SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
KNOWLEDGE MANAGEMENT
            by
        SMEfriend
    Sara Buri, Thailand
What is KM?
Knowledge Management is
              “The process through which
   organizations generate value from their
intellectual and knowledge-based assets”

        ความหมายจาก Knowledge Management Research Center

                                        Yostanun Onsri. SMEfriend
ความหมายของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ คือ
กระบวนการในการจัดการเพืFอให้ผทีFต้องการใช้
                                  ู้
ความรู้ได้รบความรู้ทีFต้องการในเวลาทีFต้องการ ทําให้
           ั
สามารถนําความรู้ทีFได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ทีFสงสุด
                                               ู
ต่อองค์กร



                                      Yostanun Onsri. SMEfriend
ประเภทของความรู้
ความรู้ (Knowledge) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. ความรู้ทีFฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge)
       เป็ นความรู้ทีFได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์
หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคล ทีFไม่สามารถ
ถ่ายทอดออกมาเป็ นคําพูดหรือลายลักษณ์ อกษรได้
                                           ั
โดยง่าย เช่น ทักษะในการทํางาน งานฝี มือ หรือการ
คิดเชิงวิเคราะห์
                                    Yostanun Onsri. SMEfriend
ประเภทของความรู้
ความรู้ (Knowledge) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
2. ความรู้ทีFชดแจ้ง (Explicit Knowledge)
              ั
      เป็ นความรู้ทีFสามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดย
ผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็ นลายลักษณ์ อกษร
                                             ั
ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ


                                    Yostanun Onsri. SMEfriend
ประเภทของความรู้
ความรู้ (Knowledge) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
                          ความรู้ทีFชดแจ้งมีอยู่อย่างเล็กน้ อย
                                        ั
                          และจํากัด เปรียบเสมือนภูเขานํhาแข็ง
                          ทีFพ้นนํhาขึนมา สามารถมองเห็นได้
                                      h


                          ความรู้ทีFฝังอยู่ในตัวคนมีอยู่มากมาย
                          เปรียบเสมือนภูเขานํhาแข็งทีFอยู่ใต้นํhา
                          ซึFงมีขนาดใหญ่มหาศาล ไม่สามารถ
                          คาดเดาขนาดได้

                                          Yostanun Onsri. SMEfriend
ทีFมาของความรู้
ลําดับขันของการพัฒนาเป็ นความรู้
        h

                 การเข้าถึงและแลกเปลีFยนความรู้

         จัดหมวดหมู่ข้อมูลทีFได้มาเป็ นองค์ความรู้องค์กร


         รวบรวมข้อมูลและรายละเอียดทีFกระจัดกระจาย


                                                  Yostanun Onsri. SMEfriend
แหล่งความรู้ในองค์กร




จากผลวิจยของ Delphi พบว่า แหล่งข้อมูลความรูส่วนใหญ่ถึง
            ั                                ้
42% อยู่ทีFพนักงาน ดังนันการเน้ นการจัดการความรูจากคน
                        h                      ้
ถือเป็ นสิFงสําคัญ
                                        Yostanun Onsri. SMEfriend
แหล่งความรู้ในองค์กร




จากผลวิจยของ Delphi พบว่า การถ่ายโอนความทีFง่ายทีFสดคือ
        ั                                          ุ
การเผยแพร่ความรูโดยประสบการณ์ของคนในองค์กร (52%)
                ้
                                        Yostanun Onsri. SMEfriend
ระดับของความรู้
ระดับของความรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ
1. ความรูเชิงทฤษฏี (Know-What)
            ้
        เป็ นความรูเชิงข้อเท็จจริง รูอะไร เป็ นอะไร จะพบใน
                  ้                 ้
ผูทีFสาเร็จการศึกษามาใหม่ๆ ทีFมีความรูโดยเฉพาะความรูทีF
  ้ ํ                                     ้              ้
จํามาได้จากความรูชดแจ้งซึFงได้จากการได้เรียนมาก แต่
                    ้ ั
เวลาทํางาน ก็จะไม่มนใจ มักจะปรึกษารุนพีFก่อน
                        ัF                  ่


                                           Yostanun Onsri. SMEfriend
ระดับของความรู้
ระดับของความรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ
2. ความรูเชิงทฤษฏี และเชิงบริบท (Know-How)
             ้
       เป็ นความรูเชืFอมโยงกับโลกของความเป็ นจริง
                  ้
ภายใต้สภาพความเป็ นจริงทีFซบซ้อนสามารถนําเอาความรู้
                              ั
ชัดแจ้งทีFได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเองได้ มักพบ
ในคนทีFทางานไปหลายๆปี จนเกิดความรูฝังลึกทีFเป็ นทักษะ
           ํ                          ้
หรือประสบการณ์มากขึน    h

                                       Yostanun Onsri. SMEfriend
ระดับของความรู้
ระดับของความรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ
3. ความรูในระดับทีFอธิบายเหตุผล (Know-Why)
        ้
        เป็ นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรืFองราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ
ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาทีFซบซ้อนและนําประสบการณ์มา
                                    ั
แลกเปลีFยนเรียนรู้กบผูอืFน เป็ นผูทางานมาระยะหนึF งแล้วเกิด
                     ั ้         ้ ํ
ความรู้ฝงลึกสามารถอดความรู้ฝงลึกของตนเองมาแลกเปลีFยนกับ
          ั                       ั
ผูอืFนหรือถ่ายทอดให้ผอืFนได้พร้อมทังรับเอาความรู้จากผูอืFนไปปรับ
 ้                      ู้            h                ้
ใช้ในบริบทของตนเองได้

                                               Yostanun Onsri. SMEfriend
ระดับของความรู้
ระดับของความรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ
4. ความรูในระดับคุณค่า ความเชืFอ (Care-Why)
           ้
       เป็ นความรูในลักษณะของความคิดริเริFมสร้างสรรค์ทีF
                  ้
ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็ นผูทีFสามารถสกัด ประมวล
                                  ้
วิเคราะห์ความรูทีFตนเองมีอยู่กบความรูทีFตนเองได้รบมา
                ้             ั       ้          ั
สร้างเป็ นองค์ความรูใหม่ขึนมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือ
                    ้     h
ทฤษฏี ใหม่หรือนวัตกรรม ขึนมาใช้ในการทํางานได้
                            h

                                         Yostanun Onsri. SMEfriend
ส่วนประกอบทีFสาคัญ
              ํ
ส่วนประกอบสําคัญ “การจัดการความรู้” (4 Keys)
1. เนืh อหา (Content) ซึFงมีอยู่กระจัดกระจายในองค์กร
2. คน (People) ซึFงแต่ละคนจะมีความรู้ทีFแตกต่างกัน
3. กระบวนการ (Process) เป็ นการบริหารจัดการเพืFอ
นําแหล่งความรู้ไปสู่ผใช้
                       ู้
4. เทคโนโลยี (Technology) การนําเครืFองมือมาใช้ให้
เกิดความสะดวกในการค้นหาความรู้
                                       Yostanun Onsri. SMEfriend
เหตุผลต้องมีการจัดการความรู้
1. ลูกค้า (Customer) การพัฒนาสินค้าและบริการทีF
   สามารถตอบสนองได้ตรงหรือเกินความต้องการ
   ของลูกค้าทีFเปลีFยนแปลงได้ตลอดเวลา
2. การเปลีFยนแปลงภายนอก (Change) การ
   เปลีFยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจ สังคมและ
   การเมืองทําให้องค์กรต้องวิเคราะห์ข้อมูลเพืFอ
   พร้อมต่อการเปลีFยนแปลงตลอดเวลา
                                   Yostanun Onsri. SMEfriend
เหตุผลต้องมีการจัดการความรู้
3. การแข่งขัน (Competition) การรวบรวมและ
วิเคราะห์จดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคามของ
          ุ
องค์กรอยู่ตลอดเวลาจะทําให้องค์กรได้เปรียบคู่
แข่งขัน




                                  Yostanun Onsri. SMEfriend
ประโยชน์ ของการจัดการความรู้
1. ปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิFมผลผลิต
2. สร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ และส่งเสริมการ
แลกเปลีFยนความรูอย่างเต็มทีF
                  ้
3. เพิFมคุณภาพและลดรอบเวลาการให้บริการ
4. ลดค่าใช้จ่าย โดยกําจัดกระบวนการทีFไม่ก่อให้เกิดคุณค่า
กับงาน
5. ให้ความสําคัญกับความรูของพนักงานและให้
                          ้
ค่าตอบแทนทีFเหมาะสม
                                          Yostanun Onsri. SMEfriend
ทฤษฎีการจัดการความรู้
ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral)
ของ Nonaka & Takeuchi
        เป็ นทฤษฎีทีFอธิบายการเปลีFยนแปลงของ Explicit
Knowledge และ Tacit Knowledge แบบกลับไปกลับมาจน
เกิดเป็ นองค์ความรูใหม่ๆไม่หยุดนิFงจนเป็ นวงจรความรู้
                     ้
ขึนมา
  h


                                        Yostanun Onsri. SMEfriend
ทฤษฎีการจัดการความรู้
ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model




                                       Yostanun Onsri. SMEfriend
ทฤษฎีการจัดการความรู้
ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model
1. Socialization
        เป็ นการแลกเปลีFยนความรูจาก Tacit Knowledge
                               ้
ไปสู่ Tacit Knowledge หรือ ความรูจากคนสู่คน โดยเป็ น
                                 ้
การแลกเปลีFยนประสบการณ์ตรงของผูถ่ายทอด โดยอาจมี
                                    ้
ลักษณะแบบไม่เป็ นทางการ เช่น การพูดคุยแบ่งปันประสบ
กาณ์ วิธีการแก้ปัญหา การสอนงานระหว่างหัวหน้ าและ
ลูกน้ อง
                                       Yostanun Onsri. SMEfriend
ทฤษฎีการจัดการความรู้
ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model
2. Externalization
       เป็ นการดึงความรูจาก Tacit Knowledge ออกมาเป็ น
                       ้
Explicit Knowledge หรือการนําประสบการณ์ความรูจาก  ้
บุคคลถ่ายทอดออกเป็ นตัวหนังสือ เช่น คู่มือ ตํารา เอกสาร
ประกอบการทํางานต่างๆ



                                         Yostanun Onsri. SMEfriend
ทฤษฎีการจัดการความรู้
ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model
3. Combination
       เป็ นการนําความรูจาก Explicit Knowledge ออกมา
                        ้
เป็ น Explicit Knowledge หรือการนําความรูจากตํารา
                                         ้
หนังสือต่างๆ มาพัฒนาเพิFมเติมความรูอืFนๆออกเป็ นตํารา
                                      ้
หนังสือใหม่ๆ



                                        Yostanun Onsri. SMEfriend
ทฤษฎีการจัดการความรู้
ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model
4. Internalization
        เป็ นการนําความรูจาก Explicit Knowledge กลับไป
                        ้
เป็ น Tacit Knowledge หรือการนําความรูจากตํารา หนังสือ
                                        ้
ต่างๆกลับเข้าไปเป็ นความรูของแต่ละบุคคล เช่น การอ่าน
                            ้
คู่มือการทํางานและนําไปทํางานจริงจนเกิดเป็ น
ประสบการณ์ตรงใหม่ๆขึนมา   h


                                        Yostanun Onsri. SMEfriend
กรอบแนวคิดการจัดการความรู้
แผนผังอิชิคะวะแผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa Diagram)
หรือแผงผังก้างปลา (หรือทูน่าหรือตัวแบบปลา
ตะเพียน)
เป็ นกรอบแนวคิดอย่างง่าย
ในการจัดการความรู้ โดยให้
การจัดการความรู้เปรียบเสมือนปลา
ซึFงประด้วยส่วนหัว ลําตัว และหาง


                                   Yostanun Onsri. SMEfriend
กรอบแนวคิดการจัดการความรู้
แผนผังอิชิคะวะแผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa Diagram)
1. ส่วนหัวและตา (Knowledge Vision - KV)
       มองว่าองค์กรกําลังจะไปทางไหน ซึFงต้องตอบให้ได้ว่า "ทํา
การจัดการความรู้หรือ KM ไปเพืFออะไร"




                                              Yostanun Onsri. SMEfriend
กรอบแนวคิดการจัดการความรู้
แผนผังอิชิคะวะแผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa Diagram)
2. ส่วนกลางลําตัว (Knowledge Sharing - KS)
         ส่วนทีFเป็ นหัวใจให้ความความสําคัญกับการแลกเปลีFยน
เรียนรู้ช่วยเหลือ เกือกูลกันและกัน
                      h




                                              Yostanun Onsri. SMEfriend
กรอบแนวคิดการจัดการความรู้
แผนผังอิชิคะวะแผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa Diagram)
3. ส่วนหาง (Knowledge Assets - KA)
       คือ สร้างคลังความรู้ เชืFอโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ




                                                 Yostanun Onsri. SMEfriend
ขันตอนการจัดการความรู้
  h
ขันตอนการจัดการความรู้ (KM Process)
  h
1. Knowledge Identification
       องค์กรจําเป็ นต้องมีการกําหนดวิสยทัศน์ พันธะกิจ
                                         ั
เป้ าหมายขององค์กรและประเมินความรูปัจจุบนทีFมีอยู่ โดย
                                       ้    ั
ประเมินว่าสามารถตอบสนองวิสยทัศน์ พันธะกิจและ
                                 ั
เป้ าหมายขององค์กรได้หรือไม่



                                        Yostanun Onsri. SMEfriend
ขันตอนการจัดการความรู้
  h
ขันตอนการจัดการความรู้ (KM Process)
   h
2. Knowledge Creation and Acquisition
       สร้างและแสวงหาความรูทีFมีอยู่ภายนอกและภายใน
                              ้
ทีFกระจัดกระจายเพืFอให้ตรงกับความต้องการ

3. Knowledge Organization
      แบ่งชนิดและประเภทความรู้ จัดทําระบบให้ง่ายและ
สะดวกในการสืบค้นและใช้งาน
                                      Yostanun Onsri. SMEfriend
ขันตอนการจัดการความรู้
  h
ขันตอนการจัดการความรู้ (KM Process)
  h
4. Knowledge Codification and Refinement
      จัดรูปแบบเอกสารให้ได้ตามมาตรฐานขององค์กร
และปรับปรุงให้ทนสมัยและตรงความต้องการ
               ั

5. Knowledge Access
      สามารถเข้าถึงความรูได้ทุกทีFทุกเวลาอย่างสะดวก
                        ้
รวดเร็ว
                                       Yostanun Onsri. SMEfriend
ขันตอนการจัดการความรู้
  h
ขันตอนการจัดการความรู้ (KM Process)
  h
6. Knowledge Sharing
      แลกเปลีFยนความรูจากประสบการณ์เป็ นลายลักษณ์
                     ้
อักษรและการถ่ายทอดจากคนสู่คนในองค์กร

7. Learning
       นําความรูไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาและ
               ้
ปรับปรุงองค์กร
                                       Yostanun Onsri. SMEfriend
แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้
1. กําหนดให้มีหวหน้ าคณะทํางาน (Chief Knowledge
                ั
Officer) หรือสร้างทีมงานในแต่ละสาขามาร่วมกันพัฒนา
กระบวนการทํางาน
2. ระบุข้อมูลหรือความรูทีFต้องการใช้ตดสินใจให้ชดเจน
                       ้             ั         ั
3. จัดทําขันตอนการทํางาน (Work Flow) เพืFอพัฒนาการ
           h
ทํางาน โดยการสร้างความรู้ การรวบรวมและจัดเก็บเพืFอ
เชืFอมโยงไปยังผลลัพธ์โดยให้คนในองค์กรมีส่วนร่วมมาก
ขึนในการปรับปรุงขันตอนการทํางาน (Work Flow)
  h                 h
                                       Yostanun Onsri. SMEfriend
แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้
4. การสร้างและการถ่ายทอดความรูของบุคคลในองค์กรจะ
                                   ้
ช่วยแก้ปัญหาให้งานสําเร็จและมีประสิทธิภาพขึน
                                           h
5. พัฒนาศูนย์ข้อมูลโดยอาศัยทักษะการถ่ายทอดหรือการ
เคลืFอนย้ายความรู้
6. ทําระบบเครือข่ายผูเชีFยวชาญเพืFอการประสานงานความ
                     ้
ร่วมมือ และการส่งเสริมการใช้ความรูรวมกัน
                                     ้่



                                      Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศ
1. ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System, OAS)
   การจัดการงานเอกสาร คือ การจัดเตรียมเอกสารทีFเป็ นในการ
   ปฏิบติงานปกติ
       ั
   การจัดตารางการทํางาน คือ การจัดทําตารางเวลา การนัดหมาย
   การติดต่อสืFอสาร คือ การติดต่อสืFอสารภายในและภายนอก
   องค์กร
   การจัดการข้อมูล คือ การนําเอาข้อมูลต่างๆมาทําการวิเคราะห์

                                            Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศ
2. ระบบสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Work System,
KWS)
       เป็ นระบบสารสนเทศทีFใช้สนับสนุนการทํางานของบุคคลทีF
ทํางานด้านการสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Worker) ให้เป็ นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทังการคิดค้น ค้นคว้าและวิจย
                                   h                        ั




                                             Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศ
3. ระบบสนับสนุนการทํางานกลุ่ม (Group Collaboration System,
GCS)
       การใช้องค์ความรู้ร่วมกันในองค์กร ปัจจุบนการทํางานใน
                                                ั
องค์กรส่วนใหญ่เป็ นการทํางานร่วมกันเป็ นกลุ่ม บางครังเรียกว่า
                                                      h
Groupware จึงเป็ นระบบทีFทาให้เกิดประสิทธิภาพในการทํางาน
                              ํ
ร่วมกันเป็ นกลุ่ม ซึFงเป็ นการรวมเอาเทคโนโลยีด้านเครือข่าย
ฐานข้อมูลและอีเมลรวมเข้าด้วยกัน


                                              Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศ
4. เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence, AI)
       ทําหน้ าทีFในการจัดเก็บองค์ความรู้องค์กรและการนํามาใช้
ภายหลัง เป็ นระบบทีFพฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถทํางานแบบทีF
                      ั
ต้องใช้ปัญญาเหมือนมนุษย์ได้ เช่น หุ่นยนต์ การทําความเข้าใจ
ภาษาธรรมชาติ ระบบผูเชีFยวชาญและระบบฐานข้อมูลกรณี ศึกษา
                        ้




                                              Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
เทคโนโลยี
1. Business Intelligence
       ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจเพืFอเป็ นประโยชน์ กบ
                                                            ั
องค์กรเช่นเดียวกับการทํา e-Business เช่น นําข้อมูลทีFรวบรวมมา
ทังหมดจากรูปแบบต่างๆมาทําการ Mining เพืFอวิเคราะห์ข้อมูล
  h
เทคโนโลยีตรงนีh ได้แก่ OLAP หรือ Data Mining เป็ นต้น




                                             Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
เทคโนโลยี
2. Collaboration
        เป็ นการผสมผสานการใช้เครืFองมือหลายๆตัวเข้าด้วยกัน
ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น Excel Word และ Text File เนืF องจาก
ข้อมูลจํานวนมากถูกจัดเก็บในรูปแบบทีFต่างกันตามความ
เหมาะสม เช่น ข้อมูลนิFงหรือข้อมูลทีFต้องเปลีFยนแปลงตลอดเวลา
ย่อมใช้เครืFองมือในการจัดการทีFต่างกัน



                                             Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
เทคโนโลยี
3. Knowledge Transfer
       เป็ นวิธีการถ่ายทอดวิชาความรู้ในรูปแบบ e-Learning โดย
จะต้องทําให้ผใช้ระบบเข้าใจในข้อมูลเหล่านีh หรือหาวิธีการในการ
               ู้
ให้พนักงานใหม่สามารถเรียนรู้งานของพนักงานทีFออกไปได้อย่าง
รวดเร็ว




                                              Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
เทคโนโลยี
4. Knowledge Discovery
        เป็ นการหาวิธีทีFจะเข้าถึงส่วนต่างๆทีFไม่เคยได้มาก่อน ซึFง
ข้อมูลสําคัญบางอย่างอยู่ในรูปแบบ (Platform) ทีFสาหรับทุกคนหรือ
                                                    ํ
ถูกป้ องกันด้วยพาสเวิรด เช่น ระบบ SAP ดังนันจึงต้องหาวิธีการใน
                       ์                       h
การนําข้อมูลเหล่านีh ออกมาในรูปแบบทีFเข้าถึงได้ทุกคน




                                                 Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
เทคโนโลยี
5. Expertise Location
          ช่วยในการหาว่าบุคคลใดในองค์กรทีFมีความเชีFยวชาญใน
เรืFองใดๆ เนืF องจากการเก็บข้อมูลบุคคลในองค์กรและผลงานของ
คนๆนัน ย่อมสามารถวิเคราะห์ออกมาว่าใครถนัดเรืFองอะไร
        h




                                             Yostanun Onsri. SMEfriend
เครืFองมือการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสนับสนุน
1. เทคโนโลยีการสืFอสาร
      ช่วยให้บคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึน รวมถึง
               ุ                                h
สามารถติดต่อสืFอสารกับบุคคลอืFนได้
2. เทคโนโลยีการทํางานร่วมกัน
      ช่วยให้ประสานการทํางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ลดอุปสรรคในเรืFองระยะทาง
3. เทคโนโลยีการจัดเก็บ
      ช่วยในการจัดเก็บและจัดความรู้ต่างๆ
                                            Yostanun Onsri. SMEfriend
ปัญหาของการจัดการความรู้
1.   การถ่ายทอดความรูระหว่างบุคคลกับองค์กร เช่น การ
                         ้
     ไปอบรมสัมมนาภายนอกและไม่นําความรูทีFได้มา
                                             ้
     แบ่งปันให้กบพนักงานอืFนๆทราบ
                ั
2.   การจัดเก็บความรูไว้หลายแห่งและหลายรูปแบบ
                       ้
     กระจัดกระจายอยู่ในหน่ วยงานต่างๆ
3.   การไม่นําความรูทีFมีอยู่มาเพิFมความสามารถในการ
                     ้
     แข่งขันและไม่นํามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ กบ
                                                   ั
     องค์กร

                                      Yostanun Onsri. SMEfriend
ปัญหาของการจัดการความรู้
3.   การไม่มีความรูใหม่เกิดขึน เป็ นผลสืบเนืF องมาจาก
                   ้         h
     การไม่เก็บสะสมความรูเดิมๆอย่างเป็ นระบบ
                           ้
4.   การไม่นําความรูภายนอกมาใช้เพืFอปรับตัวให้เข้า
                     ้
     สถานการณ์ทีFเปลีFยนแปลง
5.   ความรูภายในและภายนอกองค์กรไม่สอดคล้องกับ
            ้
     งานทีFทาในปัจจุบน
              ํ        ั



                                         Yostanun Onsri. SMEfriend
END OF PRESENTATION

        SMEfriend 2012
               Yostanun Onsri. SMEfriend

More Related Content

What's hot

วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Somsiri Rattanarat
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 

What's hot (18)

วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
4 mat
4 mat4 mat
4 mat
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
Knowledge management
Knowledge managementKnowledge management
Knowledge management
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 

Similar to SMEfriend: KM

Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.ya035
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest031209
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้nongponthip10
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 

Similar to SMEfriend: KM (20)

Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 

More from SMEfriend

High Speed Railway Inform Thailand
High Speed Railway Inform ThailandHigh Speed Railway Inform Thailand
High Speed Railway Inform ThailandSMEfriend
 
Renovation before Banned: ปรับปรุงและออกแบบรีสอร์ทป้องกันยี้
Renovation before Banned: ปรับปรุงและออกแบบรีสอร์ทป้องกันยี้Renovation before Banned: ปรับปรุงและออกแบบรีสอร์ทป้องกันยี้
Renovation before Banned: ปรับปรุงและออกแบบรีสอร์ทป้องกันยี้SMEfriend
 
แนะนำ BOI Fair
แนะนำ BOI Fairแนะนำ BOI Fair
แนะนำ BOI FairSMEfriend
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยSMEfriend
 
SMEfriend: Product's life Cycle
SMEfriend: Product's life CycleSMEfriend: Product's life Cycle
SMEfriend: Product's life CycleSMEfriend
 
อบรมนายช่างเฌอร่า
อบรมนายช่างเฌอร่าอบรมนายช่างเฌอร่า
อบรมนายช่างเฌอร่าSMEfriend
 

More from SMEfriend (6)

High Speed Railway Inform Thailand
High Speed Railway Inform ThailandHigh Speed Railway Inform Thailand
High Speed Railway Inform Thailand
 
Renovation before Banned: ปรับปรุงและออกแบบรีสอร์ทป้องกันยี้
Renovation before Banned: ปรับปรุงและออกแบบรีสอร์ทป้องกันยี้Renovation before Banned: ปรับปรุงและออกแบบรีสอร์ทป้องกันยี้
Renovation before Banned: ปรับปรุงและออกแบบรีสอร์ทป้องกันยี้
 
แนะนำ BOI Fair
แนะนำ BOI Fairแนะนำ BOI Fair
แนะนำ BOI Fair
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
 
SMEfriend: Product's life Cycle
SMEfriend: Product's life CycleSMEfriend: Product's life Cycle
SMEfriend: Product's life Cycle
 
อบรมนายช่างเฌอร่า
อบรมนายช่างเฌอร่าอบรมนายช่างเฌอร่า
อบรมนายช่างเฌอร่า
 

SMEfriend: KM

  • 1. KNOWLEDGE MANAGEMENT by SMEfriend Sara Buri, Thailand
  • 2. What is KM? Knowledge Management is “The process through which organizations generate value from their intellectual and knowledge-based assets” ความหมายจาก Knowledge Management Research Center Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 3. ความหมายของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ คือ กระบวนการในการจัดการเพืFอให้ผทีFต้องการใช้ ู้ ความรู้ได้รบความรู้ทีFต้องการในเวลาทีFต้องการ ทําให้ ั สามารถนําความรู้ทีFได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ทีFสงสุด ู ต่อองค์กร Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 4. ประเภทของความรู้ ความรู้ (Knowledge) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 1. ความรู้ทีFฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็ นความรู้ทีFได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์ หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคล ทีFไม่สามารถ ถ่ายทอดออกมาเป็ นคําพูดหรือลายลักษณ์ อกษรได้ ั โดยง่าย เช่น ทักษะในการทํางาน งานฝี มือ หรือการ คิดเชิงวิเคราะห์ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 5. ประเภทของความรู้ ความรู้ (Knowledge) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 2. ความรู้ทีFชดแจ้ง (Explicit Knowledge) ั เป็ นความรู้ทีFสามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดย ผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็ นลายลักษณ์ อกษร ั ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 6. ประเภทของความรู้ ความรู้ (Knowledge) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ความรู้ทีFชดแจ้งมีอยู่อย่างเล็กน้ อย ั และจํากัด เปรียบเสมือนภูเขานํhาแข็ง ทีFพ้นนํhาขึนมา สามารถมองเห็นได้ h ความรู้ทีFฝังอยู่ในตัวคนมีอยู่มากมาย เปรียบเสมือนภูเขานํhาแข็งทีFอยู่ใต้นํhา ซึFงมีขนาดใหญ่มหาศาล ไม่สามารถ คาดเดาขนาดได้ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 7. ทีFมาของความรู้ ลําดับขันของการพัฒนาเป็ นความรู้ h การเข้าถึงและแลกเปลีFยนความรู้ จัดหมวดหมู่ข้อมูลทีFได้มาเป็ นองค์ความรู้องค์กร รวบรวมข้อมูลและรายละเอียดทีFกระจัดกระจาย Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 8. แหล่งความรู้ในองค์กร จากผลวิจยของ Delphi พบว่า แหล่งข้อมูลความรูส่วนใหญ่ถึง ั ้ 42% อยู่ทีFพนักงาน ดังนันการเน้ นการจัดการความรูจากคน h ้ ถือเป็ นสิFงสําคัญ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 9. แหล่งความรู้ในองค์กร จากผลวิจยของ Delphi พบว่า การถ่ายโอนความทีFง่ายทีFสดคือ ั ุ การเผยแพร่ความรูโดยประสบการณ์ของคนในองค์กร (52%) ้ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 10. ระดับของความรู้ ระดับของความรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ 1. ความรูเชิงทฤษฏี (Know-What) ้ เป็ นความรูเชิงข้อเท็จจริง รูอะไร เป็ นอะไร จะพบใน ้ ้ ผูทีFสาเร็จการศึกษามาใหม่ๆ ทีFมีความรูโดยเฉพาะความรูทีF ้ ํ ้ ้ จํามาได้จากความรูชดแจ้งซึFงได้จากการได้เรียนมาก แต่ ้ ั เวลาทํางาน ก็จะไม่มนใจ มักจะปรึกษารุนพีFก่อน ัF ่ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 11. ระดับของความรู้ ระดับของความรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ 2. ความรูเชิงทฤษฏี และเชิงบริบท (Know-How) ้ เป็ นความรูเชืFอมโยงกับโลกของความเป็ นจริง ้ ภายใต้สภาพความเป็ นจริงทีFซบซ้อนสามารถนําเอาความรู้ ั ชัดแจ้งทีFได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเองได้ มักพบ ในคนทีFทางานไปหลายๆปี จนเกิดความรูฝังลึกทีFเป็ นทักษะ ํ ้ หรือประสบการณ์มากขึน h Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 12. ระดับของความรู้ ระดับของความรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ 3. ความรูในระดับทีFอธิบายเหตุผล (Know-Why) ้ เป็ นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรืFองราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาทีFซบซ้อนและนําประสบการณ์มา ั แลกเปลีFยนเรียนรู้กบผูอืFน เป็ นผูทางานมาระยะหนึF งแล้วเกิด ั ้ ้ ํ ความรู้ฝงลึกสามารถอดความรู้ฝงลึกของตนเองมาแลกเปลีFยนกับ ั ั ผูอืFนหรือถ่ายทอดให้ผอืFนได้พร้อมทังรับเอาความรู้จากผูอืFนไปปรับ ้ ู้ h ้ ใช้ในบริบทของตนเองได้ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 13. ระดับของความรู้ ระดับของความรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ 4. ความรูในระดับคุณค่า ความเชืFอ (Care-Why) ้ เป็ นความรูในลักษณะของความคิดริเริFมสร้างสรรค์ทีF ้ ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็ นผูทีFสามารถสกัด ประมวล ้ วิเคราะห์ความรูทีFตนเองมีอยู่กบความรูทีFตนเองได้รบมา ้ ั ้ ั สร้างเป็ นองค์ความรูใหม่ขึนมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือ ้ h ทฤษฏี ใหม่หรือนวัตกรรม ขึนมาใช้ในการทํางานได้ h Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 14. ส่วนประกอบทีFสาคัญ ํ ส่วนประกอบสําคัญ “การจัดการความรู้” (4 Keys) 1. เนืh อหา (Content) ซึFงมีอยู่กระจัดกระจายในองค์กร 2. คน (People) ซึFงแต่ละคนจะมีความรู้ทีFแตกต่างกัน 3. กระบวนการ (Process) เป็ นการบริหารจัดการเพืFอ นําแหล่งความรู้ไปสู่ผใช้ ู้ 4. เทคโนโลยี (Technology) การนําเครืFองมือมาใช้ให้ เกิดความสะดวกในการค้นหาความรู้ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 15. เหตุผลต้องมีการจัดการความรู้ 1. ลูกค้า (Customer) การพัฒนาสินค้าและบริการทีF สามารถตอบสนองได้ตรงหรือเกินความต้องการ ของลูกค้าทีFเปลีFยนแปลงได้ตลอดเวลา 2. การเปลีFยนแปลงภายนอก (Change) การ เปลีFยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจ สังคมและ การเมืองทําให้องค์กรต้องวิเคราะห์ข้อมูลเพืFอ พร้อมต่อการเปลีFยนแปลงตลอดเวลา Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 16. เหตุผลต้องมีการจัดการความรู้ 3. การแข่งขัน (Competition) การรวบรวมและ วิเคราะห์จดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคามของ ุ องค์กรอยู่ตลอดเวลาจะทําให้องค์กรได้เปรียบคู่ แข่งขัน Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 17. ประโยชน์ ของการจัดการความรู้ 1. ปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิFมผลผลิต 2. สร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ และส่งเสริมการ แลกเปลีFยนความรูอย่างเต็มทีF ้ 3. เพิFมคุณภาพและลดรอบเวลาการให้บริการ 4. ลดค่าใช้จ่าย โดยกําจัดกระบวนการทีFไม่ก่อให้เกิดคุณค่า กับงาน 5. ให้ความสําคัญกับความรูของพนักงานและให้ ้ ค่าตอบแทนทีFเหมาะสม Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 18. ทฤษฎีการจัดการความรู้ ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) ของ Nonaka & Takeuchi เป็ นทฤษฎีทีFอธิบายการเปลีFยนแปลงของ Explicit Knowledge และ Tacit Knowledge แบบกลับไปกลับมาจน เกิดเป็ นองค์ความรูใหม่ๆไม่หยุดนิFงจนเป็ นวงจรความรู้ ้ ขึนมา h Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 20. ทฤษฎีการจัดการความรู้ ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model 1. Socialization เป็ นการแลกเปลีFยนความรูจาก Tacit Knowledge ้ ไปสู่ Tacit Knowledge หรือ ความรูจากคนสู่คน โดยเป็ น ้ การแลกเปลีFยนประสบการณ์ตรงของผูถ่ายทอด โดยอาจมี ้ ลักษณะแบบไม่เป็ นทางการ เช่น การพูดคุยแบ่งปันประสบ กาณ์ วิธีการแก้ปัญหา การสอนงานระหว่างหัวหน้ าและ ลูกน้ อง Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 21. ทฤษฎีการจัดการความรู้ ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model 2. Externalization เป็ นการดึงความรูจาก Tacit Knowledge ออกมาเป็ น ้ Explicit Knowledge หรือการนําประสบการณ์ความรูจาก ้ บุคคลถ่ายทอดออกเป็ นตัวหนังสือ เช่น คู่มือ ตํารา เอกสาร ประกอบการทํางานต่างๆ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 22. ทฤษฎีการจัดการความรู้ ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model 3. Combination เป็ นการนําความรูจาก Explicit Knowledge ออกมา ้ เป็ น Explicit Knowledge หรือการนําความรูจากตํารา ้ หนังสือต่างๆ มาพัฒนาเพิFมเติมความรูอืFนๆออกเป็ นตํารา ้ หนังสือใหม่ๆ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 23. ทฤษฎีการจัดการความรู้ ทฤษฎีวงจรความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model 4. Internalization เป็ นการนําความรูจาก Explicit Knowledge กลับไป ้ เป็ น Tacit Knowledge หรือการนําความรูจากตํารา หนังสือ ้ ต่างๆกลับเข้าไปเป็ นความรูของแต่ละบุคคล เช่น การอ่าน ้ คู่มือการทํางานและนําไปทํางานจริงจนเกิดเป็ น ประสบการณ์ตรงใหม่ๆขึนมา h Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 24. กรอบแนวคิดการจัดการความรู้ แผนผังอิชิคะวะแผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa Diagram) หรือแผงผังก้างปลา (หรือทูน่าหรือตัวแบบปลา ตะเพียน) เป็ นกรอบแนวคิดอย่างง่าย ในการจัดการความรู้ โดยให้ การจัดการความรู้เปรียบเสมือนปลา ซึFงประด้วยส่วนหัว ลําตัว และหาง Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 25. กรอบแนวคิดการจัดการความรู้ แผนผังอิชิคะวะแผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa Diagram) 1. ส่วนหัวและตา (Knowledge Vision - KV) มองว่าองค์กรกําลังจะไปทางไหน ซึFงต้องตอบให้ได้ว่า "ทํา การจัดการความรู้หรือ KM ไปเพืFออะไร" Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 26. กรอบแนวคิดการจัดการความรู้ แผนผังอิชิคะวะแผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa Diagram) 2. ส่วนกลางลําตัว (Knowledge Sharing - KS) ส่วนทีFเป็ นหัวใจให้ความความสําคัญกับการแลกเปลีFยน เรียนรู้ช่วยเหลือ เกือกูลกันและกัน h Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 27. กรอบแนวคิดการจัดการความรู้ แผนผังอิชิคะวะแผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa Diagram) 3. ส่วนหาง (Knowledge Assets - KA) คือ สร้างคลังความรู้ เชืFอโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 28. ขันตอนการจัดการความรู้ h ขันตอนการจัดการความรู้ (KM Process) h 1. Knowledge Identification องค์กรจําเป็ นต้องมีการกําหนดวิสยทัศน์ พันธะกิจ ั เป้ าหมายขององค์กรและประเมินความรูปัจจุบนทีFมีอยู่ โดย ้ ั ประเมินว่าสามารถตอบสนองวิสยทัศน์ พันธะกิจและ ั เป้ าหมายขององค์กรได้หรือไม่ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 29. ขันตอนการจัดการความรู้ h ขันตอนการจัดการความรู้ (KM Process) h 2. Knowledge Creation and Acquisition สร้างและแสวงหาความรูทีFมีอยู่ภายนอกและภายใน ้ ทีFกระจัดกระจายเพืFอให้ตรงกับความต้องการ 3. Knowledge Organization แบ่งชนิดและประเภทความรู้ จัดทําระบบให้ง่ายและ สะดวกในการสืบค้นและใช้งาน Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 30. ขันตอนการจัดการความรู้ h ขันตอนการจัดการความรู้ (KM Process) h 4. Knowledge Codification and Refinement จัดรูปแบบเอกสารให้ได้ตามมาตรฐานขององค์กร และปรับปรุงให้ทนสมัยและตรงความต้องการ ั 5. Knowledge Access สามารถเข้าถึงความรูได้ทุกทีFทุกเวลาอย่างสะดวก ้ รวดเร็ว Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 31. ขันตอนการจัดการความรู้ h ขันตอนการจัดการความรู้ (KM Process) h 6. Knowledge Sharing แลกเปลีFยนความรูจากประสบการณ์เป็ นลายลักษณ์ ้ อักษรและการถ่ายทอดจากคนสู่คนในองค์กร 7. Learning นําความรูไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาและ ้ ปรับปรุงองค์กร Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 32. แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ 1. กําหนดให้มีหวหน้ าคณะทํางาน (Chief Knowledge ั Officer) หรือสร้างทีมงานในแต่ละสาขามาร่วมกันพัฒนา กระบวนการทํางาน 2. ระบุข้อมูลหรือความรูทีFต้องการใช้ตดสินใจให้ชดเจน ้ ั ั 3. จัดทําขันตอนการทํางาน (Work Flow) เพืFอพัฒนาการ h ทํางาน โดยการสร้างความรู้ การรวบรวมและจัดเก็บเพืFอ เชืFอมโยงไปยังผลลัพธ์โดยให้คนในองค์กรมีส่วนร่วมมาก ขึนในการปรับปรุงขันตอนการทํางาน (Work Flow) h h Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 33. แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ 4. การสร้างและการถ่ายทอดความรูของบุคคลในองค์กรจะ ้ ช่วยแก้ปัญหาให้งานสําเร็จและมีประสิทธิภาพขึน h 5. พัฒนาศูนย์ข้อมูลโดยอาศัยทักษะการถ่ายทอดหรือการ เคลืFอนย้ายความรู้ 6. ทําระบบเครือข่ายผูเชีFยวชาญเพืFอการประสานงานความ ้ ร่วมมือ และการส่งเสริมการใช้ความรูรวมกัน ้่ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 34. เครืFองมือการจัดการความรู้ ระบบสารสนเทศ 1. ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System, OAS) การจัดการงานเอกสาร คือ การจัดเตรียมเอกสารทีFเป็ นในการ ปฏิบติงานปกติ ั การจัดตารางการทํางาน คือ การจัดทําตารางเวลา การนัดหมาย การติดต่อสืFอสาร คือ การติดต่อสืFอสารภายในและภายนอก องค์กร การจัดการข้อมูล คือ การนําเอาข้อมูลต่างๆมาทําการวิเคราะห์ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 35. เครืFองมือการจัดการความรู้ ระบบสารสนเทศ 2. ระบบสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Work System, KWS) เป็ นระบบสารสนเทศทีFใช้สนับสนุนการทํางานของบุคคลทีF ทํางานด้านการสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Worker) ให้เป็ นไป อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทังการคิดค้น ค้นคว้าและวิจย h ั Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 36. เครืFองมือการจัดการความรู้ ระบบสารสนเทศ 3. ระบบสนับสนุนการทํางานกลุ่ม (Group Collaboration System, GCS) การใช้องค์ความรู้ร่วมกันในองค์กร ปัจจุบนการทํางานใน ั องค์กรส่วนใหญ่เป็ นการทํางานร่วมกันเป็ นกลุ่ม บางครังเรียกว่า h Groupware จึงเป็ นระบบทีFทาให้เกิดประสิทธิภาพในการทํางาน ํ ร่วมกันเป็ นกลุ่ม ซึFงเป็ นการรวมเอาเทคโนโลยีด้านเครือข่าย ฐานข้อมูลและอีเมลรวมเข้าด้วยกัน Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 37. เครืFองมือการจัดการความรู้ ระบบสารสนเทศ 4. เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence, AI) ทําหน้ าทีFในการจัดเก็บองค์ความรู้องค์กรและการนํามาใช้ ภายหลัง เป็ นระบบทีFพฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถทํางานแบบทีF ั ต้องใช้ปัญญาเหมือนมนุษย์ได้ เช่น หุ่นยนต์ การทําความเข้าใจ ภาษาธรรมชาติ ระบบผูเชีFยวชาญและระบบฐานข้อมูลกรณี ศึกษา ้ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 38. เครืFองมือการจัดการความรู้ เทคโนโลยี 1. Business Intelligence ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจเพืFอเป็ นประโยชน์ กบ ั องค์กรเช่นเดียวกับการทํา e-Business เช่น นําข้อมูลทีFรวบรวมมา ทังหมดจากรูปแบบต่างๆมาทําการ Mining เพืFอวิเคราะห์ข้อมูล h เทคโนโลยีตรงนีh ได้แก่ OLAP หรือ Data Mining เป็ นต้น Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 39. เครืFองมือการจัดการความรู้ เทคโนโลยี 2. Collaboration เป็ นการผสมผสานการใช้เครืFองมือหลายๆตัวเข้าด้วยกัน ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น Excel Word และ Text File เนืF องจาก ข้อมูลจํานวนมากถูกจัดเก็บในรูปแบบทีFต่างกันตามความ เหมาะสม เช่น ข้อมูลนิFงหรือข้อมูลทีFต้องเปลีFยนแปลงตลอดเวลา ย่อมใช้เครืFองมือในการจัดการทีFต่างกัน Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 40. เครืFองมือการจัดการความรู้ เทคโนโลยี 3. Knowledge Transfer เป็ นวิธีการถ่ายทอดวิชาความรู้ในรูปแบบ e-Learning โดย จะต้องทําให้ผใช้ระบบเข้าใจในข้อมูลเหล่านีh หรือหาวิธีการในการ ู้ ให้พนักงานใหม่สามารถเรียนรู้งานของพนักงานทีFออกไปได้อย่าง รวดเร็ว Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 41. เครืFองมือการจัดการความรู้ เทคโนโลยี 4. Knowledge Discovery เป็ นการหาวิธีทีFจะเข้าถึงส่วนต่างๆทีFไม่เคยได้มาก่อน ซึFง ข้อมูลสําคัญบางอย่างอยู่ในรูปแบบ (Platform) ทีFสาหรับทุกคนหรือ ํ ถูกป้ องกันด้วยพาสเวิรด เช่น ระบบ SAP ดังนันจึงต้องหาวิธีการใน ์ h การนําข้อมูลเหล่านีh ออกมาในรูปแบบทีFเข้าถึงได้ทุกคน Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 42. เครืFองมือการจัดการความรู้ เทคโนโลยี 5. Expertise Location ช่วยในการหาว่าบุคคลใดในองค์กรทีFมีความเชีFยวชาญใน เรืFองใดๆ เนืF องจากการเก็บข้อมูลบุคคลในองค์กรและผลงานของ คนๆนัน ย่อมสามารถวิเคราะห์ออกมาว่าใครถนัดเรืFองอะไร h Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 43. เครืFองมือการจัดการความรู้ เทคโนโลยีสนับสนุน 1. เทคโนโลยีการสืFอสาร ช่วยให้บคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึน รวมถึง ุ h สามารถติดต่อสืFอสารกับบุคคลอืFนได้ 2. เทคโนโลยีการทํางานร่วมกัน ช่วยให้ประสานการทํางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดอุปสรรคในเรืFองระยะทาง 3. เทคโนโลยีการจัดเก็บ ช่วยในการจัดเก็บและจัดความรู้ต่างๆ Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 44. ปัญหาของการจัดการความรู้ 1. การถ่ายทอดความรูระหว่างบุคคลกับองค์กร เช่น การ ้ ไปอบรมสัมมนาภายนอกและไม่นําความรูทีFได้มา ้ แบ่งปันให้กบพนักงานอืFนๆทราบ ั 2. การจัดเก็บความรูไว้หลายแห่งและหลายรูปแบบ ้ กระจัดกระจายอยู่ในหน่ วยงานต่างๆ 3. การไม่นําความรูทีFมีอยู่มาเพิFมความสามารถในการ ้ แข่งขันและไม่นํามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ กบ ั องค์กร Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 45. ปัญหาของการจัดการความรู้ 3. การไม่มีความรูใหม่เกิดขึน เป็ นผลสืบเนืF องมาจาก ้ h การไม่เก็บสะสมความรูเดิมๆอย่างเป็ นระบบ ้ 4. การไม่นําความรูภายนอกมาใช้เพืFอปรับตัวให้เข้า ้ สถานการณ์ทีFเปลีFยนแปลง 5. ความรูภายในและภายนอกองค์กรไม่สอดคล้องกับ ้ งานทีFทาในปัจจุบน ํ ั Yostanun Onsri. SMEfriend
  • 46. END OF PRESENTATION SMEfriend 2012 Yostanun Onsri. SMEfriend