SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
มาตรฐานการ
ปฏิบัติงานด้าน
การผสม และจ่าย
ยาเคมีบำาบัด
นศ.ภ.เศรษฐิญานี ดวงใจ
นักศึกษาเภสัชศาสตร์
LOGO
มาตรฐานที่ 1 บุคลากร
มาตรฐานที่ 2 สถานที่และสิ่งอำานวย
ความสะดวก
มาตรฐานที่ 3 วิธีผสมยาเคมีบำาบัด
มาตรฐานที่ 4 การกำาจัดขยะปน
เปื้อนยาเคมีบำาบัด และการจัดการ
เมื่อยาหก หรือตกแตกมาตรฐานที่ 5 การจ่ายยาเคมีบำาบัด
มาตรฐานที่ 1 บุคคล
บุคลากรผู้ปฏิบัติงานผสมยาเคมีบำาบัดและบุคลากร
สนับสนุน ทุกคนต้องได้รับการฝึกอบรมเพื่อให้
เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน
บุคลากรผู้ปฏิบัติงานผสมยาเคมีบำาบัดต้องได้รับ
การประเมินความชำานาญในการปฏิบัติงานผสม
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ทุกคนต้องได้รับการตรวจสุขภาพพื้นฐานก่อน
เข้าทำางานในหน่วยผสมยาเคมีบำาบัด และตรวจซำ้า
ทุก 12 เดือน
มาตรฐานที่ 2 สถานที่และสิ่งอำานวยคว
สถานที่
แยกออกมาเป็นสัดส่วน จัดทำาระบบถ่ายเทและความเย็นของอากาศ มี
แสงสว่างพอเพียง แต่แสงแดดส่องไม่ถึง
มีห้องเก็บผลิตภัณฑ์ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่เตรียมขึ้นแล้ว ห้องนี้ควรอยู่ติด
กับห้องผสมยาเคมีบำาบัด และมี pass box สำาหรับส่งอุปกรณ์
มีห้องเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย โดยควรอยู่ติดกับห้องผสมยาเคมีบำาบัด
มีห้องผสมยาเคมีบำาบัด เป็นห้องสะอาด class 100,000 เป็นอย่างน้อย
ความดันอากาศภายในห้องควรตำ่ากว่าภายนอกห้อง (negative
pressure)
มาตรฐานที่ 2 สถานที่และสิ่งอำานวยคว
สิ่งอำานวยความสะดวก
ห้องเก็บผลิตภัณฑ์ควรมีชั้นสำาหรับวางผลิตภัณฑ์และ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการผสมยา มีตู้เย็น 2-8 องศาเซลเซียส
และมีระบบการจัดเก็บที่ดี โดยเป็นแบบ “ –เข้าก่อน ออก
”ก่อน
ห้องเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย ควรมีชั้นวางชุดสะอาด หมวก
คลุมผม ผ้าปิดจมูกและปาก ชั้นวางรองเท้า อ่างล้างมือ
พร้อมสบู่เหลว ถังที่ปิดมิดชิดสำาหรับใส่เครื่องแต่งกายใช้
แล้ว
ห้องผสมยาเคมีบำาบัดต้องมีตู้ปลอดเชื้อที่ให้อากาศสะอาด
class 100 ที่สามารถป้องกันอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานและม
ความดันอากาศภายในตู้ตำ่ากว่านอกตู้ โดยอย่างน้อยต้อง
มาตรฐานที่ 3 วิธีผสมยาเคม
คนิคปลอดเชื้อและเทคนิคการผสม
มีการล้างมือและแขนอย่างถูกต้องตามเทคนิค
ปลอดเชื้อ
มีการแต่งกายด้วยชุดสะอาด ปราศจากเชื้อ
ทำาการผสมด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ
มีระบบตรวจสอบยาเคมีบำาบัดที่ผสมขึ้นในฝ่าย
เภสัชกรรม
มาตรฐานที่ 4 การกำาจัดขยะปนเปื้อนยาเ
และการจัดการเมื่อยาหก หรือตกแตก
รจัดเก็บขยะปนเปื้อนยาเคมีบำาบัด
จัดให้มีบริเวณสำาหรับวางถังใส่ขยะ โดยให้แยก
จากบริเวณอื่น มีการติดป้ายอย่างชัดเจน
ถังและถุงที่ใส่ขยะปนเปื้อนยาเคมีบำาบัด ต้องเป็น
สีที่แตกต่างไปจากถังขยะและถุงขยะที่ใช้ทั่วไป
มาตรฐานที่ 4 การกำาจัดขยะปนเปื้อนยาเ
และการจัดการเมื่อยาหก หรือตกแตก
ารกำาจัดขยะปนเปื้อนยาเคมีบำาบัด
ทิ้ง vial ampule เข็ม กระบอกฉีดยา ลงในขยะที่ปิดมิดชิด ติด
ฉลากชัดเจนว่าเป็นถังสำาหรับทิ้งขยะปนเปื้อนยาเคมีบำาบัด
ทำาการกำาจัดขยะปนเปื้อนยาเคมีบำาบัด โดยการเผาที่อุณหภูมิไม่น้อย
กว่า 1,000 องศาเซลเซียส ห้ามนำาขยะปนเปื้อนมาเคมีบำาบัด
ไปฝังในดิน
มาตรฐานที่ 4 การกำาจัดขยะปนเปื้อนยาเ
และการจัดการเมื่อยาหก หรือตกแตก
จัดการเมื่อยาเคมีบำาบัดหกหรือตกแตก
จัดอบรมให้มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการ
จัดการกับยาเคมีบำาบัดเมื่อยาเคมีบำาบัดหกหรือ
ตกแตก พร้อมทั้งมีการฝึกซ้อมใช้ spill kit
จัดให้มี spill kit เมื่อยาเคมีบำาบัดหกหรือตก
แตก โดยจัดให้มีไว้ในสถานที่ที่เป็นคลังยาและ
หน่วยผสมยาเคมีบำาบัด
ต้องดูแลวัสดุอุปกรณ์ใน spill kit ให้อยู่ใน
สภาพพร้อมใช้เสมอ
จัดให้มีชุดปฐมพยาบาลอยู่คู่กับ spill kit
มาตรฐานที่ 5 การจ่ายยาเคม
แจ้งพยาบาลให้คอยสังเกตสภาพของผลิตภัณฑ์ใน
ระหว่างที่ให้แก่ผู้ป่วยว่ายังคงมีลักษณะใส ไม่มีตะกอน สี
หรือฟองอากาศ หากมีความผิดปกติ ต้องหยุดการให้แก่ผู้
ป่วยทันที
ยาเคมีที่เป็นเม็ดหรือแคปซูลต้องบรรจุอยู่ในแผง และต้อง
มีขนาดความแรงที่พอดีกับขนาดยาที่ต้องการให้แก่ผู้ป่วย
หากเป็นยานำ้าต้องบรรจุอยู่ในขวดพร้อมใช้ชนิดรับ
ประทานเพียงหนึ่งครั้ง
มาตรฐานที่ 5 การจ่ายยาเคม
ในกรณีที่มีการผสมยาเคมีบำาบัดเพื่อให้แก่ผู้ป่วย ยาที่
ผสมเสร็จแล้วให้นำาส่งไปยังหอผู้ป่วยทันที และต้องอยู่
ในรูปแบบพร้อมใช้สำาหรับการใช้หนึ่งครั้ง
ยาเคมีบำาบัดที่ผสมขึ้น ต้องใส่ในภาชนะปิดมิดชิดที่ติด
ฉลากแสดงว่าบรรจุยาเคมีบำาบัดอยู่ภายใน และนำาส่ง
ไปยังหอผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
คนงานที่นำายาไปส่งต้องได้รับการฝึกอบรมให้
ระมัดระวังในการขนส่งยาเคมีบำาบัด
กระบวนการเตรียมยาเคมี
บำาบัด
การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ก่อน
เตรียมยาเคมีบำาบัด
เตรียมขวด
สารละลายติด
ฉลาก, ยา,
syringe, เข็ม,
set NSS หรือ
D5W
ตู้ปลอดเชื้อสำาหรับผสมยาเคมี
บำาบัด
• ควรเลือกใช้ตู้ปลอดเชื้อชนิดความดันของ
อากาศในตู้เป็นลบ
• และเป็น biological safety cabinet ที่มีลม
ไหลเป็นระนาบแนวตั้ง
• และต้องผ่านการกรองด้วย HEPA filter ก่อน
ลงสู่พื้นผิวการทำางาน (BSC class II) และผ่าน
การกรองออกนอกตู้อีกครั้งด้วย HEPA filter
• หรือเลือกใช้ตู้ปลอดเชื้อชนิดระบบปิดที่มี
barrier (BSC class III หรือ Isolator) ซึ่งมี
BSC class II, type A
BSC class II, type B1
BSC class II, type B2
BSC class II, type B3
BSC class III
การทำาความสะอาดยาเคมี
บำาบัดเมื่อมีการหก ตกแตก และ
การทำาลายตัวยาและวัสดุที่ปน
เปื้อนยา
References
• กลุ่มเภสัชกรสาขาโรคมะเร็ง. มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ด้านการบริการผสมและจ่ายยาเคมีบำาบัด. คู่มือ
เภสัชกร: การผสมยาเคมีบำาบัด. 2550: 1-8.
• U.S. Department of Health and Human
services, public health service, center for
disease control and prevention and national
institutes of health. Primary containment for
biohazard: selection, installation and use of
biological safety cabinets, 2nd
ed. 2000.
• บุษบา จินดาวิจักษณ์, สถานที่และตู้ปลอดเชื้อสำาหรับ
การผสมยาเคมีบำาบัด. คู่มือเภสัชกร: การผสมยาเคมี
ThankYou

More Related Content

What's hot

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐtumetr1
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...Vorawut Wongumpornpinit
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดJumpon Utta
 

What's hot (20)

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
 

Viewers also liked

เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012Jumpon Utta
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital Parinya Damrongpokkapun
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
Side effects of chemotherapy
Side effects of chemotherapy Side effects of chemotherapy
Side effects of chemotherapy Pratima Patil
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
Management of chemotherapy complications
Management of chemotherapy complicationsManagement of chemotherapy complications
Management of chemotherapy complicationssalaheldin abusin
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
Quality control tests for parenterals ppt
Quality  control  tests  for  parenterals pptQuality  control  tests  for  parenterals ppt
Quality control tests for parenterals pptsuraj p rajan
 

Viewers also liked (16)

เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
Side effects of chemotherapy
Side effects of chemotherapy Side effects of chemotherapy
Side effects of chemotherapy
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Management of chemotherapy complications
Management of chemotherapy complicationsManagement of chemotherapy complications
Management of chemotherapy complications
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Quality control tests for parenterals ppt
Quality  control  tests  for  parenterals pptQuality  control  tests  for  parenterals ppt
Quality control tests for parenterals ppt
 

มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด

Editor's Notes

  1. - บุคลากรที่ควรถูกตัดออกจากการมีหน้าที่เตรียมยาเคมีบำบัด ได้แก่ หญิงที่ตั้งครรภ์, ให้นมบุตรหรือวางแผนที่จะมีบุตร และบุคลากรที่ได้รับการรักษาด้วยยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressive therapy) - บุคลากรที่เตรียมยาเคมีบำบัด ต้องได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง และถ้ามีการได้รับหรือสัมผัสยาทางผิวหนังหรือยาซึมผ่านผิวหนังเป็นปริมาณมาก ต้องได้รับการตรวจอย่างใกล้ชิดต่อไปและต้องบันทึกเป็นข้อมูลเก็บไว้ - บุคลากรที่เตรียมยาเคมีบำบัด ต้องมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนให้เหมาะสมกับปริมาณงาน