SlideShare a Scribd company logo
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1
เอกสารนโยบายฉบับนี้ เรียบเรียงขึ้นจากการบรรยายพิเศษของผู้เขียน ณ คณะนโยบายและการจัดการ
สถาบันศึกษาการพัฒนาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KDI School of Policy and Management) วันที่ 19 กรกฎาคม 2562
(สิงหาคม)
เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน
อาเซียน: ทาไมและอย่างไร
เสกสรร อานันทศิริเกียรติ
นักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
บทนา
การพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นประเด็นสาคัญด้านการต่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นผู้ขับเคลื่อนใน
ระดับนานาชาติมาโดยตลอด ในวาระที่ไทยเป็นประธานอาเซียนใน ค.ศ. 2019 ได้ประกาศแนวคิดหลัก
คือ "ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน (Advancing Partnership for Sustainability)" ซึ่งเน้นการเชื่อมโยงผู้
ส่วนได้เสียในกระบวนการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนสู่อาเซียนที่มีความพร้อมด้านดิจิทัล และความยั่งยืนใน
ทุกมิติ โดยเฉพาะเศรษฐกิจสีเขียว ความมั่นคง และการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมอย่างยั่งยืน
บทความนี้เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน พร้อมกับ
เสนอเหตุผลที่ประเทศต่าง ๆ ในอาเซียนควรร่วมมือกันขับเคลื่อนวาระของประธานอาเซียน ได้แก่
เหตุผลทางยุทธศาสตร์ เหตุผลทางการเมือง และเหตุผลทางการพัฒนา และเสนอการปฏิบัตินโยบายที่
สมาชิกอาเซียนสามารถทาได้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนในกรอบอาเซียน
ประเมินสถานการณ์การพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน
รายงานการขับเคลื่อนการดาเนินงานของอาเซียนในเรื่องความเกื้อกูลระหว่างวิสัยทัศน์
ประชาคมอาเซียน ค.ศ. 2025 กับวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ของสหประชาชาติที่ประเทศไทย
เป็นผู้จัดทาหลักร่วมกับคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสาหรับเอเชียและแปซิฟิก
(UNESCAP) ได้ประเมินสถานการณ์การพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียนในห้ามิติ ได้แก่ การขจัด
ฉบับที่ 5 / 2562
Policy Brief
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2
ความยากจน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและความเชื่อมโยง การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน การผลิตและการบริโภคอย่างยั่งยืน และความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ โดยเปรียบเทียบ
สถานการณ์ปัจจุบัน (ข้อมูล ณ ค.ศ. 2015) และคาดการณ์สถานการณ์ที่เป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นใน ค.ศ.
20301
ภาพรวมของรายงานดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า สถานการณ์การพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งห้ามิติในภูมิภาค
อาเซียนนั้นก้าวหน้าขึ้นจาก ค.ศ. 2000 และหากอาเซียนสามารถรักษาระดับการพัฒนาไว้เช่นนี้ได้อย่าง
ต่อเนื่อง อาเซียนก็มีความสามารถใกล้เคียงที่จะบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ
ได้ภายใน ค.ศ. 2030 อัตราความยากจนของประเทศสมาชิกอาเซียนลดลงในแง่ที่ประชากรอาเซียนมี
ความสามารถในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานและมีรายได้เลี้ยงชีพ แต่ความท้าทายยังคงมีอยู่
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การยกระดับสุขภาวะและการเข้าถึงบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นภารกิจ
สาคัญของรัฐในการช่วยลดช่องว่างการพัฒนา
นอกจากการขจัดความยากจนแล้ว รายงานฉบับนี้ได้ชี้ให้เห็นแนวโน้มของความเป็นไปได้ในการ
พัฒนาเศรษฐกิจที่เน้นอุตสาหกรรมหนักและการเกิดเมือง ซึ่งจะทาให้แต่ละประเทศมีความต้องการ
โครงสร้างและระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ความต้องการเหล่านี้ส่งผลต่อการบริหารจัดการการผลิตและ
การบริโภค ตลอดจนการพัฒนาโครงข่ายความเชื่อมโยงต่าง ๆ เช่น พลังงาน โทรคมนาคม เป็นต้น แม้
รายงานจะคาดการณ์ว่า อาเซียนมีโอกาสพัฒนาจนไต่ระดับไปอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีความก้าวหน้าอย่าง
ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สหภาพยุโรป ฯลฯ อาเซียนก็ยังมีความท้าทายที่ต้องเผชิญทั้งผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจการเมืองโลก รัฐบาลของอาเซียนยังมีขีดความสามารถที่จากัดในการ
รับมือความท้าทายดังกล่าว
ทาไมต้องอาเซียน?
ผู้เขียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนกับนักศึกษาคณะนโยบายและการจัดการ สถาบันศึกษาการพัฒนา
แห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KDI School of Policy and Management) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัตินโยบายจาก
กลุ่มประเทศอาเซียน โดยได้ถามคาถามสาคัญสามข้อ ได้แก่ อะไรคือปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาที่สาคัญ
และเร่งด่วนที่สุดในประเทศของท่าน? ท่านคิดว่าการดารงอยู่ของประชาคมอาเซียนช่วยแก้ปัญหา
ดังกล่าวหรือไม่? และอะไรคือนิยามของความยั่งยืนในทรรศนะของท่าน? ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เห็นพ้องกัน
ว่า ในประเทศของพวกเขา แทบทุกปัญหาทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาสาคัญ
และเร่งด่วนทั้งสิ้น การดารงอยู่ของอาเซียนมีประโยชน์ในแง่ที่ช่วยสร้างพื้นที่ของความร่วมมือระดับ
ภาครัฐในการจัดการปัญหาภูมิภาคและแบ่งปันประสบการณ์กับแนวปฏิบัติที่ดีจากประเทศอาเซียน
1
UN, Ministry of Foreign Affairs, Thailand & ASEAN Secretariat, Complementarities between the ASEAN Community 2025 and
the United Nations 2030 Agenda for Sustainable Development: A Framework for Action, (Bangkok: UNESCAP, 2017), 5-6.
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3
ด้วยกัน ผู้เข้าฟังส่วนใหญ่เห็นว่า นิยามของความยั่งยืนที่สาคัญคือ ระยะยาว (Long-term) มีเสถียรภาพ
(Stable) และมีศักยภาพในการธารงรักษา (Ability to sustain)
ในทรรศนะของผู้เขียน คาตอบเหล่านี้เป็นการยืนยันว่า การพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นประเด็นสาคัญ
ในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียน และอาเซียนมีส่วนเสริมสร้างขีดความสามารถของแต่ละรัฐสมาชิกใน
การขับเคลื่อนการพัฒนา ผู้เขียนมีสามเหตุผลเพิ่มเติมว่า ทาไมประเทศสมาชิกอาเซียนควรส่งเสริมการ
พัฒนาอย่างยั่งยืน เหตุผลแรกคือเหตุผลทางยุทธศาสตร์ ที่ตั้งของอาเซียนนั้นอยู่ระหว่างมหาอานาจที่
กาลังผงาดสองแห่งได้แก่ จีนและอินเดีย ซึ่งจีนมียุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (Belt and Road
Initiative: BRI) ส่วนอินเดียมีนโยบายมุ่งตะวันออก (Act East Policy) ขณะเดียวกัน อาเซียนก็เป็น
ศูนย์กลางฉากทัศน์ (Scenario) ของยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา และเป็นเป้าหมายทาง
ยุทธศาสตร์ของญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นโยบายมุ่งใต้ใหม่ของเกาหลีใต้ (New Southern Policy) นโยบายมุ่ง
ใต้ใหม่ของไต้หวัน (New Southbound Policy) การเป็นศูนย์กลางของยุทธศาสตร์นี้เป็นโอกาสให้
อาเซียนสามารถระดมทรัพยากรที่จะเข้ามาตอบสนองความต้องการการพัฒนาได้ และทาให้อาเซียนมี
ตัวเลือกว่าใครเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาที่เหมาะสมที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หุ้นส่วนที่พึงใจและไม่เสนอข้อ
แลกเปลี่ยนที่ทาให้รัฐบาลของประเทศสมาชิกลาบากใจมากนักแต่ในขณะเดียวกัน อาเซียนก็เป็น
ศูนย์กลางของความเสี่ยงจากการปรับปรุงระบบพันธมิตรใหม่และโอกาสที่จะเกิดการปะทะด้วยกาลัง
ทหารในพื้นที่สุ่มเสี่ยง เช่น ทะเลจีนใต้
สาหรับเหตุผลทางการเมือง การมีความร่วมมืออย่างแน่นแฟ้นในภูมิภาคย่อมส่งเสริมความเป็น
แกนกลางของอาเซียน (ASEAN Centrality) ความเป็นแกนกลางของอาเซียนนี้มีสองนัยสาคัญคือ การที่
อาเซียนสามารถแสดงออกเป็นเสียงเดียวกันในการต่อรองกับคู่เจรจาต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สาหรับภูมิภาคที่ทุกประเทศสมาชิกได้ประโยชน์ร่วมกัน อีกนัยหนึ่งก็คือ การยืนยันว่า แนวปฏิบัติหรือวิถี
อาเซียน (ASEAN Way) นั้นเป็นสิ่งที่ยังใช้ได้ในสถานการณ์ปัจจุบัน อาเซียนไม่จาเป็นต้องเหมือนหรือ
เดินตามแนวทางของสหภาพยุโรปก็สามารถรักษาเสถียรภาพและขับเคลื่อนอย่างมีประสิทธิภาพได้ แม้
จะต้องใช้เวลาบ้างก็ตาม ส่วนเหตุผลทางด้านการพัฒนานั้น รายงานเรื่องอาเซียนในฐานะสถาปัตยกรรม
รองรับความร่วมมือด้านการพัฒนาระดับภูมิภาคระบุว่า ผู้ให้เงินช่วยเหลือ (Donor) ส่วนใหญ่มีแนวโน้ม
ให้เงินสนับสนุนความร่วมมือด้านการพัฒนาในระดับภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาคม
มากขึ้น ใน ค.ศ. 2000 ยอดเงินช่วยเหลือทั้งแบบให้เปล่าและแบบกู้ยืมอยู่ที่ 47.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ขณะที่ ค.ศ. 2013 ยอดเงินดังกล่าวอยู่ที่ 190.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในบรรดาผู้ให้เงินช่วยเหลือทั้งหมด
ออสเตรเลียเป็นผู้ให้เงินช่วยเหลือจานวนสูงที่สุด2
หากประเทศสมาชิกสามารถแสดงออกเป็นเสียง
เดียวกันในการดึงดูดความสนใจของความร่วมมือด้านการพัฒนาได้ ประชาคมอาเซียนจะกลายเป็นผู้เล่น
สาคัญในการต่อรองจานวนเงิน และช่วยเป็นผู้ประสานเรื่องการบรรเทาความเสี่ยงไปด้วยในเวลาเดียวกัน
2
Thomas Parks, Larry Maramis, Apichai Sunchindah & Weranuch Wongwatanakul, ASEAN as the Architect for Regional
Development Cooperation: Advancing ASEAN Centrality & Catalyzing Action for Sustainable Development, (Bangkok: The Asia
Foundation, 2018), 16.
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 4
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับอาเซียน
ผู้เขียนเห็นว่า อาเซียนจาเป็นต้องมีเป้าหมายและมาตรการที่ชัดเจนในการขับเคลื่อนการพัฒนา
อย่างยั่งยืนเพื่อลดทอนความเป็นการเมืองและการช่วงชิงความเป็นใหญ่ของคู่เจรจาในภูมิภาคลง
เอกสารการประเมินภาพรวมยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของอาเซียน (ASEAN Outlook on the Indo-
Pacific) เป็นตัวอย่างที่ดีของการแปรเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ให้กลายเป็นการสร้างความร่วมมือด้าน
การพัฒนาโดยกาหนดประเด็นสาคัญ เช่น การระดมทรัพยากรของสหรัฐอเมริกาเพื่อสร้างความเชื่อมโยง
ของความเชื่อมโยงอาเซียน (Connecting the Connectivities) ความมั่นคงทางทะเล เป็นต้น ในระดับ
อาเซียน รายงานการขับเคลื่อนการดาเนินงานของอาเซียนในเรื่องความเกื้อกูลระหว่างวิสัยทัศน์
ประชาคมอาเซียน ค.ศ. 2025 กับวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ของสหประชาชาติได้กาหนดเจ็ด
โครงการนาร่อง ได้แก่ การเสริมสร้างภาวะโภชนาการให้แก่กลุ่มอ่อนไหว การจัดตั้งคณะมนตรีอาเซียน
ว่าด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืน การจัดตั้งวงสัมมนาเรื่องการจัดสรรทรัพยากรของ
อาเซียนที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคส่วนต่าง ๆ การพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่รัก
สิ่งแวดล้อม การจัดตั้งกลไกของอาเซียนเพื่อถ่ายโอนความเสี่ยง การจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อศึกษาการ
พัฒนาอย่างยั่งยืน และโครงการเสริมสร้างความตระหนักรู้เรื่องความเกื้อกูลระหว่างสองวิสัยทัศน์3
จะเห็นได้ว่า อาเซียนมีความเห็นพ้องในเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนอยู่แล้ว และประเทศไทยก็ได้
มีบทบาทในการผลักดันความริเริ่มใหม่ ๆ มาโดยตลอด ผู้เขียนเห็นว่า ก้าวต่อไปสาหรับการขับเคลื่อน
การพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียนคือ การพัฒนาเชิงสถาบันด้วยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการของ
หน่วยงานภาครัฐและสถาบันวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียนเพื่อกาหนด
ประเด็นร่วมกัน และหารือแนวทางการยกระดับการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างยั่งยืนในฐานะวาระของ
อาเซียนในอนาคต และการสร้างความรับรู้เรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามกรอบอาเซียนด้วยกิจกรรมการ
ทูตสาธารณะ เช่น การจัดประกวดสุนทรพจน์ เรียงความ คลิปวิดีโอ การจัดค่ายเยาวชน การสัมมนาเพื่อ
สร้างเครือข่ายตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐในการขับเคลื่อนการนาความริเริ่มด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนไปปฏิบัติ
พร้อมกับระดมแนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของไทยให้เผยแพร่ออกไปสู่ภูมิภาค
* * *
3
UN, Ministry of Foreign Affairs, Thailand & ASEAN Secretariat, Complementarities between the ASEAN Community 2025, 6-7.

More Related Content

Similar to Policy Brief 5/2562 เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน: ทำไมและอย่างไร

World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
Klangpanya
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
vorravan
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
Natda Wanatda
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
Klangpanya
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
pakpoom khangtomnium
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
irchula2014
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
USMAN WAJI
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
Klangpanya
 
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์Kruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
Jirathorn Buenglee
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
julee2506
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOMPolicy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Klangpanya
 

Similar to Policy Brief 5/2562 เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน: ทำไมและอย่างไร (20)

World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOMPolicy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
Klangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
Klangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

Policy Brief 5/2562 เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน: ทำไมและอย่างไร

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1 เอกสารนโยบายฉบับนี้ เรียบเรียงขึ้นจากการบรรยายพิเศษของผู้เขียน ณ คณะนโยบายและการจัดการ สถาบันศึกษาการพัฒนาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KDI School of Policy and Management) วันที่ 19 กรกฎาคม 2562 (สิงหาคม) เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน อาเซียน: ทาไมและอย่างไร เสกสรร อานันทศิริเกียรติ นักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ บทนา การพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นประเด็นสาคัญด้านการต่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นผู้ขับเคลื่อนใน ระดับนานาชาติมาโดยตลอด ในวาระที่ไทยเป็นประธานอาเซียนใน ค.ศ. 2019 ได้ประกาศแนวคิดหลัก คือ "ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน (Advancing Partnership for Sustainability)" ซึ่งเน้นการเชื่อมโยงผู้ ส่วนได้เสียในกระบวนการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนสู่อาเซียนที่มีความพร้อมด้านดิจิทัล และความยั่งยืนใน ทุกมิติ โดยเฉพาะเศรษฐกิจสีเขียว ความมั่นคง และการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมอย่างยั่งยืน บทความนี้เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน พร้อมกับ เสนอเหตุผลที่ประเทศต่าง ๆ ในอาเซียนควรร่วมมือกันขับเคลื่อนวาระของประธานอาเซียน ได้แก่ เหตุผลทางยุทธศาสตร์ เหตุผลทางการเมือง และเหตุผลทางการพัฒนา และเสนอการปฏิบัตินโยบายที่ สมาชิกอาเซียนสามารถทาได้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนในกรอบอาเซียน ประเมินสถานการณ์การพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน รายงานการขับเคลื่อนการดาเนินงานของอาเซียนในเรื่องความเกื้อกูลระหว่างวิสัยทัศน์ ประชาคมอาเซียน ค.ศ. 2025 กับวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ของสหประชาชาติที่ประเทศไทย เป็นผู้จัดทาหลักร่วมกับคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสาหรับเอเชียและแปซิฟิก (UNESCAP) ได้ประเมินสถานการณ์การพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียนในห้ามิติ ได้แก่ การขจัด ฉบับที่ 5 / 2562 Policy Brief
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2 ความยากจน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและความเชื่อมโยง การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน การผลิตและการบริโภคอย่างยั่งยืน และความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ โดยเปรียบเทียบ สถานการณ์ปัจจุบัน (ข้อมูล ณ ค.ศ. 2015) และคาดการณ์สถานการณ์ที่เป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นใน ค.ศ. 20301 ภาพรวมของรายงานดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า สถานการณ์การพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งห้ามิติในภูมิภาค อาเซียนนั้นก้าวหน้าขึ้นจาก ค.ศ. 2000 และหากอาเซียนสามารถรักษาระดับการพัฒนาไว้เช่นนี้ได้อย่าง ต่อเนื่อง อาเซียนก็มีความสามารถใกล้เคียงที่จะบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ ได้ภายใน ค.ศ. 2030 อัตราความยากจนของประเทศสมาชิกอาเซียนลดลงในแง่ที่ประชากรอาเซียนมี ความสามารถในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานและมีรายได้เลี้ยงชีพ แต่ความท้าทายยังคงมีอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การยกระดับสุขภาวะและการเข้าถึงบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นภารกิจ สาคัญของรัฐในการช่วยลดช่องว่างการพัฒนา นอกจากการขจัดความยากจนแล้ว รายงานฉบับนี้ได้ชี้ให้เห็นแนวโน้มของความเป็นไปได้ในการ พัฒนาเศรษฐกิจที่เน้นอุตสาหกรรมหนักและการเกิดเมือง ซึ่งจะทาให้แต่ละประเทศมีความต้องการ โครงสร้างและระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ความต้องการเหล่านี้ส่งผลต่อการบริหารจัดการการผลิตและ การบริโภค ตลอดจนการพัฒนาโครงข่ายความเชื่อมโยงต่าง ๆ เช่น พลังงาน โทรคมนาคม เป็นต้น แม้ รายงานจะคาดการณ์ว่า อาเซียนมีโอกาสพัฒนาจนไต่ระดับไปอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีความก้าวหน้าอย่าง ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สหภาพยุโรป ฯลฯ อาเซียนก็ยังมีความท้าทายที่ต้องเผชิญทั้งผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจการเมืองโลก รัฐบาลของอาเซียนยังมีขีดความสามารถที่จากัดในการ รับมือความท้าทายดังกล่าว ทาไมต้องอาเซียน? ผู้เขียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนกับนักศึกษาคณะนโยบายและการจัดการ สถาบันศึกษาการพัฒนา แห่งสาธารณรัฐเกาหลี (KDI School of Policy and Management) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัตินโยบายจาก กลุ่มประเทศอาเซียน โดยได้ถามคาถามสาคัญสามข้อ ได้แก่ อะไรคือปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาที่สาคัญ และเร่งด่วนที่สุดในประเทศของท่าน? ท่านคิดว่าการดารงอยู่ของประชาคมอาเซียนช่วยแก้ปัญหา ดังกล่าวหรือไม่? และอะไรคือนิยามของความยั่งยืนในทรรศนะของท่าน? ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เห็นพ้องกัน ว่า ในประเทศของพวกเขา แทบทุกปัญหาทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาสาคัญ และเร่งด่วนทั้งสิ้น การดารงอยู่ของอาเซียนมีประโยชน์ในแง่ที่ช่วยสร้างพื้นที่ของความร่วมมือระดับ ภาครัฐในการจัดการปัญหาภูมิภาคและแบ่งปันประสบการณ์กับแนวปฏิบัติที่ดีจากประเทศอาเซียน 1 UN, Ministry of Foreign Affairs, Thailand & ASEAN Secretariat, Complementarities between the ASEAN Community 2025 and the United Nations 2030 Agenda for Sustainable Development: A Framework for Action, (Bangkok: UNESCAP, 2017), 5-6.
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3 ด้วยกัน ผู้เข้าฟังส่วนใหญ่เห็นว่า นิยามของความยั่งยืนที่สาคัญคือ ระยะยาว (Long-term) มีเสถียรภาพ (Stable) และมีศักยภาพในการธารงรักษา (Ability to sustain) ในทรรศนะของผู้เขียน คาตอบเหล่านี้เป็นการยืนยันว่า การพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นประเด็นสาคัญ ในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียน และอาเซียนมีส่วนเสริมสร้างขีดความสามารถของแต่ละรัฐสมาชิกใน การขับเคลื่อนการพัฒนา ผู้เขียนมีสามเหตุผลเพิ่มเติมว่า ทาไมประเทศสมาชิกอาเซียนควรส่งเสริมการ พัฒนาอย่างยั่งยืน เหตุผลแรกคือเหตุผลทางยุทธศาสตร์ ที่ตั้งของอาเซียนนั้นอยู่ระหว่างมหาอานาจที่ กาลังผงาดสองแห่งได้แก่ จีนและอินเดีย ซึ่งจีนมียุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (Belt and Road Initiative: BRI) ส่วนอินเดียมีนโยบายมุ่งตะวันออก (Act East Policy) ขณะเดียวกัน อาเซียนก็เป็น ศูนย์กลางฉากทัศน์ (Scenario) ของยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา และเป็นเป้าหมายทาง ยุทธศาสตร์ของญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นโยบายมุ่งใต้ใหม่ของเกาหลีใต้ (New Southern Policy) นโยบายมุ่ง ใต้ใหม่ของไต้หวัน (New Southbound Policy) การเป็นศูนย์กลางของยุทธศาสตร์นี้เป็นโอกาสให้ อาเซียนสามารถระดมทรัพยากรที่จะเข้ามาตอบสนองความต้องการการพัฒนาได้ และทาให้อาเซียนมี ตัวเลือกว่าใครเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาที่เหมาะสมที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หุ้นส่วนที่พึงใจและไม่เสนอข้อ แลกเปลี่ยนที่ทาให้รัฐบาลของประเทศสมาชิกลาบากใจมากนักแต่ในขณะเดียวกัน อาเซียนก็เป็น ศูนย์กลางของความเสี่ยงจากการปรับปรุงระบบพันธมิตรใหม่และโอกาสที่จะเกิดการปะทะด้วยกาลัง ทหารในพื้นที่สุ่มเสี่ยง เช่น ทะเลจีนใต้ สาหรับเหตุผลทางการเมือง การมีความร่วมมืออย่างแน่นแฟ้นในภูมิภาคย่อมส่งเสริมความเป็น แกนกลางของอาเซียน (ASEAN Centrality) ความเป็นแกนกลางของอาเซียนนี้มีสองนัยสาคัญคือ การที่ อาเซียนสามารถแสดงออกเป็นเสียงเดียวกันในการต่อรองกับคู่เจรจาต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด สาหรับภูมิภาคที่ทุกประเทศสมาชิกได้ประโยชน์ร่วมกัน อีกนัยหนึ่งก็คือ การยืนยันว่า แนวปฏิบัติหรือวิถี อาเซียน (ASEAN Way) นั้นเป็นสิ่งที่ยังใช้ได้ในสถานการณ์ปัจจุบัน อาเซียนไม่จาเป็นต้องเหมือนหรือ เดินตามแนวทางของสหภาพยุโรปก็สามารถรักษาเสถียรภาพและขับเคลื่อนอย่างมีประสิทธิภาพได้ แม้ จะต้องใช้เวลาบ้างก็ตาม ส่วนเหตุผลทางด้านการพัฒนานั้น รายงานเรื่องอาเซียนในฐานะสถาปัตยกรรม รองรับความร่วมมือด้านการพัฒนาระดับภูมิภาคระบุว่า ผู้ให้เงินช่วยเหลือ (Donor) ส่วนใหญ่มีแนวโน้ม ให้เงินสนับสนุนความร่วมมือด้านการพัฒนาในระดับภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาคม มากขึ้น ใน ค.ศ. 2000 ยอดเงินช่วยเหลือทั้งแบบให้เปล่าและแบบกู้ยืมอยู่ที่ 47.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ ค.ศ. 2013 ยอดเงินดังกล่าวอยู่ที่ 190.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในบรรดาผู้ให้เงินช่วยเหลือทั้งหมด ออสเตรเลียเป็นผู้ให้เงินช่วยเหลือจานวนสูงที่สุด2 หากประเทศสมาชิกสามารถแสดงออกเป็นเสียง เดียวกันในการดึงดูดความสนใจของความร่วมมือด้านการพัฒนาได้ ประชาคมอาเซียนจะกลายเป็นผู้เล่น สาคัญในการต่อรองจานวนเงิน และช่วยเป็นผู้ประสานเรื่องการบรรเทาความเสี่ยงไปด้วยในเวลาเดียวกัน 2 Thomas Parks, Larry Maramis, Apichai Sunchindah & Weranuch Wongwatanakul, ASEAN as the Architect for Regional Development Cooperation: Advancing ASEAN Centrality & Catalyzing Action for Sustainable Development, (Bangkok: The Asia Foundation, 2018), 16.
  • 4. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 4 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับอาเซียน ผู้เขียนเห็นว่า อาเซียนจาเป็นต้องมีเป้าหมายและมาตรการที่ชัดเจนในการขับเคลื่อนการพัฒนา อย่างยั่งยืนเพื่อลดทอนความเป็นการเมืองและการช่วงชิงความเป็นใหญ่ของคู่เจรจาในภูมิภาคลง เอกสารการประเมินภาพรวมยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของอาเซียน (ASEAN Outlook on the Indo- Pacific) เป็นตัวอย่างที่ดีของการแปรเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ให้กลายเป็นการสร้างความร่วมมือด้าน การพัฒนาโดยกาหนดประเด็นสาคัญ เช่น การระดมทรัพยากรของสหรัฐอเมริกาเพื่อสร้างความเชื่อมโยง ของความเชื่อมโยงอาเซียน (Connecting the Connectivities) ความมั่นคงทางทะเล เป็นต้น ในระดับ อาเซียน รายงานการขับเคลื่อนการดาเนินงานของอาเซียนในเรื่องความเกื้อกูลระหว่างวิสัยทัศน์ ประชาคมอาเซียน ค.ศ. 2025 กับวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ของสหประชาชาติได้กาหนดเจ็ด โครงการนาร่อง ได้แก่ การเสริมสร้างภาวะโภชนาการให้แก่กลุ่มอ่อนไหว การจัดตั้งคณะมนตรีอาเซียน ว่าด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืน การจัดตั้งวงสัมมนาเรื่องการจัดสรรทรัพยากรของ อาเซียนที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคส่วนต่าง ๆ การพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่รัก สิ่งแวดล้อม การจัดตั้งกลไกของอาเซียนเพื่อถ่ายโอนความเสี่ยง การจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อศึกษาการ พัฒนาอย่างยั่งยืน และโครงการเสริมสร้างความตระหนักรู้เรื่องความเกื้อกูลระหว่างสองวิสัยทัศน์3 จะเห็นได้ว่า อาเซียนมีความเห็นพ้องในเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนอยู่แล้ว และประเทศไทยก็ได้ มีบทบาทในการผลักดันความริเริ่มใหม่ ๆ มาโดยตลอด ผู้เขียนเห็นว่า ก้าวต่อไปสาหรับการขับเคลื่อน การพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียนคือ การพัฒนาเชิงสถาบันด้วยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการของ หน่วยงานภาครัฐและสถาบันวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียนเพื่อกาหนด ประเด็นร่วมกัน และหารือแนวทางการยกระดับการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างยั่งยืนในฐานะวาระของ อาเซียนในอนาคต และการสร้างความรับรู้เรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามกรอบอาเซียนด้วยกิจกรรมการ ทูตสาธารณะ เช่น การจัดประกวดสุนทรพจน์ เรียงความ คลิปวิดีโอ การจัดค่ายเยาวชน การสัมมนาเพื่อ สร้างเครือข่ายตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐในการขับเคลื่อนการนาความริเริ่มด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนไปปฏิบัติ พร้อมกับระดมแนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของไทยให้เผยแพร่ออกไปสู่ภูมิภาค * * * 3 UN, Ministry of Foreign Affairs, Thailand & ASEAN Secretariat, Complementarities between the ASEAN Community 2025, 6-7.