SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
จิตวิทยาจิตวิทยา
พัฒนาการพัฒนาการโดย นางสาวภวันตรีโดย นางสาวภวันตรี
ศรีดาดิษฐ์ศรีดาดิษฐ์
สาขาการสอนสาขาการสอน
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
Page  2
ความรู้ที่ได้
แหล่งศึกษาความรู้
จิตวิทยาจิตวิทยา
พัฒนาการพัฒนาการ
สะท้อนผลการเรียนรู้
แหล่งศึกษาความ
รู้หนังสือ
1. พื้นฐานกระบวนทัศน์ทางการศึกษา.
2. จิตวิทยาการศึกษา
Page  3
ความรู้ที่ได้รับ
1. จิตวิทยา
2. พัฒนาการ 4 ด้าน
- ด้านร่างกาย
- ด้านปัญญา
- ด้านจิตสังคม
- ด้านจริยธรรม
3. การจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับพัฒนาการ
Page  4
Page  5
ContentContent
พัฒนาการ (Development)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา (Psycholog
ด้านร่างกาย (Physical Developme
ด้านปัญญา (Cognitive Developmen
ด้านจิตสังคม (Psychosocial Developme
ด้านจริยธรรม (Moral Developmen
จิตวิทยา
(Psychology)จิตวิทยา (Psychology) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก
2 คำา คือ
Psyche หมายถึง ลมหายใจของชีวิต (Breath of
Life)
หรือ จิต (Mind) และ Logos หมายถึง ความรู้
(Knowledge) หรือ การศึกษา (Study)
Psychology จึงหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับจิต
(the study of mind)
(Benson 1998)
Page  6
พัฒนาการ
(Development)พัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทั้งมวล
ของบุคคล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเป็นขั้นๆ มี
แบบแผนอย่างต่อเนื่อง และปรากฏอยู่อย่างถาวร
“ ครูจะต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ
พัฒนาการในทุกๆ ด้านที่จะส่งผลต่อพฤติกรรม
ของผู้เรียน ”
Page  7
พัฒนาการ
(Development)พัฒนาการแบ่งออกเป็นด้าน ๆ ได้ ดังนี้
1. ด้านร่างกาย (Physical Development
2. ด้านปัญญา (Cognitive Development)
3. ด้านจิตสังคม (Psychosocial
Development)
4. ด้านจริยธรรม (Moral Development)
Page  8
พัฒนาการทาง
ร่างกาย (Physical
Development)
แบ่งเป็น 3 ช่วงวัย คือ
1) เด็กระดับปฐมวัย (3 – 6 ปี)
2) เด็กระดับประถมศึกษา (6 – 12 ปี)
3) เด็กระดับมัธยมศึกษา (12 – 17 ปี)
Page  9
พัฒนาการทาง
ร่างกาย – ปฐมวัย
ร่างกาย : เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการ
พัฒนาความเชี่ยวชาญด้านการเคลื่อนไหว กล้าม
เนื้อมัดใหญ่ และมัดเล็ก การเพิ่มของความสูงและ
นำ้าหนัก
สมอง : เด็กวัย 5 ปี จะมีนำ้าหนักสมองเป็น 90%
ของเมื่อเป็นผู้ใหญ่
สายตา : เด็กเล็กกว่า 5-6 ปี มีสายตายาว การ
อ่านและเคลื่อนไหวสายตาอาจเป็นไปได้ช้า
Page  10
พัฒนาการทาง
ร่างกาย – ปฐมวัย
การจัดการศึกษา : เน้นกล้ามเนื้อ เช่นเลน
ดินสอเทียน ระบายสี ฉีกกระดาษ ปั้นดินนำ้ามัน
เด็กที่ถนัดซ้ายหากถูกบังคับให้เปลี่ยนอาจเกิด
ความผิดปกติอื่นตามมาได้ ไม่ควรให้เด็กจ้องตัว
หนังสือใกล้ๆ เล็ก หรือเคลื่อนไหวไปมาอย่าง
รวดเร็ว
ไม่ควรเร่งพัฒนาการเด็ก และพัฒนาแต่ละคน
ตามความเหมาะสมและความต้องการของเขา
หลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบ
Page  11
พัฒนาการทางร่างกาย –
ประถมศึกษา
ร่างกาย : เด็กหญิงจะเริ่มโตทัน และอาจโตกว่า
เด็กชาย มีการพัฒนาของกล้ามเนื้อ และสรีระ
สายตา : เด็กก่อน 8 ขวบ ยังมีพัฒนาการทาง
สายตาไม่สมบูรณ์นัก
การจัดการศึกษา : ควรเน้นทักษะ เช่น การ
ทรงตัว การวิ่ง กระโดด การขว้าง เป็นต้น การจัด
ให้เลนเกมควรให้เกิดความยุติธรรมทางสรีระ
เด็กต้องการพักผ่อน และมีสมาธิไม่ยาวนัก จึงควร
จัดกิจกรรมเป็นช่วงสั้น Page  12
พัฒนาการทางร่างกาย –
มัธยมศึกษา
ร่างกาย : เจริญเติบโตเกือบสมบูรณ์ เด็กชาย
สวนใหญ่จะแข็งแรงความเด็กหญิง อวัยวะสืบพันธ์
เจริญเติบโตเต็มที่ เด็กจะเกิดความวิตกกังวลเกี่ยว
กับร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไป
การจัดการศึกษา : ไม่ควรจัดกิจกรรมที่เน้น
ความแตกต่างของร่างกายมากเกินไป เน้นการ
ดูแลสุขภาพที่ถูกวิธี สนับสนุนการพัฒนา
บุคลิกภาพ
Page  13
พัฒนาการทาง
ปัญญา
(Cognitive
Development)เป็นการเปลี่ยนแปลงด้านการรู้ภาษา การจำา
การใช้เหตุผล ความสามารถในการคิด
ในช่วงปฐมวัย จะมีการเปลี่ยนแปลงด้านภาษา
เมื่อเข้าสูวัยเด็กจะมีการพัฒนาด้านการจำาและ
ทักษะ Metacognition เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะพัฒนา
ด้านสมมุติฐาน (salavin, 2009)
Page  14
ทฤษฎีพัฒนาการ
ทางปัญญา
1. ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญาของเพียเจต์
(Jean Piaget)
“เด็กไม่ได้ “โง่” เพราะขาดข้อมูล เพียงแต่คิด
และใช้หลักตรรกะที่แตกต่างจากผู้ใหญ่”
2. ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญาของบรูเนอร์
(Jarome S. Bruner)
“บุคคลเลือกรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ และเลือกเรียน
รู้ผ่านกระบวนการค้นพบ (Discovery Learning)”
Page  15
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
ปัญญาของ Piaget
พัฒนาการของเด็กเป็นไปตาม
1) ระดับวุฒิภาวะ (Maturation)
2) การสะสมการเรียนรู้ (Learning)
3) การผสมผสานระหว่างทฤษฎีวุฒิภาวะ
(Maturation Theory) กับ ทฤษฎีการสะสมการ
เรียนรู้ (Learning Theory)
Page  16
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
ปัญญาของ Piaget
มีประเด็นสำาคัญต่อไปนี้
1. โครงสร้างความรู้ (Schema)
1.1 การปรับเข้าโครงสร้าง
1.2 การขยายโครงสร้าง
Page  17
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
ปัญญาของ Piaget2. ทฤษฎีขั้นพัฒนาการ (Stage Theory) เกี่ยวกับ
พัฒนาการทางปัญญา 4 ขั้น
ขั้นที่ 1 (0-2 ปี) เรียนรู้ผ่านการสัมผัสและ
เคลื่อนไหว
ขั้นที่ 2 (2-7 ปี) เลียนแบบพฤติกรรม ภาษา เล่น
สมมุติ วาดรูปจากสิ่งที่คิด จินตนาการ มีการรับรู้แบบมุ่งสู่
ศูนย์กลาง เพ่งความสนใจได้ทีละอย่าง
ขั้นที่ 3 (7-11 ปี) สามารถคิดย้อนกลับได้ อนุรักษ์
พื้นที่ จัดกลุ่มหรือแบ่งหมู่ จัดลำาดับสิ่งของ
ขั้นที่ 4 (11 ขึ้นไป) สามารถคิดเหตุผลแบบอนุมาน
เชิงสถิติ คิดจากข้อมูลที่เป็นนามธรรมได้
Page  18
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
ปัญญาของ Bruner
มีหลักการสำาคัญ 4 ประการ ดังนี้
1. หลักของโครงสร้าง (Structure)
2. การจูงใจ (Motivation)
3. ลำาดับขั้น (Sequence)
4. การเสริมแรง (Reinforcement)
Page  19
พัฒนาการทางจิต
สังคม
(Psychosocial
Development)อีริก อีริกสัน (Erik Erikson) เสนอแนวคิดการ
พัฒนาทางจิตสังคมตามแนวคิดของซิกมัน ฟรอย
ด์ ว่า
พัฒนาการในแต่ละลำาดับขั้นจะมีลักษณะเป็น
ปมขัดแย้งซึ่งเป็นวิกฤติทางจิตสังคม
(Psychosocial Crisis) ที่บุคคลจะต้องเผชิญ ซึ่ง
หากสามารถผ่านปมจัดแย้งแต่ละปมอย่างน่า
พอใจ ก็จะได้เผชิญหน้ากับบทท้าทายใหม่ ๆ แต่
ถ้าไม่สามรถผ่านปมขัดแย้งได้อย่างสมบูรณ์ก็จะ
Page  20
ขั้นพัฒนาการทางจิต
สังคม
1. ความรู้สึกไว้วางใจ – ความไมไว้วางใจ (0-18
เดือน)
2. ความรู้สึกเป็นตัวของตัวเอง – ความอายและเคลือบ
แคลงสงสัย
(18 เดือน – 3 ปี)
3. ความคิดริเริ่ม – ความรู้สึกผิด (3 - 6 ปี)
4. ความอุตสาหะ ภาคเพียร – ความรู้สึกด้อย (6 - 12
ปี)
5. ความมีเอกลักษณ์ – ความสับสนในบทบาท (12 -
18 ปี)
6. ความรู้สึกผูกพัน – ความโดดเดี่ยว (18 - 35 ปี)
Page  21
การนำาไปใช้จัดการ
ศึกษา (มัธยม)
1. ครูควรจัดกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับบทบาททางเพศที่เหมาะสม
2. ครูควรจัดกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
อาชีพที่หลากหลาย
3. ครูควรป้องกันการสร้างเอกลักษณ์เชิงลบ
(Negative identity)
4. ครูต้องอดทนตอพฤติกรรมของวัยรุ่น
5. ครูควรมีการให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับตัวเด็ก เพื่อ
ให้เขาเข้าใจตนเอง เห็นจุดเด่น จุดด้อย
6. ครูควรมีสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก
Page  22
พัฒนาการทาง
จริยธรรม
(Moral
Development)โคล์เบิร์ก (Kohlberg) ได้พัฒนาแนวความคิดของ
เพียร์ เจต์ (Piaget)
การพัฒนาการทางจริยธรรม แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับละ 2 ขั้น รวมเป็น 6 ขั้น
ระดับที่ 1 ระดับก่อนมีจริยธรรมของตนเอง (Pre-
conventional Level)
ระดับที่ 2 ระดับมีจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ของสังคม
(Conventional Level)
ระดับที่ 3 ระดับมีจริยธรรมตามวิจารณญาณหรือ
เหนือกฎเกณฑ์ของสังคม (Post conventional Morality)
Page  23
พัฒนาการทาง
จริยธรรม
Page  24
ระดับ ขั้น
ระดับก่อนมีจริยธรรมของ
ตนเอง
(Pre conventional Level)
การลงโทษและการ
เชื่องฟัง
กฎเกณฑ์เป็นเครื่องมือ
เพื่อผลประโยชน์ของ
คน
ระดับมีจริยธรรมตามกฎ
เกณฑ์ของสังคม
(Conventional Level)
ความคาดหวังและการ
ยอมรับในสังคมสำาหรับ
เด็กดี
กฎและระเบียบ
ระดับมีจริยธรรมตาม
วิจารณญาณ
สัญญาสังคม
การนำาไปใช้
ประโยชน์
1. การสอน
- ทราบพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัย
- นำาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสม
กับพัฒนาการ
2. การวางแผนทำางานวิจัย
- เลือกใช้รูปแบบ และกิจกรรมที่เหมาะสมกับ
พัฒนาการของนักเรียน
Page  25
เอกสาร
อ้างอิง
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พื้นฐาน
กระบวนทัศน์ทางการศึกษา.
พิมพ์ครั้งที่ 5. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์, 2555.
สุรวงค์ โค้วตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 11.
กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2556.
Page  26
จบการนำาเสนอ
ขอบคุ
ณค่ะ

More Related Content

What's hot

เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียkrupanisara
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 

Similar to จิตวิทยาพัฒนาการ

จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนphatcom10
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1suweeda
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1NusaiMath
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Yee022
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 

Similar to จิตวิทยาพัฒนาการ (20)

จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอน
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 

จิตวิทยาพัฒนาการ