SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
การบริหารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย
                                       พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺโต1 และกัญจน์ วงศ์อาจ2

                          An Integration of Water management and Development of
                                   the Mekong River Basin in Loei region
                                         Phra Privaet Cittatanto, Mr. Kan Won-Aj


บทคัดย่อ
         ในการศึกษาเรื องการบริ หารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย ผูวิจย้ ั
มีวตถุประสงค์ดงนี คือ ) เพือศึกษาภาพรวมของลุ่มนําทังในด้านอุปสงค์อุปทาน แนวทางแก้ไขในปัญหา
   ั            ั
และวิธีการจัดการทรัพยากรนําทีชัดเจน ) เพือศึกษาการดําเนินการบริ หารจัดการทรัพยากรนําอย่างเป็ น
ระบบสําหรับการพัฒนาแหล่งนํา การป้ องกันและบรรเทาภัยทีเกิดจากนํา การบริ หารจัดการทรัพยากรนํา
อย่างยังยืน
         รูปแบบในการศึกษา เป็ นการศึกษาเชิงสํารวจ
         ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง เป็ นผูทีอาศัยอยู่ในเขตลุ่มนําโขง จังหวัดเลย กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบ
                                         ้
เจาะจง การวิเคราะห์ขอมูลจากการสังเกต สัมภาษณ์ และศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง
                      ้
         พืนทีในการศึกษา จังหวัดเลย เป็ นพืนทีทีอยูในเขตลุ่มนําโขง , . ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นร้อย
                                                   ่
ละ . ของพืนทีจังหวัด และคิดเป็ นร้อยละ . ของพืนทีลุ่มแม่นาโขง     ํ
         สรุ ปผลการศึกษา การบริ หารจัดการนําแบบบูรณาการเป็ นการร่ วมกันแบ่งปั นใช้ บริ หารจัดการ
และอนุรักษ์ทรัพยากรนํา และทรัพยากรทีเกียวข้องของแม่นาโขง เพือให้บรรลุเป้ าหมายของความตกลงว่า
                                                         ํ
ด้วยความร่ วมมือเพือการพัฒนาลุ่มแม่น ําโขงอย่างยังยืน จําเป็ นต้องมีก ารจัดทําแผนพัฒ นาลุ่มนํา ซึ งให้
แนวทางเบืองต้น ในการบริ หารจัดการและพัฒนาลุ่มนําอย่างยังยืน
         ข้ อเสนอแนะ วิธีการจัดการนําแบบบูรณาการ การดําเนินแผนงาน และโครงการในการแก้ไขปัญหา
การบริ หารจัดการนํานัน จําเป็ นจะต้องพิจารณาทังในระดับมหภาค คือ การทําความตกลงและการจัดสรร
ผลประโยชน์เกียวกับนําในลุ่มนํา

คําสําคัญ การบริ หารจัดการนํา, ลุ่มนําโขง, การพัฒนาลุ่มนําแบบบูรณาการ




1
    พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺโต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
2
    นายกัญจน์ วงศ์อาจ ประธานชมรมรักษ์ถินไทยเลย, นักวิจยท้องถิน
                                                      ั
Abstract

        The study “An Integration of Water management and Development of the Mekong
River Basin in Loei Region” aims to (1) study an overall picture of river basin in aspect of
supply and demand, solutions, and water resource management (2) to propose the water
resource management systematically for water source development, preventing and mitigating
the disaster caused by water, and for sustainable water resource management.
It is a survey study. The population consists of inhabitants in the Mekong River Basin in Loei.
The sampling is purposive selection. The data analysis is from an observation, interview, and
related documents.

Area of the study

        Loei province is located in Mekong River area with 8415.38 sq. km, 80.05 percent of
the province area and 17.93 percent of the Mekong region.

Findings

        The integrated water management is the way of sharing, managing, water resource
conservation and other related resources to achieve the goals of the agreement on cooperation
for the sustainable development of the Mekong basin. It is necessary to arrange the basin
development plan that provides the basic guidelines in water management and sustainable
development.

Suggestions

        To manage water in the integrated way, an action plan, and projects to solve water
management problems are needed to be considered at the macro level with the agreement and
allocation of benefits that related to water in the area.
Key words: water management, Mekong Basin, integrated watershed development


บทนํา
      ประเทศในลุ่มแม่นาโขง มีสภาพภูมิศาสตร์และแนวพรหมแดนทีติดกัน มี ประเทศ ประกอบด้วย
                      ํ
ประเทศไทย สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว สาธารณรั ฐสังคมนิ ย มเวี ย ดนาม สหภาพพม่ า
สาธารณรัฐประชาชนจีน (มณฑลยูนาน) และราชอาณาจักรกัมพูชา ได้มีการปรับเปลียนนโยบายทางการ
เมือง โดยมีเจตนารมณ์ทีจะร่ วมมือกันทางเศรษฐกิ จ เพือความอยู่ดี กินดีและขจัดปั ญหาความยากจนของ
ประชาชนภายในของแต่ละประเทศ ในปัจจุบนงานพัฒนาแหล่งนํายังไม่สามารถช่วยเหลือประชาชนและ
                                                  ั
สนองความต้องการนําเพือการพัฒนาด้านต่างๆ ได้ทวถึง ในขณะทีประเทศต่างๆ กําลังพัฒนาในหลายด้าน
                                                      ั
เช่น ด้านการเกษตร การอุตสาหกรรม และท่องเทียว ฯลฯ ทําให้ประสบปัญหา เกียวกับความเดือดร้อนใน
เรื องนําหรื อการขาดแคลนนําทีนับวันจะทวีความรุ นแรงมากขึนทุกๆ ปี
          ในปี พ.ศ.         สํานัก งานคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิ จ และสังคมแห่ งชาติ (สศช.) ได้
ทําการศึกษารวบรวมข้อมูลและพิจารณาศักยภาพใน การพัฒนาเบืองต้นของแต่ละลุ่มนําของประเทศทัง
ลุ่มนําหลัก ในการจัดการทรัพยากรนําให้มีประสิทธิภาพ มีการจัดทําแผนรวมการบริ หารจัดการทรัพยากรนํา
ในระดับลุ่มนํา ทังนําผิวดินและนําใต้ดิน สําหรับใช้ในกิจกรรมต่างๆ ทังการอุปโภคบริ โภค การเกษตร
กรรม การอุตสาหกรรม การป้ องกันแก้ไขปัญหานําท่วม ปัญหาคุณภาพนํา และอืนๆ ตลอดจนการจัดการ
ทรัพยากรที เกี ยวข้อง เช่ น การใช้ทีดิน และป่ าไม้ให้เป็ นไปอย่างมีระบบและเกิ ดประโยชน์และสามารถ
บริ หารจัดการได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพความต้องการนําและมีความเป็ นธรรมแก่ผใช้นา        ู้ ํ
          จังหวัด เลยเป็ นจังหวัด หนึ งที ตังอยู่ในเขตลุ่มนําสาขาแม่น ําโขงส่ ว นที คือ นําหมาน นําสาน
แม่นาโขงส่วนที คือ ห้วยนําปวน แม่นาเลยตอนล่าง แม่นาโขงส่ วนที คือ ห้วยนําโสม และนําโมง รวม
      ํ                                    ํ                 ํ
พืนที , . ตารางกิโลเมตร จากพืนทีจังหวัด , . ตารางกิโลเมตร
          ในการบริ หารจัดการและพัฒนาลุ่มนําโขงในเขตพืนทีจังหวัดเลย ประเด็นปั ญหาสําคัญทีต้องหา
มาตรการและแนวทางแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าและระยะยาว เพือไม่ให้สถานการณ์รุ นแรงมากขึ น ได้แก่
ปัญหาด้านอุทกภัย ปัญหาด้านการขาดแคลนนํา ปั ญหาด้านการจัดการสิ งแวดล้อม ปั ญหาด้านการบริ หาร
จัดการ การจัดลําดับความสําคัญของโครงการท้องถิน ประเด็นผลกระทบสําคัญต่ อชุมชนท้องถิน และ
แผนการปฏิบติการและงบประมาณเพือพัฒนาต่อไป
               ั

วัตถุประสงค์
         ) เพือศึกษาภาพรวมของลุ่มนําทังในด้านอุปสงค์อุปทาน แนวทางแก้ไขในปัญหา และวิธีการ
จัดการทรัพยากรนําทีชัดเจนในลุ่มนําโขงพืนทีจังหวัดเลย
         ) เพือศึกษาการบริ หารจัดการทรัพยากรนํา การพัฒนาแหล่งนํา การป้ องกันและบรรเทาภัยทีเกิด
จากนํา และการบริ หารจัดการทรัพยากรนําอย่างยังยืนในลุ่มนําโขงพืนทีจังหวัดเลย

รูปแบบในการวิจย (Research Design)
                ั
         ในการศึกษาเรื องการบริ หารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย เป็ น
การศึกษาเชิงสํารวจ และใช้วิธีเสาวนาเชิงปฏิบติการเพือระดมความคิดเห็น แลกเปลียนความคิดเห็นโดย
                                              ั
วิธีก ารแบบเจาะจงในกลุ่มผูมีส่ว นได้เสี ย เพือเก็ บรวบรวมข้อมูลผสมผสานกับการศึกษาจากเอกสารที
                            ้
เกียวข้อง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผูมีส่วนได้เสีย เป็ นผูทีอาศัยอยู่ในเขตลุ่มนําโขง จังหวัดเลย กลุ่ม
                                         ้                    ้
ตัว อย่า งเลือกแบบเจาะจง การวิ เคราะห์ข ้อมูล จากการเสาวนาเชิ ง ปฏิบัติ ก าร เพือระดมความคิ ด เห็ น
แลกเปลียนความคิดเห็นและศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง

       กิจกรรมภาคสนาม
       การวิจยเชิงสํารวจในภาคสนามแบ่งออกเป็ น ส่วน ได้แก่
             ั
        ) ศึกษาและวิเคราะห์ศกยภาพทรัพยากรนําในแต่ละลุ่มนําสาขาของลุ่มนําโขงในพืนทีจังหวัดเลย
                              ั
       2) การเสาวนาเชิงปฏิบติการ เพือระดมความคิดเห็น แลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับแนวคิด
                            ั
ทิศทางในการพัฒนาการบริ หารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย

           ขอบเขตการวิจย ั
           ในการศึกษาเรื องการบริ หารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย ผูวิจย
                                                                                                  ้ ั
ได้ดาเนินการศึกษาครอบคลุมในเรื องต่างๆ ดังนี
     ํ
            ) สํารวจรวบรวมข้อมูลพืนฐานด้านเศรษฐกิจ สังคม ข้อมูลแหล่งนําธรรมชาติ และแหล่งนําที
ก่อสร้างขึน ทังแหล่งนําผิวดิน และแหล่งนําใต้ดิน ตลอดจนสภาพปัญหาต่างๆ ทีเกิดขึนในพืนทีลุ่มนําและ
ข้อมูลอืนๆ ทีจําเป็ นในการบริ หารจัดการทรัพยากรนํา
            ) ศึกษาวิเคราะห์ศกยภาพทรัพยากรนําในแต่ละลุ่มนําสาขา พร้อมทังจําแนกศักยภาพทรัพยากรนํา
                             ั
ออกเป็ นโครงการส่วนทีได้พฒนาแล้ว และโครงการส่วนทีจะสามารถพัฒนาต่อไปให้สอดคล้องกับศักยภาพ
                               ั
ของทรัพยากรอืนทีเกียวข้องได้ เช่น ทีดิน ป่ าไม้ และสิ งแวดล้อม
            ) รวบรวมและวิเคราะห์ผลการศึกษาแผนงานโครงการทีดําเนินไว้โดยหน่วยงานต่างๆ และทําการ
สรุ ปผลการดําเนินงานทีผ่านมา
            ) ประสานการดําเนินงานโดยสอบถามและรับฟังความคิดเห็นเกียวกับสภาพปัญหา ความต้องการ
แนวทางการบริ หารจัดการทรัพยากรนําร่ วมกับคณะอนุกรรมการบริ หารจัดการลุ่มนํา องค์กรท้องถิน
ประชาชนในพืนที และผูเ้ กียวข้องซึงมีส่วนได้เสียในพืนทีลุ่มนํา โดยการศึกษาเชิงสํารวจ และใช้วิธีเสาวนา
เชิงปฏิบติการเพือระดมความคิดเห็น แลกเปลียนความคิดเห็นโดยวิธีการแบบเจาะจงในกลุ่มผูมีส่วนได้เสีย
         ั                                                                             ้
เพือนําไปเป็ นแนวทางในการศึกษาในด้านต่างๆ เช่น แผนการพัฒนาแหล่งนํา แผนการบริ หารจัดการนํา
แผนการแก้ไขปัญหานําท่วม รวมทังแผนการอนุรักษ์และการแก้ไขปัญหาคุณภาพนํา
พืนทีในการวิจย   ั
       พืนทีลุ่มแม่นาโขงในเขตพืนทีจังหวัดเลย ซึงมีพนทีประมาณ , . ตารางกิโลเมตร เป็ นพืนทีที
                      ํ                             ื
อยูในเขตลุ่มนําโขง , . ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นร้อยละ . ของพืนทีจังหวัด และคิดเป็ นร้อยละ .
   ่
ของพืนทีลุ่มแม่นาโขงจังหวัดเลยตังอยูในเขตลุ่มนําสาขาแม่นาโขง แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ดังนี
                    ํ               ่                   ํ
        ) ส่วนที คือ นําหมาน นําสาน
        ) แม่นาโขงส่วนที คือ ห้วยนําปวน แม่นาเลยตอนล่าง
                ํ                                ํ
        ) แม่นาโขงส่วนที คือ ห้วยนําโสม และนําโมง
                  ํ

       ซึงเป็ นลุ่มนําสาขาของลุ่มแม่นาโขง ขอบเขตการปกครองและทีตังของลุ่มนําสาขาในจังหวัด
                                     ํ
สามารถแสดงได้ดงตาราง โดยมีสดส่วนพืนที จังหวัดในแต่ละลุ่มนําสาขา ดังนี
                   ั            ั

          ตาราง แสดงขอบเขตการปกครองและทีตังของลุ่มนําสาขาในจังหวัดเลย
รหัส                                    พืนทีลุ่มนํา      พืนทีจังหวัดเลยในลุ่มนําโขง        สั ดส่ วน
                ลุ่มนําสาขา
ลุ่มนํา                       ตร.กม.          ไร่        ตร.กม.               ไร่              พืนที
          แม่นาโขงส่ วนที
               ํ                  .        , .                   .             , .                .
          นําหมาน                 .        , .                   .             , .                   .
          นําสาน                  .        , .                   .             , .                   .
          แม่นาโขงส่ วนที
                 ํ                .        , .                   .             , .                   .
          ห้วยนําปวน           , .         , .               , .               , .                   .
          แม่นาเลยตอนล่าง
                   ํ           , .       , , .               , .            , , .                  .
          แม่นาโขงส่ วนที
                     ํ          , .      , , .               , .                , .                 .
          ห้วยนําโสม            , .        , .                    .                 .             .
          นําโมง               , .       , , .                    .             , .               .
              รวม                , .     , , .               , .            , , .                   .
                                                                    ทีมา รายงานสรุ ปจังหวัดเลย


        สภาพพืนทีและการแหล่งลุ่มนําสาขา
        จังหวัดเลย ตังอยูในเขตลุ่มนําสาขาแม่นาโขงส่วนที คือ นําหมาน นําสาน แม่นาโขงส่ วนที คือ
                         ่                   ํ                                 ํ
ห้วยนําปวน แม่นาเลยตอนล่าง แม่นาโขงส่ วนที คือ ห้วยนําโสม และนําโมง รวมพืนที , . ตร.กม.
                 ํ                ํ
จากพืนทีทังจังหวัด , . ตร.กม. ขอบเขตการปกครองและทีตังของลุ่มนําสาขาในพืนทีจังหวัดเลย
สามารถ แสดงได้ดงตารางโดยมีสดส่วนพืนทีจังหวัดในแต่ละลุ่มนําสาขา
                   ั           ั
ตาราง แสดงขอบเขตการปกครองและทีตังของลุ่มนําสาขาในจังหวัดเลย โดยมีสดส่วนพืนทีจังหวัด
                                                                         ั
ในแต่ละลุ่มนําสาขา
                                            พืนทีลุ่มนํา                        พืนทีจังหวัดเลยในลุ่มนําโขง
 รหัสลุ่มนํา         ลุ่มนําสาขา
                                       ตร.กม.                    ไร่         ตร.กม.              ไร่        ร้อยละ
               แม่นาโขงส่ วนที
                   ํ                       .                   ,       .         .             , .              .
               นําหมาน                      .                  ,       .         .             , .              .
               นําสาน                       .                   ,       .        .             , .               .
               แม่นาโขงส่ วนที
                     ํ                      .                   ,       .        .             , .              .
               ห้วยนําปวน               , .                     ,       .     , .              , .                .
               แม่นาเลยตอนล่าง
                       ํ                , .                ,    ,       .     , .          , , .                  .
               แม่นาโขงส่ วนที
                         ํ              , .                ,    ,       .     , .              , .                .
               ห้วยนําโสม               , .                      ,       .        .                  .           .
               นําโมง                   , .                ,     ,       .        .             , .              .
                 รวม                     , .               ,     ,       .    , .           , , .                   .
                                                                                            ทีมา : รายงานสรุ ปจังหวัดเลย




                                              ชือภาพ : แผนทีจังหวัดเลย
                       ทีมา : รู ปภาพสําหรับ แผนทีจังหวัดเลย สื บค้นใน http://www.google.com
ประชากรและสภาพเศรษฐกิจ สังคม
            ประชากร จากข้อมูลประชากรปี พ.ศ. ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พบว่า ลุ่ม
นําสาขาทีอยูในจังหวัดเลย มีจานวนประชากรอาศัย รวม , คน โดยลุ่มนําสาขานําโมง มีจานวน
             ่              ํ                                                          ํ
ประชากร สูงสุด คือ , คน
            สภาพเศรษฐกิจและสังคม
            ในปี พ.ศ. จังหวัดเลย มีรายได้เฉลียต่อหัวของประชากรเท่ากับ , บาทต่อคนต่อปี
โดยรวมมีแนวโน้มในอนาคตทีดีขึนเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ แต่ถา      ้
เทียบจังหวัดทังหมดในลุ่มนําโขง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จังหวัดเลขมีเศรษฐกิจถือว่าอยูในเกณฑ์ปานกลาง
                                                                                 ่
คือ อันดับที จาก จังหวัด

ทบทวนวรรณกรรม
          จากการทบทวนวรรณกรรม สรุ ปได้ดงนี ั
          แม่นาโขง มีความยาวประมาณ , กิโลเมตรจากแหล่งกําเนิดในทิเบตไหลผ่านประเทศจีน พม่า
              ํ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ลงสู่ทะเลตะวันออก ครอบคลุมบริ เวณ
ลุ่มนําถึง , ตารางกิโลเมตร แม่นาโขงเป็ นแม่นาทีมีความหลากหลายทางชีวภาพรองจากแม่นาอเม
                                     ํ           ํ                                    ํ
ซอน และเป็ นลุ่มนําทีมีผลผลิตประมงนําจืดจากการจับปลาตามธรรมขาติมากทีสุดในโลก ประมาณ . ล้าน
ตันต่อปี (สืบค้นใน http://www. rcmekong.org) สภาพเศรษฐกิจและสังคม ประชากรของลุ่มแม่นาโขง การ
                                                                                    ํ
ดํารงชีวิต และความมันคงทางอาหารของประชากรในชนบทมีวิถีชีวิตพึงพาแหล่งนําตามธรรมชาติประชากร
มากกว่าร้อยละ มีการประกอบอาชีพและกิจกรรมทางเศรษฐกิจเกียวข้องกับทรัพยากรนําทําให้มีความ
อ่อนไหวต่อการเปลียนแปลง ของคุณภาพนํา ประชากรทียากจนจํานวนหลายล้านคนต้องพึงพาการประมง
ธรรมชาติเพือความมันคงทางอาหาร และรายได้

การพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรนําในปัจจุบัน
          . การนําทรัพยากรนํามาใช้ ค่าเฉลียการใช้นารายปี สําหรับภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และการ
                                                   ํ
อุปโภคบริ โภคอืนๆ ในลุ่มแม่นาโขงตอนล่างเท่ากับ พันล้านลูกบาศก์เมตรหรื อร้อยละ ของปริ มาณนํา
                                ํ
รายปี ของ แม่นาโขง มีการผันนําย่อยๆ จากแม่นาโขงสายประธานบริ เวณตอนบนของสามเหลียมปากแม่นา
               ํ                           ํ                                                   ํ
โขงในเวียดนาม และมีโครงการผันนําขนาดใหญ่ทีอยูในระหว่างการพิจารณา ปริ มาณนําทีเก็บกักในอ่างเก็บ
                                                ่
นํา ปัจจุบนมีปริ มาณน้อยกว่าร้อยละ ของค่าเฉลียปริ มาณการไหลรายปี ของแม่นาโขง ทําให้ไม่เพียงพอ
           ั                                                               ํ
สําหรับการใช้นาของภาคส่วนต่างๆ ในระหว่างฤดูกาล ลุ่มแม่นาโขงยังมีปริ มาณการใช้นาใต้ดินน้อยยกเว้น
                 ํ                                       ํ                      ํ
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและเวียดนาม ซึงปริ มาณนําผิวดินมีนอยในระหว่างฤดูแล้งจึงมี
                                                                             ้
การสูบนําใต้ดินขึนมาใช้ ทังนีศักยภาพในการพัฒนานําใต้ดินอย่างยังยืนต้องมีการประเมินอย่างระมัดระวัง
ภาคส่วนทีเกียวข้องกับการใช้นาภาคการเกษตรเป็ นภาคส่วนหลักทีใช้นาโดยเฉพาะในไทยและเวียดนาม
                              ํ                                  ํ
ในขณะทีกัมพูชา และ สปป. ลาวมีการพัฒนาภาคการเกษตรน้อยกว่า โดยรวมแล้วพืนทีชลประทานใน
หน้าแล้ง มีประมาณ . ล้านไร่ ซึงน้อยกว่าร้อยละ ของพืนทีการเกษตรทังหมดของลุ่มแม่นาโขงตอนล่าง
                                                                                       ํ
( ล้านไร่ ) ระดับการขยายตัว ณ ปัจจุบนของการชลประทานถูกจํากัดโดยปริ มาณการไหลของนําในฤดูแล้ง
                                        ั
ปริ มาณนําแม่นาโขงทีไหลในฤดูแล้งมาถึงสามเหลียมปากแม่นาในเวียดนามถูกใช้อย่างเต็มทีเพือเศรษฐกิจ
               ํ                                             ํ
การเกษตรและสังคม รวมถึงการป้ องกันการรุ กตัวของนําเค็ม ศักยภาพการผลิตไฟฟ้ าพลังนําของลุ่มแม่นา   ํ
โขงตอนล่าง มีประมาณ , เมกะวัตต์ พัฒนาได้ประมาณร้อยละ จนถึงปัจจุบน การเดินเรื อมี
                                                                              ั
ความสําคัญ แต่ส่วนใหญ่ ยังไม่ได้รับการพัฒนาอย่างบูรณาการกับการขนส่งด้านอืนๆ การบรรเทาอุทกภัย
ขนาดใหญ่ในลุ่มแม่นาโขงใช้ มาตรการขันต้นทีไม่ใช้โครงสร้าง มีโครงการพัฒนาทรัพยากรนําขนาดเล็ก
                    ํ
เพือการปรับปรุ งพืนทีชุ่มนําและส่งเสริ มการเพาะเลียงสัตว์นา ในขณะทีการท่องเทียวทางนํามีความสําคัญต่อ
                                                          ํ
รายได้ของประเทศและสร้างรายไดให้แก่ทองถิน  ้




                                      ชือภาพ : แม่นาโขง ณ เชียงคาน
                                                     ํ
                         ทีมา : แก่งคุดคู่ ตําบลเชียงคาน อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย


          . สถานการณ์ล่มนํา จากการเฝ้ าติดตามบ่งชีให้เห็นการปรับตัวของแม่นาต่อแรงกดดันต่าง ๆ ทีก่อ
                         ุ                                                ํ
ขึนโดยมนุษย์ ระบบการไหลของแม่นาโดยส่วนใหญ่ยงเป็ นไปตามธรรมชาติ แม้ว่าเขือนในลุ่มนําสาขามี
                                    ํ              ั
ผลกระทบต่อแม่นาโขง สายประธานบางจุด คุณภาพนําโดยรวมจัดว่าดี ยกเว้นบริ เวณสามเหลียมปากแม่นา
                     ํ                                                                           ํ
และในบางพืนทีทีมีการพัฒนาสูง แม่นาโขงบริ เวณทีมีระดับสารอาหารในนําสูงเป็ นปัญหาทีน่ากังวล การ
                                      ํ
ไหลท่วมของแม่นาตามฤดูกาล ช่วยเพิมความอุดมสมบูรณ์ดานการประมง ถึงแม้จะมีการรายงานการลดลง
                   ํ                                     ้
ของผลผลิตด้านประมง อย่างไรก็ตามสถานการณ์ของป่ าไม้ในลุ่มนําไม่ดีนก เนืองจากความต้องการไม้และ
                                                                     ั
ทีดินเพิมขึนทําให้เกิดการตัดไม้ทาลายป่ า ส่งผลให้สภาพดินทีเสือมโทรม สัตว์ในลุ่มนํา ชนิดอยูใน
                                ํ                                                          ่
สภาวะใกล้สูญพันธุขนวิกฤต ชนิดใกล้สูญพันธุและ ชนิดมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ โดยมีสาเหตุจากการ
                       ั                         ์
พัฒนาอย่างรวดเร็ วส่งผลต่อการเปลียนแปลงทีอยูอาศัยของสัตว์ และกลไกอันจําเป็ นทีก่อให้เกิดความยังยืน
                                               ่
ของระบบนิเวศทีมีผลิตภาพสูง
          . การบริหารจัดการนํา การบริ หารจัดการนําในลุ่มแม่นาโขงตอนล่างเป็ นการผสมผสานรู ปแบบ
                                                             ํ
ของ ความร่ วมมือและประสานงานในระดับลุ่มนํา โดยมี MRC อํานวยความสะดวกในระดับภูมิภาค และ มี
กลไก การบริ หารจัดการนําภายในประเทศภาคีสมาชิก สะท้อนอํานาจอธิปไตย ขนบธรรมเนียม และระบบ
บริ หาร ของแต่ละประเทศ MRC ทําหน้าทีเป็ นหน่วยประสานงานหลักสําหรับความร่ วมมือช่วยให้บรรลุ
เป้ าหมายของลุ่มนําในระดับภูมภาค โดยทําหน้าทีให้บริ การข้อมูล ให้คาแนะนําทางวิชาการ และเป็ นตัวกลาง
                              ิ                                   ํ
ในการเจรจา ประเทศภาคีสมาชิกได้นาหลักการบริ หารจัดการนําแบบบูรณาการมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
                                     ํ
กับประเทศ โดยมีคาแถลงทีชัดเจนด้านนโยบายนําของประเทศและยุทธศาสตร์ทีสนับสนุน มีกรอบข้อบังคับ
                   ํ
และสถาบัน ทีเข้มแข็ง มีหน่วยงานภายในประเทศรับผิดชอบการบริ หารจัดการนํา กฎหมายด้านทรัพยากรนํา
ได้รับการ ปรับปรุ งให้ทนสมัย ปัจจุบนประเทศภาคีสมาชิกมีการจัดตังองค์กร คณะกรรมการลุ่มนําเพือการมี
                       ั           ั
ส่วนร่ วม ด้านการบริ หารจัดการนําในระดับลุ่มนําและระดับท้องถิน




                                          ชือภาพ : เรื องฝายนําปวน
                        ทีมา : บ้านวังแท่น ตําบลนําปวน อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย




                                       ชือภาพ : การเลียงปลาในกระชัง
                          ทีมา : แม่นาเลย ตําบลศรี สองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย
                                     ํ
สรุปผลการวิจยและข้ อเสนอแนะ
                    ั
         ผูวิจยได้นาข้อมูลเอกสารและข้อมูลภาคสนามทีได้มาจากการเสาวนาและการสังเกตนํามาตรวจสอบ
            ้ ั         ํ
ความถูกต้องและจัดหมวดหมู่ แยกเป็ นประเด็นต่างๆ ทีพบโดยวิธีการวิเคราะห์เนือหา ตามประเด็นทีค้นพบ
และและนํามาพรรณนาเชิงอุปนัย โดยสรุ ปประเด็นปัญหาสําคัญลุ่มนําในเขตพืนทีจังหวัดเลย ทีต้องหา
มาตรการและแนวทางแก้ไข เพือแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และการแก้ไข ในระยะยาวไม่ให้สถานการณ์รุนแรง
มากขึน ดังนี
           . ปัญหาด้ านอุทกภัย
         สภาพการเกิดอุทกภัย สาเหตุของนําท่วมในพืนทีลุ่มนําโขง ในเขตพืนทีจังหวัดเลย เนืองจากอิทธิพล
ของลมมรสุมทําให้มีปริ มาณฝนตกมากกว่าจังหวัดอืนๆ ระดับนําในแม่นาโขง แม่นาเลยสูงในฤดูฝนเอ่อล้น
                                                                        ํ         ํ
ตลิงเข้าท่วมพืนทีทีอยูริมแม่นาโขง แม่นาเลย เป็ นต้น และจากสภาพทางกายภาพในลุ่มนํา เช่น พืนทีป่ าต้นนํา
                           ่       ํ       ํ
ถูกทําลาย การขาดแคลนแหล่งนําขนาดใหญ่ในพืนทีลุ่มนํา การปลูกไม้เชิงเดียว เช่น ยางพารา ทําให้
ประสิทธิภาพของระบบระบายนําไม่เพียงพอ เนืองจากตืนเขิน หรื อถูกบุกรุ ก มีการก่อสร้างสิงกีดขวางทางนํา
การเปลียนแปลงสภาพการใช้ทีดิน เป็ นต้น
                 แนวทางการแก้ไขปัญหา
                  ) ปัญหาด้านอุทกภัย
                 สําหรับปัญหาด้านอุทกภัยบริ เวณจังหวัดเลย มีลกษณะเป็ นแบบนําป่ าไหลหลากลงมาจากต้นนํา
                                                              ั
และ นําท่วมในขณะทีเกิดอุทกภัยจะมีปริ มาณมากกว่าความจุของลํานําทําให้ไหลเอ่อล้นตลิงทังสองฝังของ
ลํานําทีมีลกษณะคดเคียว และมีตะกอนตกจมมากหรื อมีสิงกีดขวางทางนํา การแก้ไขทีดําเนินการโดย
             ั
หน่วยงานต่างๆ
                 - การขุดลอกลํานํา
                 - มีแผนงานทําทางเบียงอ้อมชุมชนในทีลุ่ม
                 - ปรับปรุ งสิงกีดขวางทางนํา เช่น ฝายและประตู ขนาดเล็กให้มีขนาดของช่องทางผ่านของนํามี
ขนาด ไม่นอยกว่าความจุของลํานําและมีธรณี ประตูระบายใกล้เคียงกับท้องลํานําธรรมชาติ
               ้
           . ปัญหาด้ านการขาดแคลนนํา
         สภาพการเกิดภัยแล้ง บริ เวณจังหวัดเลยมีปริ มาณฝนเฉลียผันแปรระหว่าง - , มม./ปี การ
ขาดแคลนนําเนืองมาจากแหล่งนําต้นทุนไม่เพียงพอ ไม่มีอางเก็บนําในบริ เวณต้นนําเนืองจากเป็ นพืนทีป่ าไม้
                                                            ่
บางลํานําไม่มีนาไหลตลอดทังปี
                      ํ
         การแก้ไขทีดําเนินการโดยหน่วยงานต่างๆ
         - เจาะบ่อนําบาดาล
         - ก่อสร้างอ่างเก็บนําในพืนทีสามารถ ดําเนินการได้
         - ก่อสร้างฝายในลํานําเพือเก็บนําในลํานํา
         - ก่อสร้างระบบประปาหมู่บาน แนวทางแก้ไขจัดไว้ในแผนรวม
                                         ้
         แนวทางการแก้ไขปัญหา
- ก่อสร้างอ่างเก็บนําบริ เวณต้นนําถึงแม้จะเป็ นเขตป่ าไม้
       - ก่อสร้างอ่างเก็บนําในพืนทีต้นนํา
       - ก่อสร้าง / ปรับปรุ ง ประตูระบายนํากลางลํานําสายหลักให้สามารถระบายนําได้สะดวกและ
สามารถ เก็บกักนําได้ในลํานํา

         3. ปัญหาด้ านการจัดการสิงแวดล้อม
                ) คุณภาพนําในลํานําสายใหญ่ทีสําคัญ คุณภาพนําส่วนใหญ่ยงอยูในอยูในเกณฑ์ทีดี
                                                                        ั ่ ่
                ) คุณภาพนําลํานําสายเล็ก เริ มมีคุณภาพเสือมโทรม โดยเฉพาะลํานําทีอยูใกล้แหล่งกําเนิด
                                                                                   ่
มลพิษแหล่งใหญ่ๆ ได้แก่ เหมืองแร่ แหล่งมลพิษจากชุมชน สถานท่องเทียว โรงงานอุตสาหกรรม การปศุ
สัตว์และ สถานทีกําจัดมูลฝอยภายในลุ่มนําสาขา
                ) การใช้สารเคมีในการเกษตรมากขึน ทําให้มีการปนเปื อนในแหล่งนําผิวดิน ควรมีมาตรการ
ตรวจสอบและติดตามเป็ นระยะฯ
                ) การบําบัดนําเสียชุมชนขนาดใหญ่ และแหล่งท่องเทียวทีสําคัญ ควรมีมาตรการจูงใจในการ
บําบัดนําเสียเบืองด้น เพือลดภาระในการบําบัดนําเสีย
              ปัญหาคุณภาพของนํา แนวทางในการแก้ไข
              - บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่ งครัด
              - ติดตามเฝ้ าระวังคุณภาพนํา
              - ก่อสร้างระบบบําบัดนําเสีย
              - ควบคุมจํานวนผูประกอบการเลียงปลา/กุง
                                 ้                     ้
              - ส่งเสริ มการใช้เทคโนโลยีทีสะอาด
4. ปัญหาด้ านการบริหารจัดการ
         ปัญหาด้านการบริ หารจัดการไม่สามารถพิจารณาเฉพาะภายในพืนทีลุ่มนําใดลุ่มนําหนึงเท่านัน
เนืองจากการบริ หารจัดการภายในพืนทีลุ่มนําหลายประเด็นขึนอยูกบการบริ หารจัดการของประเทศ ซึงสรุ ป
                                                                ่ ั
ได้ดงนี
      ั
                ) นโยบายและแผนหลักการจัดการทรัพยากรนําของรัฐ แต่ละสมัยไม่มีความชัดเจน และไม่
ครอบคลุมในทุกด้านทีเกียวข้องกัน ขาดความต่อเนือง การจัดทํานโยบายและแผนด้านการจัดการทรัพยากร
นําจํากัดอยูในวงแคบ ไม่มการดําเนินการแบบองค์รวมและพิจารณาในทุกด้านทีเกียวข้องกัน
            ่                ี
                ) องค์การบริ หารจัดการทรัพยากรนํามีหน่วยงานทีเกียวข้องหลายหน่วยงาน ขาดเอกภาพและ
การ บริ หารจัดการร่ วมกันแบบบูรณาการ ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบกําหนดทิศทางการบริ หารจัดการให้
เป็ น เอกสาร และมีกรอบแผนทีชัดเจน
                ) คณะอนุกรรมการลุ่มนําและคณะทํางานในระดับต่างๆ ขาดงบประมาณสนับสนุนการบริ หาร
จัดการนําทีเพียงพอ และขาดประสบการณ์และความรู้ความเข้าใจในการบริ หารจัดการทรัพยากรนํา
                ) ผูใช้นาในกิจกรรมต่างๆ ยังขาดจิตสํานึกในการใช้นาอย่างประหยัด ขาดวินยของผูใช้นาอย่าง
                    ้ ํ                                             ํ                 ั      ้ ํ
ถูกต้อง รวมทังไม่รู้จกอนุรักษ์นาทีถูกวิธีดวย เป็ นสาเหตุสาคัญด้านหนึงซึงทําให้นาไม่พอใช้
                         ั         ํ         ้             ํ                   ํ
) ผูใช้นาโดยเฉพาะเกษตรกรขาดความรู้ ทังในเรื องการใช้นาอย่างมีประสิทธิภาพ การลด
                  ้ ํ                                              ํ
มลพิษ การจัดการของเสีย ฯลฯ
              ) ปัญหาด้านงบประมาณ ในการจัดทํางบประมาณของประเทศ เป็ นไปในลักษณะของการ
จัดสรร งบประมาณรายกระทรวง ทบวง กรม ซึงเป็ นการพิจารณางบประมาณ โดยยึดพืนฐานจากงบประมาณ
เดิมทีมี แต่ละหน่วยงานเคยได้รับในปี ทีผ่านมา และตามทีหน่วยงานเสนอขอโดยขาดการพิจารณาด้วยปัญหา
ในภาพรวมของประเทศ โดยเฉพาะด้านการจัดการทรัพยากรนํา ซึงมีหน่วยงานดําเนินการจํานวนมากใน
หลาย กระทรวง ทําให้การประสานงานหรื อไม่ประสานแผนปฏิบติการอย่างจริ งจัง ทําให้การแก้ไขปัญหา
                                                             ั
เป็ นไป อย่างไม่สมบูรณ์ในแต่ละพืนที หรื อปัญหาบางอย่างไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริ งจัง เพราะงบประมาณ
มีการ กระจายมาก
              ) ปัญหาด้านกฎหมาย เนืองจากบทบัญญัติของกฎหมายทีเกียวข้องกับการใช้และอนุรักษ์
ทรัพยากรนํามีอยูอย่างกระจัดกระจาย จึงทําให้เกิดปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเป็ นเหตุให้การจัดการ
                   ่
ทรัพยากรนํา ไม่บรรลุความสําเร็ จตามเป้ าหมายเท่าทีควร
              ) การใช้กฎหมายพระราชบัญญัติและข้อกําหนดต่างๆ ไม่สามารถบังคับใช้กฎหมาย ข้อกําหนด
มาตรการ และนโยบายการพัฒนาพืนทีตามทีผังเมืองกําหนดไว้ได้อย่างจริ งจัง ประกอบกับการบังคับใช้ผง    ั
เมืองไม่ทนต่อสภาวการณ์ทีเปลียนแปลงไป ทําให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาทีเกิดขึนได้ รวมทังกฎหมายด้าน
           ั
สิ งแวดล้อมและกฎหมายอืนๆ ทีเกียวข้องทําให้การบังคับใช้กฎหมายไม่มีประสิทธิภาพ
              ) ขาดการจัดระเบียบและการกําหนดเขตการใช้ทีดินประเภทต่างๆ (Zoning) ทีชัดเจนเพือ
กําหนด กรอบการเจริ ญเติบโตทีเหมาะสม ทังพืนทีอยูอาศัย พืนทีเกษตรกรรม พืนทีอุตสาหกรรม พืนที
                                                   ่
อนุรักษ์ ส่งผลให้เกิดปัญหาการจราจร ปัญหามลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรม ปัญหานําท่วม ปัญหา
สิ งแวดล้อมเสือมโทรม ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้อม
                ) ขาดการวางแผนและการพัฒนาพืนทีอย่างบูรณาการ การพัฒนาทีผ่านมาขาดการบูรณาการ
แบบ องค์รวม ทังความร่ วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยงานทีเกียวข้องกับการพัฒนารวมทังกลุ่ม
จังหวัดในแต่ละพืนที เนืองจากในแต่ละพืนทีคํานึงถึงผลประโยชน์ของตนเอง ทําให้การพัฒนาโดยองค์รวม
ขาดความ เชือมโยงและไม่เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
                ) กระบวนการจัดการทีไม่มีประสิทธิภาพของหน่วยงานต่างๆ ทีขาดองค์กรหลักในการ
กําหนด และประสานงานเพือให้มีการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ เช่น การจัดสรรนําและการจัดหานําเพือ
แก้ปัญหา ภัยแล้ง การแก้ปัญหาอุทกภัยและปัญหานําเสีย เป็ นต้น
                ) สิทธิการใช้นาและแหล่งนําต้นทุนของกิจกรรมต่างๆ ในลุ่มนํายังไม่มีการกําหนดอย่าง
                              ํ
ชัดเจนในภาคปฏิบติ ซึงกลุ่มผูใช้นารายย่อย ได้แก่ เกษตรกรและชาวบ้านในพืนทีนอกเขตเทศบาล มักถูกเอา
                     ั          ้ ํ
รัดเอาเปรี ยบจากกลุ่มผูใช้นาในเขตชุมชนเทศบาลต่างๆ รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรมทีสามารถเข้าถึงผูมี
                        ้ ํ                                                                   ้
อํานาจตัดสินใจในการจ่ายนําได้ดีกว่า ในขณะทีนําต้นทุนมีจานวนจํากัดและการพัฒนาแหล่งนําเพือการ
                                                        ํ
ประปาและ อุตสาหกรรมทีมีแนวโน้มขยายตัวมากขึนซึงจะมีความสําคัญมากยิงขึน ตามนโยบายเร่ งการ
เจริ ญเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ โดยภาคอุตสาหกรรมจะมีนาหนักในการตอบสนองนโยบาย
                                                                      ํ
ดังกล่าวของภาครัฐสูงกว่า ซึงอาจทําให้การพัฒนาแหล่งนําหรื อการจัดสรรนําเพือการเกษตรถูกลด
ความสําคัญลงจากการตัดสินใจในระดับท้องถิน
             ) ระบบการจัดทําฐานข้อมูลและการจัดสรรนํายังไม่ทนสมัยเพียงพอ ทําให้ยากต่อการบริ หาร
                                                             ั
จัดการนําได้อย่างเหมาะสม เช่น การวางแผนส่งนําให้แก่เกษตรกรจะใช้วิธีการประมาณการ ซึงไม่เหมาะสม
ต่อสภาพการเพาะปลูกจริ งทีมีการเปลียนแปลงไปจากแผนการเพาะปลูกทีจัดทําไว้ล่วงหน้า มีผลให้การส่งนํา
ขาดความเทียงตรง
             ) ขาดการรวมกลุ่มของผูใช้นา เนืองจากผูใช้นาหลายพืนทีขาดความเข้มแข็ง เกษตรกรบาง
                                      ้ ํ            ้ ํ
พืนทีไม่มีกรรมสิทธิในทีดิน ต้องเช่าทีดินเพือทําการเกษตร
             ) ขาดเครื องมือในการติดตามตรวจสอบ เช่น ขาดเครื องมือตรวจวัดปริ มาณนําทีจ่ายไปขังจุด
ต่างๆ ของโครงการชลประทาน ทําให้ขาดข้อมูลสําคัญในการตัดสินใจบริ หารจัดการนํา ระบบการจัดการ
และ ควบคุมปริ มาณนําจ่ายทําได้ยาก ส่งผลให้ประสิทธิภาพการใช้นาชลประทานอยูในเกณฑ์ตา
                                                               ํ            ่        ํ

           . การจัดลําดับความสําคัญของโครงการท้องถิน
         โครงการระดับท้องถินเป็ นโครงการทีเมือพัฒนาแล้วจะสามารถแก้ไขปัญหา หรื อมีพนทีรับ
                                                                                       ื
ประโยชน์ หรื อมีผลกระทบจากโครงการในระดับหมู่บานหรื อตําบล ซึงส่วนใหญ่เป็ นโครงการขนาดเล็ก
                                                    ้
งบประมาณแต่ละโครงการค่อนข้างตํา โครงการระดับท้องถินส่วนใหญ่เป็ นโครงการทีท้องถินเสนอจากการ
ประชุมกลุ่มย่อย ซึงผ่านการคัดกรองโดยทีปรึ กษาแล้ว นอกจากนี ยังรวมถึงโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที
วางแผนไว้ และทีบริ ษททีปรึ กษาเสนอเพิมเติม โครงการระดับท้องถินประกอบด้วยโครงการทีแก้ไขปัญหา
                       ั
ด้านการจัดการต้นนํา เช่น การฟื นฟูพนทีป่ าไม้ตนนํา การอนุรักษ์ระบบนิเวศป่ าไม้ การก่อสร้างฝายต้นนํา
                                    ื         ้
หรื อ ฝายแม้ว (Check dam) การอนุรักษ์ระบบนิเวศดิน และการปลูกหญ้าแฝก เป็ นต้น โครงการทีแก้ไข
ปัญหา ด้านการจัดการกลางนํา เช่น การปรับปรุ งแหล่งนําธรรมชาติ (ขุดลอก คูคลอง หนองบึง) การเจาะบ่อ
บาดาล บ่อนําตืน การก่อสร้างเขือนเก็บกักนํา ฝายทดนํา ระบบประปา เป็ นต้น โครงการทีแก้ไขปัญหาด้าน
การจัดการท้ายนํา เช่น การแก้ไขปัญหานําเสียชุมชน การก่อสร้างและพืนฟูระบบบําบัดนําเสีย การกําจัดของ
เสีย ขยะ การอนุรักษ์ฟืนฟูและปลูกป่ าชายเลน เป็ นต้น และโครงการทีแก้ไขปัญหาด้านการบริ หารจัดการ
เช่น การอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในการบริ หารจัดการนํา การจัดอบรมเสริ มสร้างขีดความสามารถการ
จัดการ แผนและนโยบาย การจัดตังกลุ่มหรื อองค์กรการมีส่วนร่ วม การประชาสัมพันธ์ เป็ นต้น
         การจัดทําแผนปฏิบติการของโครงการระดับท้องถิน จะจัดตามคะแนนความสําคัญของโครงการ
                             ั
ตาม เกณฑ์ในการพิจารณา ด้าน คือ ( ) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนา ( ) ความต้องการในการ
แก้ไขปัญหา ( ) ความพร้อมของโครงการจากขันตอนการดําเนินงาน ( ) ความเหมาะสมระดับการใช้
เทคโนโลยี ( ) การมีส่วนร่ วมของประชาชนในการดําเนินโครงการ ( ) ผลประโยชน์ทีเกิดขึนของโครงการ
( ) ผลกระทบด้านป่ าไม้ ( ) ผลกระทบด้านชันคุณภาพลุ่มนํา ( ) ด้านเศรษฐศาสตร์ โดยพิจารณาร่ วมกับ
นโยบายของภาครัฐ ผลการวิเคราะห์ระบบแหล่งนํา และระดับความต้องการโครงการของประชาชน ดังนี
           ) นโยบายของภาครัฐ เช่น ให้มีนาอุปโภคบริ โภคเพียงพอทุกหมู่บาน ภายในปี งบประมาณ
                                          ํ                           ้
เป็ นต้น ก็จะจัดทําแผนปฏิบติการให้เป็ นไปตามนโยบายของภาครัฐ
                           ั
) โครงการพัฒนาแหล่งนําระดับท้องถินประเภทก่อสร้างฝายหรื อสถานีสูบนําด้วยไฟฟ้ าหรื อขยาย
สถานีสูบนําด้วยไฟฟ้ า ได้พจารณาประกอบกับความเหมาะสมของการพัฒนาโครงการจากผลการวิเคราะห์
                          ิ
ระบบแหล่งนํา (เช่นเดียวกับโครงการระดับลุ่มนํา) ทังนีคณะอนุกรรมการลุ่มนําและคณะทํางานระดับต่างๆ
จะต้องพิจารณาคัดเลือกโครงการให้เหมาะสมอีกครังก่อนการอนุมติงบประมาณแต่ละปี
                                                           ั
         ) ความต้องการของประชาชนซึงรับฟังจากการประชุมกลุ่มย่อย

           . ประเด็นผลกระทบสําคัญต่อชุมชนท้ องถิน
          ประเด็นผลกระทบสําคัญต่อชุมชนท้องถินหากสร้างเขือน เขือนบนแม่นาโขงสายหลักผลกระทบ
                                                                          ํ
ทางด้านสิงแวดล้อม เกตษรกรรม การประมง วิถีชุมชนลุ่มนํา ชีววิทยา รวมทังวัฒนธรรม ดังนี (โครงการ
ฟื นฟูนิเวศในภูมภาคแม่นาโขง, มกราคม .)
                   ิ      ํ
           ) โครงการพัฒนาเขือนไฟฟ้ าพลังนําบนแม่นาโขงสายหลักอาจจะส่งผลกระทบด้านลบอย่างเห็นได้
                                                  ํ
ชัดต่อภาคประมงและภาคเกษตรกรรม
           . ในระยะสันถึงระยะกลาง ปัญหาความยากจนจะถูกทําให้เลวร้ายลงไปอีกจากทุกโครงการ สร้าง
เขือนบนแม่นาโขงสายหลัก โดยเฉพาะกลุ่มคนยากจนในชนบทและเมืองทีอยูริมนํา
                 ํ                                                    ่
           . การสูญเสียความหลากหลายทางชีววิทยาในลุ่มนําโขงตอนล่างจะเป็ นการสูญเสียระดับโลก
อย่างถาวรซึงไม่สามารถทดแทนได้ซึงการสูญเสียดังกล่าวไม่สามารถทดแทนเป็ นตัวเงินได้
           . การสร้างช่องทางผ่านสําหรับปลาเพือการบรรเทาปัญหาสําหรับเขือนบนแม่นาโขงสายหลัก
                                                                              ํ
ไม่ใช่ตวเลือกทีอยูในหลักความจริ ง
        ั            ่
           . โครงการผลิตกระแสไฟฟ้ าพลังนําจากการสร้างเขือนแม่นาโขงสายหลักอาจเพิมความไม่ เสมอ
                                                              ํ
ภาคมากขึนในประเทศลุ่มนําโขงตอนล่าง ผลประโยชน์จากไฟฟ้ าจะตกอยูกบผูใช้ไฟฟ้ าทีใช้สายส่งไฟฟ้ า
                                                                   ่ ั ้
ระดับชาติ นักลงทุนพัฒนาโครงการ เจ้าของเงินทุน และรัฐบาลของประเทศเจ้าของโครงการ ในขณะที
ค่าเสียหายส่วนใหญ่จะตกไปอยูกบชุมชนริ มแม่นาโขงทียากจนและทีจะได้รับผลกระทบ
                               ่ ั            ํ
           . ผูคนประมาณ . ล้านคน ทํางานและใช้ชีวิตอยูภายในรัศมี กิโลเมตรของแม่นาโขงตอนล่าง
               ้                                        ่                           ํ
อาจจะไต้รับผลกระทบทังทางตรงและทางอ้อม

         . แผนการปฏิบัตการและงบประมาณ
                         ิ
        แผนรวมการบริหารจัดการทรัพยากรนํา เป็ นแผนงานโครงการทังมาตรการไม่ใช้สิงก่อสร้างและ
มาตรการใช้สิงก่อสร้าง เพือพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรนําแม่ทรัพยากรทีเกียวข้องตามเป้ าหมายที
วางไว้ โดยแบ่งแผนรวมฯ ตามขนาดโครงการ พืนทีรับประโยชน์ และผลกระทบจากโครงการ ออกเป็ น
ระดับ คือ โครงการระดับลุ่มนํา และโครงการระดับท้องถิน
        โครงการระดับลุ่มนํา เป็ นโครงการทีเมือพัฒนาแล้วจะสามารถแก้ไขปัญหาและมีพนทีได้รับ
                                                                                 ื
ประโยชน์หรื อเกียวข้องกับประชาชนจํานวนมากในระดับอําเภอ ระดับจังหวัด หรื ออยูระดับลุ่มนํา เป็ น
                                                                            ่
โครงการขนาดใหญ่หรื อขนาดกลาง งบประมาณแต่ละโครงการค่อนข้างสูง ซึงส่วนใหญ่จะเป็ นโครงการที
หน่วยงานต่างๆ ได้วางไว้ โดยโครงการระดับลุ่มนําหลักจะ เกียวข้องกับประชาชนดังแต่ ลุ่มนําสาขาขึนไป
ส่วนโครงการระดับลุ่มนําสาขา จะเกียวข้องกับประชาชนใน ระดับตังแต่ ตําบลขึนไป
          โครงการระดับท้องถิน เป็ นโครงการทีเมือพัฒนาแล้วจะสามารถแก้ไขปัญหาและเกียวข้องกับ
ประชาชนในระดับหมู่บานหรื อระดับตําบล ซึงส่วนใหญ่เป็ นโครงการทีเสนอ โดยผูเ้ ข้าร่ วมประชุมกลุ่มย่อย
                       ้
ได้แก่ ตัวแทนผูใช้นา ผูมีส่วนได้ส่วนเสียในพืนที คณะทํางานระดับอําเภอ ตําบล เป็ นต้น โครงการระดับ
                ้ ํ ้
ท้องถินนี จะช่วยแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและปัญหาเร่ งด่วนของท้องถินได้

สรุป
        สถานการณ์นาในลุ่มแม่นาโขงในเขตพืนทีจังหวัดเลย รวมทังปัญหาทีเกียวเนืองกับทรัพยากรนําที
                    ํ          ํ
ได้กล่าวมา แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าในการกําหนดวิธีการจัดการนําแบบบูรณาการ การดําเนินแผนงาน
และโครงการ ในการแก้ไขปัญหาการบริ หารจัดการนํานัน จําเป็ นจะต้องพิจารณาทังในระดับมหภาค คือ การ
ทําความตกลงและการจัดสรรผลประโยชน์เกียวกับนําในลุมนํา รวมทังประเทศเพือนบ้านทีเกียวข้อง เช่น
                                                      ่
การทําความตกลงในการบริ หารและการใช้นาในแม่นาโขงซึงเป็ นแม่นานานาชาติ และขณะนี จีนได้
                                         ํ       ํ               ํ
พัฒนาการก่อสร้างเขือนและการประมงในแม่นาโขงเป็ นจํานวนมาก ซึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อไทย ลาว
                                           ํ
กัมพูชา และเวียดนาม ส่วนในประเทศการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจทังทางด้านอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม และการบริ การ โดยเฉพาะอย่างยิงในการท่องเทียว จะต้องมีความสอดคล้องและประสานกัน
อย่างใกล้ชิดระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทังภาครัฐและเอกชน เพือก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน
การบริ หารจัดการทรัพยากรนําอย่างยังยืน และเสริ มสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนในท้องถินอย่างจริ งจัง

เอกสารอ้างอิง
โครงการฟื นฟูนิเวศน์ในภูมภาคแม่นาโขง(TERRA). เขือนไซยะบุรี : ข้ อเท็จจริงและข้ อวิพากษ์ วจารณ์.
                              ิ        ํ                                                        ิ
              มกราคม .
คณะทํางานเพือการวางแผนพัฒนาลุ่มนํา. คณะกรรมการลุมนําโขงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. รายงานข้ อมูล
                                                            ่
             พืนทีลุ่มนําย่อย T( T Sub-area Profile ). ธันวาคม
ไพฑรู ย ์ ป้ องนารา. ความน่ าจะเป็ นในการบริหารจัดการนําเพือเกษตรกรไทย. เอกสารประกอบการประชุม
              คณะกรรมการลุ่มนําโขง(ตะวันออกเฉียงเหนือ). ๕ เมษายน              .
มนตรี จันทวงศ์. การศึกษาผลกระทบภาพรวมโครงการเขือนบนแม่นําโขงสายหลัก. เอกสารประกอบการ
              ประชุมคณะกรรมการลุ่มนําโขง(ตะวันออกเฉียงเหนือ) ณ ห้องประชุมเทศบาลตําบลเชียงคาน.
                  มกราคม .
บริ ษท ชันยู คอนซัลแตนท์ส (ประเทศไทย) จํากัด บริ ษท แมคโคร คอนซัลแตนท์ จํากัด บริ ษท เทสโก้ จํากัด
     ั                                                   ั                                  ั
              บริ ษท ไทยดีชีไอ จํากัด และบริ ษท เซ้าท์อิสท์เอเชียเทคโนโลยี จํากัด. โครงการจัดทําแผนรวม
                   ั                          ั
              การบริหารจัดการทรัพยากรนําในพืนทีลุ่มนําโขง(ตะวันออกเฉียงเหนือ). เอกสาร
              ประกอบการประชุมคณะกรรมการลุ่มนําโขง(ตะวันออกเฉียงเหนือ).
ส่วนประสานและบริ หารจัดการลุ่มนําโขงส่วนที สํานักงานทรัพยากรนําภาค กรมทรัพยากรนํา. เอกสาร
         ประกอบการประชุมเชิงปฏิบตการเพือจัดทําแผนบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มนําแบบบูรณา
                                   ั ิ
         การลุ่มนําโขง(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)และแผนปฏิบัตการ ปี
                                                         ิ        . ณ โรงแรมเลยพาเลซ
         อําเภอเมือง จังหวัดเลย. กรกฎาคม .

More Related Content

What's hot

เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
15 clusters (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
15 clusters  (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา15 clusters  (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
15 clusters (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนาSuthat Wannalert
 
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออกSuthat Wannalert
 
15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสานSuthat Wannalert
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนnun_napassorn
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงFURD_RSU
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนMaykin Likitboonyalit
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต FURD_RSU
 

What's hot (12)

เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
15 clusters (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
15 clusters  (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา15 clusters  (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
15 clusters (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
 
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
 
15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 
Public administration information system
Public administration information systemPublic administration information system
Public administration information system
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
Data Collection in Supporting CPB
Data Collection in Supporting CPBData Collection in Supporting CPB
Data Collection in Supporting CPB
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
 

Similar to ลุ่มน้ำเลย

ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศกรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศDr.Choen Krainara
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...Dr.Choen Krainara
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 

Similar to ลุ่มน้ำเลย (20)

ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศกรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
 
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
 
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
 
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลงกรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
Ple
PlePle
Ple
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

ลุ่มน้ำเลย

  • 1. การบริหารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺโต1 และกัญจน์ วงศ์อาจ2 An Integration of Water management and Development of the Mekong River Basin in Loei region Phra Privaet Cittatanto, Mr. Kan Won-Aj บทคัดย่อ ในการศึกษาเรื องการบริ หารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย ผูวิจย้ ั มีวตถุประสงค์ดงนี คือ ) เพือศึกษาภาพรวมของลุ่มนําทังในด้านอุปสงค์อุปทาน แนวทางแก้ไขในปัญหา ั ั และวิธีการจัดการทรัพยากรนําทีชัดเจน ) เพือศึกษาการดําเนินการบริ หารจัดการทรัพยากรนําอย่างเป็ น ระบบสําหรับการพัฒนาแหล่งนํา การป้ องกันและบรรเทาภัยทีเกิดจากนํา การบริ หารจัดการทรัพยากรนํา อย่างยังยืน รูปแบบในการศึกษา เป็ นการศึกษาเชิงสํารวจ ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง เป็ นผูทีอาศัยอยู่ในเขตลุ่มนําโขง จังหวัดเลย กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบ ้ เจาะจง การวิเคราะห์ขอมูลจากการสังเกต สัมภาษณ์ และศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง ้ พืนทีในการศึกษา จังหวัดเลย เป็ นพืนทีทีอยูในเขตลุ่มนําโขง , . ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นร้อย ่ ละ . ของพืนทีจังหวัด และคิดเป็ นร้อยละ . ของพืนทีลุ่มแม่นาโขง ํ สรุ ปผลการศึกษา การบริ หารจัดการนําแบบบูรณาการเป็ นการร่ วมกันแบ่งปั นใช้ บริ หารจัดการ และอนุรักษ์ทรัพยากรนํา และทรัพยากรทีเกียวข้องของแม่นาโขง เพือให้บรรลุเป้ าหมายของความตกลงว่า ํ ด้วยความร่ วมมือเพือการพัฒนาลุ่มแม่น ําโขงอย่างยังยืน จําเป็ นต้องมีก ารจัดทําแผนพัฒ นาลุ่มนํา ซึ งให้ แนวทางเบืองต้น ในการบริ หารจัดการและพัฒนาลุ่มนําอย่างยังยืน ข้ อเสนอแนะ วิธีการจัดการนําแบบบูรณาการ การดําเนินแผนงาน และโครงการในการแก้ไขปัญหา การบริ หารจัดการนํานัน จําเป็ นจะต้องพิจารณาทังในระดับมหภาค คือ การทําความตกลงและการจัดสรร ผลประโยชน์เกียวกับนําในลุ่มนํา คําสําคัญ การบริ หารจัดการนํา, ลุ่มนําโขง, การพัฒนาลุ่มนําแบบบูรณาการ 1 พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺโต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 2 นายกัญจน์ วงศ์อาจ ประธานชมรมรักษ์ถินไทยเลย, นักวิจยท้องถิน ั
  • 2. Abstract The study “An Integration of Water management and Development of the Mekong River Basin in Loei Region” aims to (1) study an overall picture of river basin in aspect of supply and demand, solutions, and water resource management (2) to propose the water resource management systematically for water source development, preventing and mitigating the disaster caused by water, and for sustainable water resource management. It is a survey study. The population consists of inhabitants in the Mekong River Basin in Loei. The sampling is purposive selection. The data analysis is from an observation, interview, and related documents. Area of the study Loei province is located in Mekong River area with 8415.38 sq. km, 80.05 percent of the province area and 17.93 percent of the Mekong region. Findings The integrated water management is the way of sharing, managing, water resource conservation and other related resources to achieve the goals of the agreement on cooperation for the sustainable development of the Mekong basin. It is necessary to arrange the basin development plan that provides the basic guidelines in water management and sustainable development. Suggestions To manage water in the integrated way, an action plan, and projects to solve water management problems are needed to be considered at the macro level with the agreement and allocation of benefits that related to water in the area. Key words: water management, Mekong Basin, integrated watershed development บทนํา ประเทศในลุ่มแม่นาโขง มีสภาพภูมิศาสตร์และแนวพรหมแดนทีติดกัน มี ประเทศ ประกอบด้วย ํ ประเทศไทย สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว สาธารณรั ฐสังคมนิ ย มเวี ย ดนาม สหภาพพม่ า สาธารณรัฐประชาชนจีน (มณฑลยูนาน) และราชอาณาจักรกัมพูชา ได้มีการปรับเปลียนนโยบายทางการ
  • 3. เมือง โดยมีเจตนารมณ์ทีจะร่ วมมือกันทางเศรษฐกิ จ เพือความอยู่ดี กินดีและขจัดปั ญหาความยากจนของ ประชาชนภายในของแต่ละประเทศ ในปัจจุบนงานพัฒนาแหล่งนํายังไม่สามารถช่วยเหลือประชาชนและ ั สนองความต้องการนําเพือการพัฒนาด้านต่างๆ ได้ทวถึง ในขณะทีประเทศต่างๆ กําลังพัฒนาในหลายด้าน ั เช่น ด้านการเกษตร การอุตสาหกรรม และท่องเทียว ฯลฯ ทําให้ประสบปัญหา เกียวกับความเดือดร้อนใน เรื องนําหรื อการขาดแคลนนําทีนับวันจะทวีความรุ นแรงมากขึนทุกๆ ปี ในปี พ.ศ. สํานัก งานคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิ จ และสังคมแห่ งชาติ (สศช.) ได้ ทําการศึกษารวบรวมข้อมูลและพิจารณาศักยภาพใน การพัฒนาเบืองต้นของแต่ละลุ่มนําของประเทศทัง ลุ่มนําหลัก ในการจัดการทรัพยากรนําให้มีประสิทธิภาพ มีการจัดทําแผนรวมการบริ หารจัดการทรัพยากรนํา ในระดับลุ่มนํา ทังนําผิวดินและนําใต้ดิน สําหรับใช้ในกิจกรรมต่างๆ ทังการอุปโภคบริ โภค การเกษตร กรรม การอุตสาหกรรม การป้ องกันแก้ไขปัญหานําท่วม ปัญหาคุณภาพนํา และอืนๆ ตลอดจนการจัดการ ทรัพยากรที เกี ยวข้อง เช่ น การใช้ทีดิน และป่ าไม้ให้เป็ นไปอย่างมีระบบและเกิ ดประโยชน์และสามารถ บริ หารจัดการได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพความต้องการนําและมีความเป็ นธรรมแก่ผใช้นา ู้ ํ จังหวัด เลยเป็ นจังหวัด หนึ งที ตังอยู่ในเขตลุ่มนําสาขาแม่น ําโขงส่ ว นที คือ นําหมาน นําสาน แม่นาโขงส่วนที คือ ห้วยนําปวน แม่นาเลยตอนล่าง แม่นาโขงส่ วนที คือ ห้วยนําโสม และนําโมง รวม ํ ํ ํ พืนที , . ตารางกิโลเมตร จากพืนทีจังหวัด , . ตารางกิโลเมตร ในการบริ หารจัดการและพัฒนาลุ่มนําโขงในเขตพืนทีจังหวัดเลย ประเด็นปั ญหาสําคัญทีต้องหา มาตรการและแนวทางแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าและระยะยาว เพือไม่ให้สถานการณ์รุ นแรงมากขึ น ได้แก่ ปัญหาด้านอุทกภัย ปัญหาด้านการขาดแคลนนํา ปั ญหาด้านการจัดการสิ งแวดล้อม ปั ญหาด้านการบริ หาร จัดการ การจัดลําดับความสําคัญของโครงการท้องถิน ประเด็นผลกระทบสําคัญต่ อชุมชนท้องถิน และ แผนการปฏิบติการและงบประมาณเพือพัฒนาต่อไป ั วัตถุประสงค์ ) เพือศึกษาภาพรวมของลุ่มนําทังในด้านอุปสงค์อุปทาน แนวทางแก้ไขในปัญหา และวิธีการ จัดการทรัพยากรนําทีชัดเจนในลุ่มนําโขงพืนทีจังหวัดเลย ) เพือศึกษาการบริ หารจัดการทรัพยากรนํา การพัฒนาแหล่งนํา การป้ องกันและบรรเทาภัยทีเกิด จากนํา และการบริ หารจัดการทรัพยากรนําอย่างยังยืนในลุ่มนําโขงพืนทีจังหวัดเลย รูปแบบในการวิจย (Research Design) ั ในการศึกษาเรื องการบริ หารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย เป็ น การศึกษาเชิงสํารวจ และใช้วิธีเสาวนาเชิงปฏิบติการเพือระดมความคิดเห็น แลกเปลียนความคิดเห็นโดย ั วิธีก ารแบบเจาะจงในกลุ่มผูมีส่ว นได้เสี ย เพือเก็ บรวบรวมข้อมูลผสมผสานกับการศึกษาจากเอกสารที ้ เกียวข้อง
  • 4. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผูมีส่วนได้เสีย เป็ นผูทีอาศัยอยู่ในเขตลุ่มนําโขง จังหวัดเลย กลุ่ม ้ ้ ตัว อย่า งเลือกแบบเจาะจง การวิ เคราะห์ข ้อมูล จากการเสาวนาเชิ ง ปฏิบัติ ก าร เพือระดมความคิ ด เห็ น แลกเปลียนความคิดเห็นและศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง กิจกรรมภาคสนาม การวิจยเชิงสํารวจในภาคสนามแบ่งออกเป็ น ส่วน ได้แก่ ั ) ศึกษาและวิเคราะห์ศกยภาพทรัพยากรนําในแต่ละลุ่มนําสาขาของลุ่มนําโขงในพืนทีจังหวัดเลย ั 2) การเสาวนาเชิงปฏิบติการ เพือระดมความคิดเห็น แลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับแนวคิด ั ทิศทางในการพัฒนาการบริ หารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย ขอบเขตการวิจย ั ในการศึกษาเรื องการบริ หารจัดการนําและพัฒนาลุ่มนําโขงแบบบูรณาการในพืนทีจังหวัดเลย ผูวิจย ้ ั ได้ดาเนินการศึกษาครอบคลุมในเรื องต่างๆ ดังนี ํ ) สํารวจรวบรวมข้อมูลพืนฐานด้านเศรษฐกิจ สังคม ข้อมูลแหล่งนําธรรมชาติ และแหล่งนําที ก่อสร้างขึน ทังแหล่งนําผิวดิน และแหล่งนําใต้ดิน ตลอดจนสภาพปัญหาต่างๆ ทีเกิดขึนในพืนทีลุ่มนําและ ข้อมูลอืนๆ ทีจําเป็ นในการบริ หารจัดการทรัพยากรนํา ) ศึกษาวิเคราะห์ศกยภาพทรัพยากรนําในแต่ละลุ่มนําสาขา พร้อมทังจําแนกศักยภาพทรัพยากรนํา ั ออกเป็ นโครงการส่วนทีได้พฒนาแล้ว และโครงการส่วนทีจะสามารถพัฒนาต่อไปให้สอดคล้องกับศักยภาพ ั ของทรัพยากรอืนทีเกียวข้องได้ เช่น ทีดิน ป่ าไม้ และสิ งแวดล้อม ) รวบรวมและวิเคราะห์ผลการศึกษาแผนงานโครงการทีดําเนินไว้โดยหน่วยงานต่างๆ และทําการ สรุ ปผลการดําเนินงานทีผ่านมา ) ประสานการดําเนินงานโดยสอบถามและรับฟังความคิดเห็นเกียวกับสภาพปัญหา ความต้องการ แนวทางการบริ หารจัดการทรัพยากรนําร่ วมกับคณะอนุกรรมการบริ หารจัดการลุ่มนํา องค์กรท้องถิน ประชาชนในพืนที และผูเ้ กียวข้องซึงมีส่วนได้เสียในพืนทีลุ่มนํา โดยการศึกษาเชิงสํารวจ และใช้วิธีเสาวนา เชิงปฏิบติการเพือระดมความคิดเห็น แลกเปลียนความคิดเห็นโดยวิธีการแบบเจาะจงในกลุ่มผูมีส่วนได้เสีย ั ้ เพือนําไปเป็ นแนวทางในการศึกษาในด้านต่างๆ เช่น แผนการพัฒนาแหล่งนํา แผนการบริ หารจัดการนํา แผนการแก้ไขปัญหานําท่วม รวมทังแผนการอนุรักษ์และการแก้ไขปัญหาคุณภาพนํา
  • 5. พืนทีในการวิจย ั พืนทีลุ่มแม่นาโขงในเขตพืนทีจังหวัดเลย ซึงมีพนทีประมาณ , . ตารางกิโลเมตร เป็ นพืนทีที ํ ื อยูในเขตลุ่มนําโขง , . ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นร้อยละ . ของพืนทีจังหวัด และคิดเป็ นร้อยละ . ่ ของพืนทีลุ่มแม่นาโขงจังหวัดเลยตังอยูในเขตลุ่มนําสาขาแม่นาโขง แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ดังนี ํ ่ ํ ) ส่วนที คือ นําหมาน นําสาน ) แม่นาโขงส่วนที คือ ห้วยนําปวน แม่นาเลยตอนล่าง ํ ํ ) แม่นาโขงส่วนที คือ ห้วยนําโสม และนําโมง ํ ซึงเป็ นลุ่มนําสาขาของลุ่มแม่นาโขง ขอบเขตการปกครองและทีตังของลุ่มนําสาขาในจังหวัด ํ สามารถแสดงได้ดงตาราง โดยมีสดส่วนพืนที จังหวัดในแต่ละลุ่มนําสาขา ดังนี ั ั ตาราง แสดงขอบเขตการปกครองและทีตังของลุ่มนําสาขาในจังหวัดเลย รหัส พืนทีลุ่มนํา พืนทีจังหวัดเลยในลุ่มนําโขง สั ดส่ วน ลุ่มนําสาขา ลุ่มนํา ตร.กม. ไร่ ตร.กม. ไร่ พืนที แม่นาโขงส่ วนที ํ . , . . , . . นําหมาน . , . . , . . นําสาน . , . . , . . แม่นาโขงส่ วนที ํ . , . . , . . ห้วยนําปวน , . , . , . , . . แม่นาเลยตอนล่าง ํ , . , , . , . , , . . แม่นาโขงส่ วนที ํ , . , , . , . , . . ห้วยนําโสม , . , . . . . นําโมง , . , , . . , . . รวม , . , , . , . , , . . ทีมา รายงานสรุ ปจังหวัดเลย สภาพพืนทีและการแหล่งลุ่มนําสาขา จังหวัดเลย ตังอยูในเขตลุ่มนําสาขาแม่นาโขงส่วนที คือ นําหมาน นําสาน แม่นาโขงส่ วนที คือ ่ ํ ํ ห้วยนําปวน แม่นาเลยตอนล่าง แม่นาโขงส่ วนที คือ ห้วยนําโสม และนําโมง รวมพืนที , . ตร.กม. ํ ํ จากพืนทีทังจังหวัด , . ตร.กม. ขอบเขตการปกครองและทีตังของลุ่มนําสาขาในพืนทีจังหวัดเลย สามารถ แสดงได้ดงตารางโดยมีสดส่วนพืนทีจังหวัดในแต่ละลุ่มนําสาขา ั ั
  • 6. ตาราง แสดงขอบเขตการปกครองและทีตังของลุ่มนําสาขาในจังหวัดเลย โดยมีสดส่วนพืนทีจังหวัด ั ในแต่ละลุ่มนําสาขา พืนทีลุ่มนํา พืนทีจังหวัดเลยในลุ่มนําโขง รหัสลุ่มนํา ลุ่มนําสาขา ตร.กม. ไร่ ตร.กม. ไร่ ร้อยละ แม่นาโขงส่ วนที ํ . , . . , . . นําหมาน . , . . , . . นําสาน . , . . , . . แม่นาโขงส่ วนที ํ . , . . , . . ห้วยนําปวน , . , . , . , . . แม่นาเลยตอนล่าง ํ , . , , . , . , , . . แม่นาโขงส่ วนที ํ , . , , . , . , . . ห้วยนําโสม , . , . . . . นําโมง , . , , . . , . . รวม , . , , . , . , , . . ทีมา : รายงานสรุ ปจังหวัดเลย ชือภาพ : แผนทีจังหวัดเลย ทีมา : รู ปภาพสําหรับ แผนทีจังหวัดเลย สื บค้นใน http://www.google.com
  • 7. ประชากรและสภาพเศรษฐกิจ สังคม ประชากร จากข้อมูลประชากรปี พ.ศ. ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พบว่า ลุ่ม นําสาขาทีอยูในจังหวัดเลย มีจานวนประชากรอาศัย รวม , คน โดยลุ่มนําสาขานําโมง มีจานวน ่ ํ ํ ประชากร สูงสุด คือ , คน สภาพเศรษฐกิจและสังคม ในปี พ.ศ. จังหวัดเลย มีรายได้เฉลียต่อหัวของประชากรเท่ากับ , บาทต่อคนต่อปี โดยรวมมีแนวโน้มในอนาคตทีดีขึนเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ แต่ถา ้ เทียบจังหวัดทังหมดในลุ่มนําโขง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จังหวัดเลขมีเศรษฐกิจถือว่าอยูในเกณฑ์ปานกลาง ่ คือ อันดับที จาก จังหวัด ทบทวนวรรณกรรม จากการทบทวนวรรณกรรม สรุ ปได้ดงนี ั แม่นาโขง มีความยาวประมาณ , กิโลเมตรจากแหล่งกําเนิดในทิเบตไหลผ่านประเทศจีน พม่า ํ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ลงสู่ทะเลตะวันออก ครอบคลุมบริ เวณ ลุ่มนําถึง , ตารางกิโลเมตร แม่นาโขงเป็ นแม่นาทีมีความหลากหลายทางชีวภาพรองจากแม่นาอเม ํ ํ ํ ซอน และเป็ นลุ่มนําทีมีผลผลิตประมงนําจืดจากการจับปลาตามธรรมขาติมากทีสุดในโลก ประมาณ . ล้าน ตันต่อปี (สืบค้นใน http://www. rcmekong.org) สภาพเศรษฐกิจและสังคม ประชากรของลุ่มแม่นาโขง การ ํ ดํารงชีวิต และความมันคงทางอาหารของประชากรในชนบทมีวิถีชีวิตพึงพาแหล่งนําตามธรรมชาติประชากร มากกว่าร้อยละ มีการประกอบอาชีพและกิจกรรมทางเศรษฐกิจเกียวข้องกับทรัพยากรนําทําให้มีความ อ่อนไหวต่อการเปลียนแปลง ของคุณภาพนํา ประชากรทียากจนจํานวนหลายล้านคนต้องพึงพาการประมง ธรรมชาติเพือความมันคงทางอาหาร และรายได้ การพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรนําในปัจจุบัน . การนําทรัพยากรนํามาใช้ ค่าเฉลียการใช้นารายปี สําหรับภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และการ ํ อุปโภคบริ โภคอืนๆ ในลุ่มแม่นาโขงตอนล่างเท่ากับ พันล้านลูกบาศก์เมตรหรื อร้อยละ ของปริ มาณนํา ํ รายปี ของ แม่นาโขง มีการผันนําย่อยๆ จากแม่นาโขงสายประธานบริ เวณตอนบนของสามเหลียมปากแม่นา ํ ํ ํ โขงในเวียดนาม และมีโครงการผันนําขนาดใหญ่ทีอยูในระหว่างการพิจารณา ปริ มาณนําทีเก็บกักในอ่างเก็บ ่ นํา ปัจจุบนมีปริ มาณน้อยกว่าร้อยละ ของค่าเฉลียปริ มาณการไหลรายปี ของแม่นาโขง ทําให้ไม่เพียงพอ ั ํ สําหรับการใช้นาของภาคส่วนต่างๆ ในระหว่างฤดูกาล ลุ่มแม่นาโขงยังมีปริ มาณการใช้นาใต้ดินน้อยยกเว้น ํ ํ ํ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและเวียดนาม ซึงปริ มาณนําผิวดินมีนอยในระหว่างฤดูแล้งจึงมี ้ การสูบนําใต้ดินขึนมาใช้ ทังนีศักยภาพในการพัฒนานําใต้ดินอย่างยังยืนต้องมีการประเมินอย่างระมัดระวัง ภาคส่วนทีเกียวข้องกับการใช้นาภาคการเกษตรเป็ นภาคส่วนหลักทีใช้นาโดยเฉพาะในไทยและเวียดนาม ํ ํ
  • 8. ในขณะทีกัมพูชา และ สปป. ลาวมีการพัฒนาภาคการเกษตรน้อยกว่า โดยรวมแล้วพืนทีชลประทานใน หน้าแล้ง มีประมาณ . ล้านไร่ ซึงน้อยกว่าร้อยละ ของพืนทีการเกษตรทังหมดของลุ่มแม่นาโขงตอนล่าง ํ ( ล้านไร่ ) ระดับการขยายตัว ณ ปัจจุบนของการชลประทานถูกจํากัดโดยปริ มาณการไหลของนําในฤดูแล้ง ั ปริ มาณนําแม่นาโขงทีไหลในฤดูแล้งมาถึงสามเหลียมปากแม่นาในเวียดนามถูกใช้อย่างเต็มทีเพือเศรษฐกิจ ํ ํ การเกษตรและสังคม รวมถึงการป้ องกันการรุ กตัวของนําเค็ม ศักยภาพการผลิตไฟฟ้ าพลังนําของลุ่มแม่นา ํ โขงตอนล่าง มีประมาณ , เมกะวัตต์ พัฒนาได้ประมาณร้อยละ จนถึงปัจจุบน การเดินเรื อมี ั ความสําคัญ แต่ส่วนใหญ่ ยังไม่ได้รับการพัฒนาอย่างบูรณาการกับการขนส่งด้านอืนๆ การบรรเทาอุทกภัย ขนาดใหญ่ในลุ่มแม่นาโขงใช้ มาตรการขันต้นทีไม่ใช้โครงสร้าง มีโครงการพัฒนาทรัพยากรนําขนาดเล็ก ํ เพือการปรับปรุ งพืนทีชุ่มนําและส่งเสริ มการเพาะเลียงสัตว์นา ในขณะทีการท่องเทียวทางนํามีความสําคัญต่อ ํ รายได้ของประเทศและสร้างรายไดให้แก่ทองถิน ้ ชือภาพ : แม่นาโขง ณ เชียงคาน ํ ทีมา : แก่งคุดคู่ ตําบลเชียงคาน อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย . สถานการณ์ล่มนํา จากการเฝ้ าติดตามบ่งชีให้เห็นการปรับตัวของแม่นาต่อแรงกดดันต่าง ๆ ทีก่อ ุ ํ ขึนโดยมนุษย์ ระบบการไหลของแม่นาโดยส่วนใหญ่ยงเป็ นไปตามธรรมชาติ แม้ว่าเขือนในลุ่มนําสาขามี ํ ั ผลกระทบต่อแม่นาโขง สายประธานบางจุด คุณภาพนําโดยรวมจัดว่าดี ยกเว้นบริ เวณสามเหลียมปากแม่นา ํ ํ และในบางพืนทีทีมีการพัฒนาสูง แม่นาโขงบริ เวณทีมีระดับสารอาหารในนําสูงเป็ นปัญหาทีน่ากังวล การ ํ ไหลท่วมของแม่นาตามฤดูกาล ช่วยเพิมความอุดมสมบูรณ์ดานการประมง ถึงแม้จะมีการรายงานการลดลง ํ ้ ของผลผลิตด้านประมง อย่างไรก็ตามสถานการณ์ของป่ าไม้ในลุ่มนําไม่ดีนก เนืองจากความต้องการไม้และ ั ทีดินเพิมขึนทําให้เกิดการตัดไม้ทาลายป่ า ส่งผลให้สภาพดินทีเสือมโทรม สัตว์ในลุ่มนํา ชนิดอยูใน ํ ่ สภาวะใกล้สูญพันธุขนวิกฤต ชนิดใกล้สูญพันธุและ ชนิดมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ โดยมีสาเหตุจากการ ั ์ พัฒนาอย่างรวดเร็ วส่งผลต่อการเปลียนแปลงทีอยูอาศัยของสัตว์ และกลไกอันจําเป็ นทีก่อให้เกิดความยังยืน ่
  • 9. ของระบบนิเวศทีมีผลิตภาพสูง . การบริหารจัดการนํา การบริ หารจัดการนําในลุ่มแม่นาโขงตอนล่างเป็ นการผสมผสานรู ปแบบ ํ ของ ความร่ วมมือและประสานงานในระดับลุ่มนํา โดยมี MRC อํานวยความสะดวกในระดับภูมิภาค และ มี กลไก การบริ หารจัดการนําภายในประเทศภาคีสมาชิก สะท้อนอํานาจอธิปไตย ขนบธรรมเนียม และระบบ บริ หาร ของแต่ละประเทศ MRC ทําหน้าทีเป็ นหน่วยประสานงานหลักสําหรับความร่ วมมือช่วยให้บรรลุ เป้ าหมายของลุ่มนําในระดับภูมภาค โดยทําหน้าทีให้บริ การข้อมูล ให้คาแนะนําทางวิชาการ และเป็ นตัวกลาง ิ ํ ในการเจรจา ประเทศภาคีสมาชิกได้นาหลักการบริ หารจัดการนําแบบบูรณาการมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม ํ กับประเทศ โดยมีคาแถลงทีชัดเจนด้านนโยบายนําของประเทศและยุทธศาสตร์ทีสนับสนุน มีกรอบข้อบังคับ ํ และสถาบัน ทีเข้มแข็ง มีหน่วยงานภายในประเทศรับผิดชอบการบริ หารจัดการนํา กฎหมายด้านทรัพยากรนํา ได้รับการ ปรับปรุ งให้ทนสมัย ปัจจุบนประเทศภาคีสมาชิกมีการจัดตังองค์กร คณะกรรมการลุ่มนําเพือการมี ั ั ส่วนร่ วม ด้านการบริ หารจัดการนําในระดับลุ่มนําและระดับท้องถิน ชือภาพ : เรื องฝายนําปวน ทีมา : บ้านวังแท่น ตําบลนําปวน อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ชือภาพ : การเลียงปลาในกระชัง ทีมา : แม่นาเลย ตําบลศรี สองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ํ
  • 10. สรุปผลการวิจยและข้ อเสนอแนะ ั ผูวิจยได้นาข้อมูลเอกสารและข้อมูลภาคสนามทีได้มาจากการเสาวนาและการสังเกตนํามาตรวจสอบ ้ ั ํ ความถูกต้องและจัดหมวดหมู่ แยกเป็ นประเด็นต่างๆ ทีพบโดยวิธีการวิเคราะห์เนือหา ตามประเด็นทีค้นพบ และและนํามาพรรณนาเชิงอุปนัย โดยสรุ ปประเด็นปัญหาสําคัญลุ่มนําในเขตพืนทีจังหวัดเลย ทีต้องหา มาตรการและแนวทางแก้ไข เพือแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และการแก้ไข ในระยะยาวไม่ให้สถานการณ์รุนแรง มากขึน ดังนี . ปัญหาด้ านอุทกภัย สภาพการเกิดอุทกภัย สาเหตุของนําท่วมในพืนทีลุ่มนําโขง ในเขตพืนทีจังหวัดเลย เนืองจากอิทธิพล ของลมมรสุมทําให้มีปริ มาณฝนตกมากกว่าจังหวัดอืนๆ ระดับนําในแม่นาโขง แม่นาเลยสูงในฤดูฝนเอ่อล้น ํ ํ ตลิงเข้าท่วมพืนทีทีอยูริมแม่นาโขง แม่นาเลย เป็ นต้น และจากสภาพทางกายภาพในลุ่มนํา เช่น พืนทีป่ าต้นนํา ่ ํ ํ ถูกทําลาย การขาดแคลนแหล่งนําขนาดใหญ่ในพืนทีลุ่มนํา การปลูกไม้เชิงเดียว เช่น ยางพารา ทําให้ ประสิทธิภาพของระบบระบายนําไม่เพียงพอ เนืองจากตืนเขิน หรื อถูกบุกรุ ก มีการก่อสร้างสิงกีดขวางทางนํา การเปลียนแปลงสภาพการใช้ทีดิน เป็ นต้น แนวทางการแก้ไขปัญหา ) ปัญหาด้านอุทกภัย สําหรับปัญหาด้านอุทกภัยบริ เวณจังหวัดเลย มีลกษณะเป็ นแบบนําป่ าไหลหลากลงมาจากต้นนํา ั และ นําท่วมในขณะทีเกิดอุทกภัยจะมีปริ มาณมากกว่าความจุของลํานําทําให้ไหลเอ่อล้นตลิงทังสองฝังของ ลํานําทีมีลกษณะคดเคียว และมีตะกอนตกจมมากหรื อมีสิงกีดขวางทางนํา การแก้ไขทีดําเนินการโดย ั หน่วยงานต่างๆ - การขุดลอกลํานํา - มีแผนงานทําทางเบียงอ้อมชุมชนในทีลุ่ม - ปรับปรุ งสิงกีดขวางทางนํา เช่น ฝายและประตู ขนาดเล็กให้มีขนาดของช่องทางผ่านของนํามี ขนาด ไม่นอยกว่าความจุของลํานําและมีธรณี ประตูระบายใกล้เคียงกับท้องลํานําธรรมชาติ ้ . ปัญหาด้ านการขาดแคลนนํา สภาพการเกิดภัยแล้ง บริ เวณจังหวัดเลยมีปริ มาณฝนเฉลียผันแปรระหว่าง - , มม./ปี การ ขาดแคลนนําเนืองมาจากแหล่งนําต้นทุนไม่เพียงพอ ไม่มีอางเก็บนําในบริ เวณต้นนําเนืองจากเป็ นพืนทีป่ าไม้ ่ บางลํานําไม่มีนาไหลตลอดทังปี ํ การแก้ไขทีดําเนินการโดยหน่วยงานต่างๆ - เจาะบ่อนําบาดาล - ก่อสร้างอ่างเก็บนําในพืนทีสามารถ ดําเนินการได้ - ก่อสร้างฝายในลํานําเพือเก็บนําในลํานํา - ก่อสร้างระบบประปาหมู่บาน แนวทางแก้ไขจัดไว้ในแผนรวม ้ แนวทางการแก้ไขปัญหา
  • 11. - ก่อสร้างอ่างเก็บนําบริ เวณต้นนําถึงแม้จะเป็ นเขตป่ าไม้ - ก่อสร้างอ่างเก็บนําในพืนทีต้นนํา - ก่อสร้าง / ปรับปรุ ง ประตูระบายนํากลางลํานําสายหลักให้สามารถระบายนําได้สะดวกและ สามารถ เก็บกักนําได้ในลํานํา 3. ปัญหาด้ านการจัดการสิงแวดล้อม ) คุณภาพนําในลํานําสายใหญ่ทีสําคัญ คุณภาพนําส่วนใหญ่ยงอยูในอยูในเกณฑ์ทีดี ั ่ ่ ) คุณภาพนําลํานําสายเล็ก เริ มมีคุณภาพเสือมโทรม โดยเฉพาะลํานําทีอยูใกล้แหล่งกําเนิด ่ มลพิษแหล่งใหญ่ๆ ได้แก่ เหมืองแร่ แหล่งมลพิษจากชุมชน สถานท่องเทียว โรงงานอุตสาหกรรม การปศุ สัตว์และ สถานทีกําจัดมูลฝอยภายในลุ่มนําสาขา ) การใช้สารเคมีในการเกษตรมากขึน ทําให้มีการปนเปื อนในแหล่งนําผิวดิน ควรมีมาตรการ ตรวจสอบและติดตามเป็ นระยะฯ ) การบําบัดนําเสียชุมชนขนาดใหญ่ และแหล่งท่องเทียวทีสําคัญ ควรมีมาตรการจูงใจในการ บําบัดนําเสียเบืองด้น เพือลดภาระในการบําบัดนําเสีย ปัญหาคุณภาพของนํา แนวทางในการแก้ไข - บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่ งครัด - ติดตามเฝ้ าระวังคุณภาพนํา - ก่อสร้างระบบบําบัดนําเสีย - ควบคุมจํานวนผูประกอบการเลียงปลา/กุง ้ ้ - ส่งเสริ มการใช้เทคโนโลยีทีสะอาด 4. ปัญหาด้ านการบริหารจัดการ ปัญหาด้านการบริ หารจัดการไม่สามารถพิจารณาเฉพาะภายในพืนทีลุ่มนําใดลุ่มนําหนึงเท่านัน เนืองจากการบริ หารจัดการภายในพืนทีลุ่มนําหลายประเด็นขึนอยูกบการบริ หารจัดการของประเทศ ซึงสรุ ป ่ ั ได้ดงนี ั ) นโยบายและแผนหลักการจัดการทรัพยากรนําของรัฐ แต่ละสมัยไม่มีความชัดเจน และไม่ ครอบคลุมในทุกด้านทีเกียวข้องกัน ขาดความต่อเนือง การจัดทํานโยบายและแผนด้านการจัดการทรัพยากร นําจํากัดอยูในวงแคบ ไม่มการดําเนินการแบบองค์รวมและพิจารณาในทุกด้านทีเกียวข้องกัน ่ ี ) องค์การบริ หารจัดการทรัพยากรนํามีหน่วยงานทีเกียวข้องหลายหน่วยงาน ขาดเอกภาพและ การ บริ หารจัดการร่ วมกันแบบบูรณาการ ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบกําหนดทิศทางการบริ หารจัดการให้ เป็ น เอกสาร และมีกรอบแผนทีชัดเจน ) คณะอนุกรรมการลุ่มนําและคณะทํางานในระดับต่างๆ ขาดงบประมาณสนับสนุนการบริ หาร จัดการนําทีเพียงพอ และขาดประสบการณ์และความรู้ความเข้าใจในการบริ หารจัดการทรัพยากรนํา ) ผูใช้นาในกิจกรรมต่างๆ ยังขาดจิตสํานึกในการใช้นาอย่างประหยัด ขาดวินยของผูใช้นาอย่าง ้ ํ ํ ั ้ ํ ถูกต้อง รวมทังไม่รู้จกอนุรักษ์นาทีถูกวิธีดวย เป็ นสาเหตุสาคัญด้านหนึงซึงทําให้นาไม่พอใช้ ั ํ ้ ํ ํ
  • 12. ) ผูใช้นาโดยเฉพาะเกษตรกรขาดความรู้ ทังในเรื องการใช้นาอย่างมีประสิทธิภาพ การลด ้ ํ ํ มลพิษ การจัดการของเสีย ฯลฯ ) ปัญหาด้านงบประมาณ ในการจัดทํางบประมาณของประเทศ เป็ นไปในลักษณะของการ จัดสรร งบประมาณรายกระทรวง ทบวง กรม ซึงเป็ นการพิจารณางบประมาณ โดยยึดพืนฐานจากงบประมาณ เดิมทีมี แต่ละหน่วยงานเคยได้รับในปี ทีผ่านมา และตามทีหน่วยงานเสนอขอโดยขาดการพิจารณาด้วยปัญหา ในภาพรวมของประเทศ โดยเฉพาะด้านการจัดการทรัพยากรนํา ซึงมีหน่วยงานดําเนินการจํานวนมากใน หลาย กระทรวง ทําให้การประสานงานหรื อไม่ประสานแผนปฏิบติการอย่างจริ งจัง ทําให้การแก้ไขปัญหา ั เป็ นไป อย่างไม่สมบูรณ์ในแต่ละพืนที หรื อปัญหาบางอย่างไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริ งจัง เพราะงบประมาณ มีการ กระจายมาก ) ปัญหาด้านกฎหมาย เนืองจากบทบัญญัติของกฎหมายทีเกียวข้องกับการใช้และอนุรักษ์ ทรัพยากรนํามีอยูอย่างกระจัดกระจาย จึงทําให้เกิดปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเป็ นเหตุให้การจัดการ ่ ทรัพยากรนํา ไม่บรรลุความสําเร็ จตามเป้ าหมายเท่าทีควร ) การใช้กฎหมายพระราชบัญญัติและข้อกําหนดต่างๆ ไม่สามารถบังคับใช้กฎหมาย ข้อกําหนด มาตรการ และนโยบายการพัฒนาพืนทีตามทีผังเมืองกําหนดไว้ได้อย่างจริ งจัง ประกอบกับการบังคับใช้ผง ั เมืองไม่ทนต่อสภาวการณ์ทีเปลียนแปลงไป ทําให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาทีเกิดขึนได้ รวมทังกฎหมายด้าน ั สิ งแวดล้อมและกฎหมายอืนๆ ทีเกียวข้องทําให้การบังคับใช้กฎหมายไม่มีประสิทธิภาพ ) ขาดการจัดระเบียบและการกําหนดเขตการใช้ทีดินประเภทต่างๆ (Zoning) ทีชัดเจนเพือ กําหนด กรอบการเจริ ญเติบโตทีเหมาะสม ทังพืนทีอยูอาศัย พืนทีเกษตรกรรม พืนทีอุตสาหกรรม พืนที ่ อนุรักษ์ ส่งผลให้เกิดปัญหาการจราจร ปัญหามลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรม ปัญหานําท่วม ปัญหา สิ งแวดล้อมเสือมโทรม ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้อม ) ขาดการวางแผนและการพัฒนาพืนทีอย่างบูรณาการ การพัฒนาทีผ่านมาขาดการบูรณาการ แบบ องค์รวม ทังความร่ วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยงานทีเกียวข้องกับการพัฒนารวมทังกลุ่ม จังหวัดในแต่ละพืนที เนืองจากในแต่ละพืนทีคํานึงถึงผลประโยชน์ของตนเอง ทําให้การพัฒนาโดยองค์รวม ขาดความ เชือมโยงและไม่เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ) กระบวนการจัดการทีไม่มีประสิทธิภาพของหน่วยงานต่างๆ ทีขาดองค์กรหลักในการ กําหนด และประสานงานเพือให้มีการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ เช่น การจัดสรรนําและการจัดหานําเพือ แก้ปัญหา ภัยแล้ง การแก้ปัญหาอุทกภัยและปัญหานําเสีย เป็ นต้น ) สิทธิการใช้นาและแหล่งนําต้นทุนของกิจกรรมต่างๆ ในลุ่มนํายังไม่มีการกําหนดอย่าง ํ ชัดเจนในภาคปฏิบติ ซึงกลุ่มผูใช้นารายย่อย ได้แก่ เกษตรกรและชาวบ้านในพืนทีนอกเขตเทศบาล มักถูกเอา ั ้ ํ รัดเอาเปรี ยบจากกลุ่มผูใช้นาในเขตชุมชนเทศบาลต่างๆ รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรมทีสามารถเข้าถึงผูมี ้ ํ ้ อํานาจตัดสินใจในการจ่ายนําได้ดีกว่า ในขณะทีนําต้นทุนมีจานวนจํากัดและการพัฒนาแหล่งนําเพือการ ํ ประปาและ อุตสาหกรรมทีมีแนวโน้มขยายตัวมากขึนซึงจะมีความสําคัญมากยิงขึน ตามนโยบายเร่ งการ เจริ ญเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ โดยภาคอุตสาหกรรมจะมีนาหนักในการตอบสนองนโยบาย ํ
  • 13. ดังกล่าวของภาครัฐสูงกว่า ซึงอาจทําให้การพัฒนาแหล่งนําหรื อการจัดสรรนําเพือการเกษตรถูกลด ความสําคัญลงจากการตัดสินใจในระดับท้องถิน ) ระบบการจัดทําฐานข้อมูลและการจัดสรรนํายังไม่ทนสมัยเพียงพอ ทําให้ยากต่อการบริ หาร ั จัดการนําได้อย่างเหมาะสม เช่น การวางแผนส่งนําให้แก่เกษตรกรจะใช้วิธีการประมาณการ ซึงไม่เหมาะสม ต่อสภาพการเพาะปลูกจริ งทีมีการเปลียนแปลงไปจากแผนการเพาะปลูกทีจัดทําไว้ล่วงหน้า มีผลให้การส่งนํา ขาดความเทียงตรง ) ขาดการรวมกลุ่มของผูใช้นา เนืองจากผูใช้นาหลายพืนทีขาดความเข้มแข็ง เกษตรกรบาง ้ ํ ้ ํ พืนทีไม่มีกรรมสิทธิในทีดิน ต้องเช่าทีดินเพือทําการเกษตร ) ขาดเครื องมือในการติดตามตรวจสอบ เช่น ขาดเครื องมือตรวจวัดปริ มาณนําทีจ่ายไปขังจุด ต่างๆ ของโครงการชลประทาน ทําให้ขาดข้อมูลสําคัญในการตัดสินใจบริ หารจัดการนํา ระบบการจัดการ และ ควบคุมปริ มาณนําจ่ายทําได้ยาก ส่งผลให้ประสิทธิภาพการใช้นาชลประทานอยูในเกณฑ์ตา ํ ่ ํ . การจัดลําดับความสําคัญของโครงการท้องถิน โครงการระดับท้องถินเป็ นโครงการทีเมือพัฒนาแล้วจะสามารถแก้ไขปัญหา หรื อมีพนทีรับ ื ประโยชน์ หรื อมีผลกระทบจากโครงการในระดับหมู่บานหรื อตําบล ซึงส่วนใหญ่เป็ นโครงการขนาดเล็ก ้ งบประมาณแต่ละโครงการค่อนข้างตํา โครงการระดับท้องถินส่วนใหญ่เป็ นโครงการทีท้องถินเสนอจากการ ประชุมกลุ่มย่อย ซึงผ่านการคัดกรองโดยทีปรึ กษาแล้ว นอกจากนี ยังรวมถึงโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที วางแผนไว้ และทีบริ ษททีปรึ กษาเสนอเพิมเติม โครงการระดับท้องถินประกอบด้วยโครงการทีแก้ไขปัญหา ั ด้านการจัดการต้นนํา เช่น การฟื นฟูพนทีป่ าไม้ตนนํา การอนุรักษ์ระบบนิเวศป่ าไม้ การก่อสร้างฝายต้นนํา ื ้ หรื อ ฝายแม้ว (Check dam) การอนุรักษ์ระบบนิเวศดิน และการปลูกหญ้าแฝก เป็ นต้น โครงการทีแก้ไข ปัญหา ด้านการจัดการกลางนํา เช่น การปรับปรุ งแหล่งนําธรรมชาติ (ขุดลอก คูคลอง หนองบึง) การเจาะบ่อ บาดาล บ่อนําตืน การก่อสร้างเขือนเก็บกักนํา ฝายทดนํา ระบบประปา เป็ นต้น โครงการทีแก้ไขปัญหาด้าน การจัดการท้ายนํา เช่น การแก้ไขปัญหานําเสียชุมชน การก่อสร้างและพืนฟูระบบบําบัดนําเสีย การกําจัดของ เสีย ขยะ การอนุรักษ์ฟืนฟูและปลูกป่ าชายเลน เป็ นต้น และโครงการทีแก้ไขปัญหาด้านการบริ หารจัดการ เช่น การอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในการบริ หารจัดการนํา การจัดอบรมเสริ มสร้างขีดความสามารถการ จัดการ แผนและนโยบาย การจัดตังกลุ่มหรื อองค์กรการมีส่วนร่ วม การประชาสัมพันธ์ เป็ นต้น การจัดทําแผนปฏิบติการของโครงการระดับท้องถิน จะจัดตามคะแนนความสําคัญของโครงการ ั ตาม เกณฑ์ในการพิจารณา ด้าน คือ ( ) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนา ( ) ความต้องการในการ แก้ไขปัญหา ( ) ความพร้อมของโครงการจากขันตอนการดําเนินงาน ( ) ความเหมาะสมระดับการใช้ เทคโนโลยี ( ) การมีส่วนร่ วมของประชาชนในการดําเนินโครงการ ( ) ผลประโยชน์ทีเกิดขึนของโครงการ ( ) ผลกระทบด้านป่ าไม้ ( ) ผลกระทบด้านชันคุณภาพลุ่มนํา ( ) ด้านเศรษฐศาสตร์ โดยพิจารณาร่ วมกับ นโยบายของภาครัฐ ผลการวิเคราะห์ระบบแหล่งนํา และระดับความต้องการโครงการของประชาชน ดังนี ) นโยบายของภาครัฐ เช่น ให้มีนาอุปโภคบริ โภคเพียงพอทุกหมู่บาน ภายในปี งบประมาณ ํ ้ เป็ นต้น ก็จะจัดทําแผนปฏิบติการให้เป็ นไปตามนโยบายของภาครัฐ ั
  • 14. ) โครงการพัฒนาแหล่งนําระดับท้องถินประเภทก่อสร้างฝายหรื อสถานีสูบนําด้วยไฟฟ้ าหรื อขยาย สถานีสูบนําด้วยไฟฟ้ า ได้พจารณาประกอบกับความเหมาะสมของการพัฒนาโครงการจากผลการวิเคราะห์ ิ ระบบแหล่งนํา (เช่นเดียวกับโครงการระดับลุ่มนํา) ทังนีคณะอนุกรรมการลุ่มนําและคณะทํางานระดับต่างๆ จะต้องพิจารณาคัดเลือกโครงการให้เหมาะสมอีกครังก่อนการอนุมติงบประมาณแต่ละปี ั ) ความต้องการของประชาชนซึงรับฟังจากการประชุมกลุ่มย่อย . ประเด็นผลกระทบสําคัญต่อชุมชนท้ องถิน ประเด็นผลกระทบสําคัญต่อชุมชนท้องถินหากสร้างเขือน เขือนบนแม่นาโขงสายหลักผลกระทบ ํ ทางด้านสิงแวดล้อม เกตษรกรรม การประมง วิถีชุมชนลุ่มนํา ชีววิทยา รวมทังวัฒนธรรม ดังนี (โครงการ ฟื นฟูนิเวศในภูมภาคแม่นาโขง, มกราคม .) ิ ํ ) โครงการพัฒนาเขือนไฟฟ้ าพลังนําบนแม่นาโขงสายหลักอาจจะส่งผลกระทบด้านลบอย่างเห็นได้ ํ ชัดต่อภาคประมงและภาคเกษตรกรรม . ในระยะสันถึงระยะกลาง ปัญหาความยากจนจะถูกทําให้เลวร้ายลงไปอีกจากทุกโครงการ สร้าง เขือนบนแม่นาโขงสายหลัก โดยเฉพาะกลุ่มคนยากจนในชนบทและเมืองทีอยูริมนํา ํ ่ . การสูญเสียความหลากหลายทางชีววิทยาในลุ่มนําโขงตอนล่างจะเป็ นการสูญเสียระดับโลก อย่างถาวรซึงไม่สามารถทดแทนได้ซึงการสูญเสียดังกล่าวไม่สามารถทดแทนเป็ นตัวเงินได้ . การสร้างช่องทางผ่านสําหรับปลาเพือการบรรเทาปัญหาสําหรับเขือนบนแม่นาโขงสายหลัก ํ ไม่ใช่ตวเลือกทีอยูในหลักความจริ ง ั ่ . โครงการผลิตกระแสไฟฟ้ าพลังนําจากการสร้างเขือนแม่นาโขงสายหลักอาจเพิมความไม่ เสมอ ํ ภาคมากขึนในประเทศลุ่มนําโขงตอนล่าง ผลประโยชน์จากไฟฟ้ าจะตกอยูกบผูใช้ไฟฟ้ าทีใช้สายส่งไฟฟ้ า ่ ั ้ ระดับชาติ นักลงทุนพัฒนาโครงการ เจ้าของเงินทุน และรัฐบาลของประเทศเจ้าของโครงการ ในขณะที ค่าเสียหายส่วนใหญ่จะตกไปอยูกบชุมชนริ มแม่นาโขงทียากจนและทีจะได้รับผลกระทบ ่ ั ํ . ผูคนประมาณ . ล้านคน ทํางานและใช้ชีวิตอยูภายในรัศมี กิโลเมตรของแม่นาโขงตอนล่าง ้ ่ ํ อาจจะไต้รับผลกระทบทังทางตรงและทางอ้อม . แผนการปฏิบัตการและงบประมาณ ิ แผนรวมการบริหารจัดการทรัพยากรนํา เป็ นแผนงานโครงการทังมาตรการไม่ใช้สิงก่อสร้างและ มาตรการใช้สิงก่อสร้าง เพือพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรนําแม่ทรัพยากรทีเกียวข้องตามเป้ าหมายที วางไว้ โดยแบ่งแผนรวมฯ ตามขนาดโครงการ พืนทีรับประโยชน์ และผลกระทบจากโครงการ ออกเป็ น ระดับ คือ โครงการระดับลุ่มนํา และโครงการระดับท้องถิน โครงการระดับลุ่มนํา เป็ นโครงการทีเมือพัฒนาแล้วจะสามารถแก้ไขปัญหาและมีพนทีได้รับ ื ประโยชน์หรื อเกียวข้องกับประชาชนจํานวนมากในระดับอําเภอ ระดับจังหวัด หรื ออยูระดับลุ่มนํา เป็ น ่
  • 15. โครงการขนาดใหญ่หรื อขนาดกลาง งบประมาณแต่ละโครงการค่อนข้างสูง ซึงส่วนใหญ่จะเป็ นโครงการที หน่วยงานต่างๆ ได้วางไว้ โดยโครงการระดับลุ่มนําหลักจะ เกียวข้องกับประชาชนดังแต่ ลุ่มนําสาขาขึนไป ส่วนโครงการระดับลุ่มนําสาขา จะเกียวข้องกับประชาชนใน ระดับตังแต่ ตําบลขึนไป โครงการระดับท้องถิน เป็ นโครงการทีเมือพัฒนาแล้วจะสามารถแก้ไขปัญหาและเกียวข้องกับ ประชาชนในระดับหมู่บานหรื อระดับตําบล ซึงส่วนใหญ่เป็ นโครงการทีเสนอ โดยผูเ้ ข้าร่ วมประชุมกลุ่มย่อย ้ ได้แก่ ตัวแทนผูใช้นา ผูมีส่วนได้ส่วนเสียในพืนที คณะทํางานระดับอําเภอ ตําบล เป็ นต้น โครงการระดับ ้ ํ ้ ท้องถินนี จะช่วยแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและปัญหาเร่ งด่วนของท้องถินได้ สรุป สถานการณ์นาในลุ่มแม่นาโขงในเขตพืนทีจังหวัดเลย รวมทังปัญหาทีเกียวเนืองกับทรัพยากรนําที ํ ํ ได้กล่าวมา แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าในการกําหนดวิธีการจัดการนําแบบบูรณาการ การดําเนินแผนงาน และโครงการ ในการแก้ไขปัญหาการบริ หารจัดการนํานัน จําเป็ นจะต้องพิจารณาทังในระดับมหภาค คือ การ ทําความตกลงและการจัดสรรผลประโยชน์เกียวกับนําในลุมนํา รวมทังประเทศเพือนบ้านทีเกียวข้อง เช่น ่ การทําความตกลงในการบริ หารและการใช้นาในแม่นาโขงซึงเป็ นแม่นานานาชาติ และขณะนี จีนได้ ํ ํ ํ พัฒนาการก่อสร้างเขือนและการประมงในแม่นาโขงเป็ นจํานวนมาก ซึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อไทย ลาว ํ กัมพูชา และเวียดนาม ส่วนในประเทศการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจทังทางด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการบริ การ โดยเฉพาะอย่างยิงในการท่องเทียว จะต้องมีความสอดคล้องและประสานกัน อย่างใกล้ชิดระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทังภาครัฐและเอกชน เพือก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การบริ หารจัดการทรัพยากรนําอย่างยังยืน และเสริ มสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนในท้องถินอย่างจริ งจัง เอกสารอ้างอิง โครงการฟื นฟูนิเวศน์ในภูมภาคแม่นาโขง(TERRA). เขือนไซยะบุรี : ข้ อเท็จจริงและข้ อวิพากษ์ วจารณ์. ิ ํ ิ มกราคม . คณะทํางานเพือการวางแผนพัฒนาลุ่มนํา. คณะกรรมการลุมนําโขงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. รายงานข้ อมูล ่ พืนทีลุ่มนําย่อย T( T Sub-area Profile ). ธันวาคม ไพฑรู ย ์ ป้ องนารา. ความน่ าจะเป็ นในการบริหารจัดการนําเพือเกษตรกรไทย. เอกสารประกอบการประชุม คณะกรรมการลุ่มนําโขง(ตะวันออกเฉียงเหนือ). ๕ เมษายน . มนตรี จันทวงศ์. การศึกษาผลกระทบภาพรวมโครงการเขือนบนแม่นําโขงสายหลัก. เอกสารประกอบการ ประชุมคณะกรรมการลุ่มนําโขง(ตะวันออกเฉียงเหนือ) ณ ห้องประชุมเทศบาลตําบลเชียงคาน. มกราคม . บริ ษท ชันยู คอนซัลแตนท์ส (ประเทศไทย) จํากัด บริ ษท แมคโคร คอนซัลแตนท์ จํากัด บริ ษท เทสโก้ จํากัด ั ั ั บริ ษท ไทยดีชีไอ จํากัด และบริ ษท เซ้าท์อิสท์เอเชียเทคโนโลยี จํากัด. โครงการจัดทําแผนรวม ั ั การบริหารจัดการทรัพยากรนําในพืนทีลุ่มนําโขง(ตะวันออกเฉียงเหนือ). เอกสาร ประกอบการประชุมคณะกรรมการลุ่มนําโขง(ตะวันออกเฉียงเหนือ).
  • 16. ส่วนประสานและบริ หารจัดการลุ่มนําโขงส่วนที สํานักงานทรัพยากรนําภาค กรมทรัพยากรนํา. เอกสาร ประกอบการประชุมเชิงปฏิบตการเพือจัดทําแผนบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มนําแบบบูรณา ั ิ การลุ่มนําโขง(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)และแผนปฏิบัตการ ปี ิ . ณ โรงแรมเลยพาเลซ อําเภอเมือง จังหวัดเลย. กรกฎาคม .