SlideShare a Scribd company logo
โรคไอกรน
Pertussis
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21-Jul-14 1
การระบาดของโรคไอกรน
 โรคไอกรนเคยเป็นโรคที่พบได้บ่อย และเป็นหนึ่ง
ในสาเหตุหลักของการตายในเด็ก จนเคยได้ชื่อว่า
เป็น "Baby killer"
 ในระยะก่อนที่จะเริ่มมีการรณรงค์ให้วัคซีนทั่วโลก
มีผู้ป่วยประมาณ 45 ล้านคนต่อปี มีผู้ป่วยเสียชีวิต
จากโรคนี้ประมาณ 400,000 คนต่อปี
21-Jul-14 2
 อัตราป่วยตาย จากโรคนี้ในประเทศกาลัง
พัฒนาอาจสูงถึงประมาณร้อยละ15
 สาหรับประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ลดลง
เรื่อยๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ก่อนจะมีการระบาด
ใหญ่อีกครั้งในช่วงต้นปี พ.ศ. 2549 ที่ผ่านมา
การระบาดของโรคไอกรน
21-Jul-14 3
การระบาดของโรคไอกรน
 ในปี 2549 มีการระบาด มีผู้ป่วย 72 ราย
ไม่มีผู้เสียชีวิต โดยพบการระบาดที่จังหวัดน่าน
มีผู้ป่วย 60 ราย
 ในปี 2554 มีผู้ป่วยไอกรน 12 ราย ไม่มี
ผู้เสียชีวิต
21-Jul-14 4
การระบาดของโรคไอกรน
 ในประเทศไทย อุบัติการณ์ของโรคไอกรนลดลงมาก ซึ่งเป็น
ผลจากการเพิ่มระดับความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้ องกัน
โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก
 โรคนี้พบในเด็กอายุเกิน 5 ปีมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็กที่
ไม่ได้รับวัคซีน
 ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 6-20 วัน ที่พบบ่อย 7-10 วัน
ถ้าสัมผัสโรคมาเกิน 3 สัปดาห์แล้วไม่มีอาการ แสดงว่าไม่ติดโรค
21-Jul-14 5
สาเหตุของโรคไอกรน
 เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย บอร์ดีเทลลา เปอร์ตัส
ซิส (Bordetella Pertyssis)
 โดยติดเชื้อจากการไอ จาม รดใส่กัน หรือ
ปนออกมากับเสมหะ น้ามูก น้าลาย
21-Jul-14 6
โรคไอกรนเกิดได้อย่างไร
 เชื้อ Bordettella เมื่อเข้าสู่ทางเดินหายใจแล้ว
 จะไปเกาะกับเซลล์เยื่อบุ หรือเยื่อเมือกของเนื้อเยื่อหลัง
โพรงจมูก
 ส่งผลต่อการอักเสบของเยื่อบุทางเดินหายใจ ทาให้เกิด
อาการต่างๆ ตามมา
 เชื้อโรคไอกรนเองมักไม่แพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือด
(โลหิต) จึงมักไม่ก่ออาการกับอวัยวะอื่น
21-Jul-14 7
อาการของโรคไอกรน
1.ระยะฟักตัวของโรคไอกรน
 ตั้งแต่ติดเชื้อจนกระทั่งแสดงอาการ คือ 7-10 วัน
 อาการจะแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะอาการหวัดไข้ต่าๆ
ไอเล็กน้อย มีน้ามูก อ่อนเพลีย
 ซึ่งจะเป็นอยู่ประมาณ 1-2 สัปดาห์ หรือ ระยะเยื่อเมือก
ทางเดินหายใจอักเสบ (Catarrhal phase) ระยะนี้
อาการจะเหมือนโรคหวัดธรรมดาทั่วไป
21-Jul-14 8
อาการของโรคไอกรน
2. ระยะอาการกาเริบ (Paroxysmal
phase)
 เป็นระยะที่อาการไอจะเกิดขึ้นเป็นพักๆ จะไอ
ติดต่อกันประมาณ 5-10 ครั้งต่อวัน หรือเกิดขึ้นหลาย
สิบครั้งในเวลาเพียง 1 ชั่วโมง
21-Jul-14 9
อาการของโรคไอกรน
2. ระยะอาการกาเริบ (Paroxysmal phase)
 เมื่อการไอสิ้นสุด จะมีการหายใจเข้าอย่างรวดเร็วหนึ่ง
ครั้ง ซึ่งลมหายใจนี้จะไปกระทบกับฝากล่องเสียงที่ปิดอยู่
ทาให้มีเสียงดังที่มีลักษณะจาเพาะ คือ เสียงดังวู๊ป
(Whooping cough)
 ระยะนี้จะเป็นอยู่นาน 2-4 สัปดาห์ หรืออาจนานกว่า
นี้ได้
21-Jul-14 10
อาการของโรคไอกรน
3. ระยะฟื้นตัว หรือ ระยะพักฟื้น
(Convalescent phase)
 ระยะนี้กินเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 3 เดือน
เป็นระยะที่อาการไอจะค่อยๆลดลงจนหายไปใน
ที่สุด
21-Jul-14 11
การติดต่อ
การติดต่อทางตรง
 โดยการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย ทาให้ติดต่อ
ได้โดยตรงจากน้ามูก น้าลาย เสมหะของผู้ป่วย
ด้วยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน
21-Jul-14 12
การติดต่อ
การติดต่อทางอ้อม
 โดยการใช้ผ้าเช็ดหน้า ภาชนะในการดื่มและ
รับประทานอาหารร่วมกับผู้ป่วย หรือหายใจเอา
ฝุ่นละอองที่มีเชื้อโรคเข้าไป
21-Jul-14 13
การวินิจฉัยโรคไอกรน
มีประวัติการสัมผัสโรค และ ลักษณะการไอเป็นสาคัญ
คือ ไอติดต่อกันนานมากกว่า 2 สัปดาห์ขึ้นไป ร่วมกับ
 อาการไอที่ติดกันเป็นชุดๆ
 และ/หรือ ในช่วงสุดท้ายของการไอมีเสียงดังวู๊ปหรือวู้
 และ/หรือ มีอาเจียนหลังไอ
 และ/หรือ อาการไอเกิดขึ้นในช่วงที่มีการระบาดของ
โรคไอกรน
21-Jul-14 14
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
 การเพาะเชื้อ โดยการนาสารคัดหลั่งจากโพรงหลังจมูก
มาเพาะเชื้อ
 การตรวจหาสารพันธุกรรม (DNA) ด้วยเทคนิคที่
เรียกว่า พีซีอาร์ (PCR)
 การตรวจหาแอนติบอดี (Immunoglobulin A
หรือ Immunoglobulin G)
 การตรวจดูเม็ดเลือด (CBC)
21-Jul-14 15
โรคแทรกซ้อน
 ปอดอักเสบ เป็นสาเหตุของการตายที่สาคัญ
 การไอมากๆ ทาให้มีเลือดออกในเยื่อบุตา มี
petechiae ที่หน้า และในสมอง
 ระบบประสาท อาจมีอาการชัก พบบ่อยใน
เด็กเล็ก
21-Jul-14 16
การรักษา
 ให้ยา Erythromycin 50 มก./นน.ตัว 1 กก.
 ให้ Hyperimmune gamma globullin 3-6
ซีซี. ฉีดเข้ากล้ามเนี้อ
 ให้อาหารที่มีแคลอรี่สูง
 พักผ่อนให้เพียงพอ
 ให้ยาขับเสมหะ และยากล่อมประสาท
21-Jul-14 17
การปฏิบัติตน
 ควรจัดแยกผู้ป่วยให้อยู่ต่างหากทันทีเมื่อ
เห็นว่ามีอาการของโรค
 ควรทาลายเชื้อที่ออกมากับน้ามูก น้าลาย
เสมหะ ในน้ายาฆ่าเชื้อโรค แล้วจึงนาไปฝัง
หรือ เผาไฟทิ้ง หรือก่อนนาไปซักล้างแล้วต้ม
21-Jul-14 18
การป้ องกัน
การแยกผู้ป่วย
 ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย erythromycin
 เชื้อจะหมดไปภายใน 5 วัน
 ดังนั้น จึงแยกผู้ป่วย 5 วัน นับจากที่เริ่มให้ยา หรือ
แยกไว้ 3 สัปดาห์ หลังจากที่เริ่มมีอาการไอแบบ
paroxysmal
21-Jul-14 19
การป้ องกัน
ผู้สัมผัสโรค
 ควรได้รับการติดตามดูว่าจะมีอาการไอเกิดขึ้น
หรือไม่อย่างใกล้ชิด โดยติดตามไปอย่างน้อย 2
สัปดาห์
 เด็กที่สัมผัสโรคอย่างใกล้ชิดควรได้รับ
erythromycin (40-50 มก./กก./วัน) 14 วัน
21-Jul-14 20
การฉีดวัคซีน
21-Jul-14 21
ช่องทางการติดต่อ….
Facebook:
prachaya56@hotmail.com
ในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
21-Jul-14 22

More Related Content

What's hot

Bronchiolitis
BronchiolitisBronchiolitis
Bronchiolitis
KaustubhMohite4
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Utai Sukviwatsirikul
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
New born-assessmente
New born-assessmente New born-assessmente
New born-assessmente
Dong Dang
 
Admission Round: Pediatric Acute Febrile Illness
Admission Round: Pediatric Acute Febrile IllnessAdmission Round: Pediatric Acute Febrile Illness
Admission Round: Pediatric Acute Febrile Illness
Nopparat Rajjathani Hospital
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
Preeyanush Rodthongyoo
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
chalunthorn teeyamaneerat
 
แผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษาแผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษา
kruying pornprasartwittaya
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Nickson Butsriwong
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
Dbeat Dong
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
Utai Sukviwatsirikul
 
Guideline for management of gout
Guideline for management of goutGuideline for management of gout
Guideline for management of gout
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Bronchiolitis
BronchiolitisBronchiolitis
Bronchiolitis
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
New born-assessmente
New born-assessmente New born-assessmente
New born-assessmente
 
Admission Round: Pediatric Acute Febrile Illness
Admission Round: Pediatric Acute Febrile IllnessAdmission Round: Pediatric Acute Febrile Illness
Admission Round: Pediatric Acute Febrile Illness
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
แผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษาแผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษา
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
Guideline for management of gout
Guideline for management of goutGuideline for management of gout
Guideline for management of gout
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556
 
How to read article
How to read articleHow to read article
How to read article
 

More from Prachaya Sriswang

Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
Prachaya Sriswang
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
Prachaya Sriswang
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
Prachaya Sriswang
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
Prachaya Sriswang
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
Prachaya Sriswang
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
Prachaya Sriswang
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
Prachaya Sriswang
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
Prachaya Sriswang
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
Prachaya Sriswang
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
Prachaya Sriswang
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
Prachaya Sriswang
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
Prachaya Sriswang
 

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 

ไอกรน Ppt.1

Editor's Notes

  1. การเพาะเชื้อ โดยการนำสารคัดหลั่งจากโพรงหลังจมูกมาเพาะเชื้อ การตรวจหาสารพันธุกรรม (ดีเอนเอ, DNA) ของเชื้อไอกรนจากสารคัดหลั่งจาก โพรงหลังจมูก ด้วยเทคนิคที่เรียกว่า พีซีอาร์ (PCR, Polymerase chain reaction) การตรวจหาแอนติบอดี (Immunoglobulin A หรือ Immunoglobulin G) ที่จำเพาะต่อโรคไอกรน ในกรณีที่อาการเป็นนานมากกว่า 4 สัปดาห์แล้ว จะเลือกใช้วิธีนี้แทนการเพาะเชื้อ การตรวจดูเม็ดเลือด (การตรวจ CBC) จะเพียงช่วยในการวินิจฉัย ซึ่งจะพบมีเม็ดเลือดขาวชนิด Lymphocyte ขึ้นสูงกว่าปกติ จะไม่เหมือนการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่นๆ ที่จะมีเม็ดเลือดขาวชนิด Neutrophil ขึ้น
  2. . ปอดอักเสบ ซึ่งเป็นสาเหตุของการตายที่สำคัญของโรคไอกรนในเด็กเล็ก โรคในปอดที่อาจพบได้อีกจะเกิดจากการมีเสมหะเหนียวไปอุดในหลอดลมและถุงลม ทำให้เกิด atelectasis 2. จากการไอมากๆ ทำให้มีเลือดออกในเยื่อบุตา (Subconjunctival hemorrhage) มี petechiae ที่หน้า และในสมอง 3. ระบบประสาท อาจมีอาการชัก พบบ่อยในเด็กเล็ก เนื่องจากขาดเลือดไปเลี้ยงสมองในขณะที่ไอถี่ๆ และอาการชักอาจเกิดจากมีเลือดออกในสมอง
  3. ในเด็กบางคน ผู้สัมผัสโรคที่อายุน้อยกว่า 6 ปี ที่ไม่เคยได้รับวัคซีนหรือได้ไม่ครบ 4 ครั้ง ควรจะเริ่มให้วัคซีนหรือเพิ่มให้ครบตามกำหนดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ผู้สัมผัสโรคที่เคยได้รับมาแล้ว 4 ครั้ง ให้กระตุ้นเพิ่มอีก 1 ครั้ง ยกเว้นเด็กที่เคยได้รับ booster มาแล้วภายใน 3 ปี หรือเป็นเด็กอายุเกิน 6 ปี ไม่ต้องฉีดกระตุ้นเพิ่ม ส่วนผู้ที่เคยได้มาแล้ว 3 ครั้ง และครั้งที่ 3 เกิน 6 เดือน ควรจะให้ dose ที่ 4 ทันทีที่สัมผัสโรค