สิงทีเ่ กิดขึ้นในชั้นเรียน : ก่อนผูสอนจะเริ่มบทเรียนใหม่ จะทบทวนบทเรียนเก่า
่
้
ก่อน โดยการถามศัพท์ที่ได้เรียนไปแล้ว และยกตัวอย่างประโยคที่เกี่ยวกับไวยากรณ์ที่
เคยเรียนไปแล้ว
2. ขั้นตอนการสอน
2.1ขั้นเผชิญสถานการณ์ปัญหา
ผู้สอนเสนอสถานการณ์ที่เป็นตัวอย่างในชีวิตประจาวัน ให้สัมพันธ์
กับบทเรียน เพื่อเป็นแรงจูงใจในการเรียนรู้ของนักเรียน
สิงทีเ่ กิดขึ้นในชั้นเรียน : ผู้สอนจะสอนคาศัพท์จากสือที่เป็นแผ่น
่
่
ป้ายซึ่งมีรูปภาพ ให้ผู้เรียนบอกศัพท์ และสอนไวยากรณ์จากการ
ยกตัวอย่าง ประโยคที่สามารถใช้ในชีวิตประจาวัน และให้ผู้เรียนลองแต่ง
ประโยคตามไวยากรณ์ที่เรียนไป
2.2ขั้นกิจกรรมไตร่ตรอง
ครูผู้สอนจะต้องพยายามกระตุ้นให้นักเรียนสะท้อนความคิดออกมา
เพราะการสะท้อนความคิดเป็นการแสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจของ
นักเรียนว่ามีมากน้อยเพียงใด
สิงทีเ่ กิดขึนในชันเรียน : จากทีเ่ รียนเมื่อลองลงมือปฏิบัติ แต่ง
่
้ ้
ประโยค แล้วมีปัญหาตรงไหนบ้าง ไวยากรณ์ที่ใช้ถูกต้องตามหลักการ
หรือไม่ เมือแต่งประโยคแล้วจะแปลกสาหรับวัฒนธรรมญี่ปุ่นหรือไม่
่
นอกจากนี้ยังมีไวยากรณ์ที่คล้ายกับที่เคยเรียนไป ต่างกันอย่างไรในการใช้
สามารถแยกความแตกต่างได้หรือไม่
2.3 เสนอแนวทางแก้ปญหา
ั
ช่วยทาให้ทุกคนมีความพร้อมที่จะนาเสนอแนวทางแก้ปัญหาต่อทัง
้
ชั้น พร้อมทั้งตอบข้อซักถามและชี้แจงเหตุผล นักเรียนทุกคนจะได้มีส่วน
ร่วมในการอภิปรายและตรวจสอบถึงความถูกต้องและเหมาะสมในแนว
ทางการแก้ปัญหาประเมินทางเลือกถึงข้อดีข้อจากัดของแต่ละทางเลือกและ
สรุปแนวทางเลือกทั้งหมด เพื่อนาไปใช้
สิงทีเ่ กิดขึนในชันเรียน : เมื่อรับรู้ถึงปัญหา ทดลองนาเสนอกับ
่
้ ้
ผู้สอน และผู้สอนจะช่วยแก้ไข และอธิบายว่าถูกต้อง หรือผิดอย่างไร ให้
ผู้เรียนออกความคิดเห็นช่วยสรุปความแตกต่าง และนาไปใช้ต่อไป
3. ขั้นสรุป
นักเรียนร่วมกันสรุปหลักการและกระบวนการแก้ปัญหา ในเรื่อง
ที่เรียนและครูผู้สอนช่วยเสริมแนวคิดหลักการความคิดรวบยอดและ
กระบวนการแก้ปัญหาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
สิงทีเ่ กิดขึ้นในชั้นเรียน : ผู้สอนจะสรุปความรู้รวบยอดในหน่วย
่
การเรียนให้นักเรียนฟัง และกระตุ้นให้นกเรียนได้คิดว่าในไวยากรณ์ที่ได้
ั
เรียนไปมีความแตกต่างหรือเหมือนกับอีกไวยากรณ์อย่างไร
4. ขั้นฝึกทักษะและนาไปใช้
เป็นขั้นที่ให้นักเรียนฝึกทักษะจากใบงานที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นที่มี
สถานการณ์ที่หลากหลายหรือทีนักเรียนสร้างสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกับ
่
สถานการณ์เดิม
สิงทีเ่ กิดขึนในชันเรียน : ผู้สอนให้ผู้เรียนจับคู่ซ้อมบทสนทนาตาม
่
้ ้
ไวยากรณ์ในบทที่กาลังเรียน และมีทาใบงานในห้องเรียน เช่น การฝึก
ผันและใช้ไวยากรณ์
5. ขั้นประเมินผล
ขั้นนี้จะประเมินผลจากการทาใบงาน จากการทาแบบฝึกหัดใน
บทเรียนและจากสถานการณ์ที่นักเรียนสร้างขึ้น
สิงทีเ่ กิดขึนในชันเรียน : ผู้สอนให้ทาแบบฝึกหัดประจาบทและมี
่
้ ้
การทดสอบประจาบททุกครั้งที่เรียนจบบท และมีการทดสอบครั้งที่สอง
สาหรับคนที่ได้คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์
แนวทางการศึกษา
ศึกษาข้อมูลจากเว็บไซด์ แล้วนาข้อมูลมาคิดวิเคราะห์ร่วมกันกับ
สถานการณ์การเรียนการสอนของ สาขาวิชาการสอนภาษาญี่ปุ่น ชั่วโมง
เรียนไวยากรณ์ตามตัวอย่าง
ชั่วโมงการสอนของสาขาการสอนภาษาญี่ปุ่น เป็นการเรียนการสอน
ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ คือการมุงพัฒนานักเรียนได้มีโอกาสได้สร้าง
่
ความรู้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้
นักเรียนได้เผชิญกับสถานการณ์ปญหาที่สัมพันธ์กับเนื้อหาของบทเรียน
ั
และสอดคล้องกับชีวิตประจาวัน
แหล่งการเรียนรู้
เว็บไซต์
1.https://sites.google.com/site/prapas ara/khorngsrangraywicha-m-1
2.http://www.baanjomyut.com/library_2/extension2/constructivist_theory/04.html
ผู้จัดทา
1.นางสาวจันทร์จิรา อินธนู 553050009-3
2.นางสาวณัฐชยา เครือศึก 553050010-8
3.นางสาวจรรยฐิตา ค้าทันเจริญ 553050152-8
สาขาวิชาการสอนภาษาญี่ปน
ุ่

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้guestfc034
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนO-mu Aomaam
 
การพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิดการพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิด
Porin Pukpoonthapat
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Charuni Samat
 
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองduenka
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
Pitanya Candy
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
Sathapron Wongchiranuwat
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
guest897da
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์
Eye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลNusaiMath
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
Tum'Tim Chanjira
 

What's hot (18)

บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
 
การพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิดการพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิด
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
 
Ssss
SsssSsss
Ssss
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบล
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
 
4 mat
4 mat4 mat
4 mat
 

More from chanchirajap

การผันกริยาต่างๆ
การผันกริยาต่างๆการผันกริยาต่างๆ
การผันกริยาต่างๆchanchirajap
 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์chanchirajap
 

More from chanchirajap (11)

Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter9
Chapter9 Chapter9
Chapter9
 
Chapter9
Chapter9Chapter9
Chapter9
 
การผันกริยาต่างๆ
การผันกริยาต่างๆการผันกริยาต่างๆ
การผันกริยาต่างๆ
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 4
Chapter 4 Chapter 4
Chapter 4
 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 

การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์