SlideShare a Scribd company logo
แผนปฏิบัติการประจาปี
ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนพานพร้าว
อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอานวจการบริหารและจัดการ
การศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปยังคณะกรรมการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษา ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2550 ได้กาหนดให้การจัดทา
แผนปฏิบัติการประจาปีเป็นภารกิจของโรงเรียน เพื่อเป็นการวางแผนการบริหารการศึกษา ใช้เป็นเครื่องมือ
สาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในการปฏิบัติจริงอย่างมีกรอบทิศทาง รวมทั้งยังเป็นเครื่องมือสาคัญใน
การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพให้เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจที่กาหนดเกี่ยวกับการใช้จ่ายงบประมาณ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ กอปรกับความในข้อ 16(ช) ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยระบบ
หลักเกณฑ์ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ได่กาหนดให้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อเป็น
คู่มือในการดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในเช่นกัน โรงเรียนพานพร้าว จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติ
การนี้ขึ้น โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว และบุคลากรที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
ขอขอบพระคุณคณะผู้จัดทาและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านเป็นอย่างสูงที่มีส่วนทาให้การจัดทาแผนปฏิบัติ
การโรงเรียนพานพร้าว สาเร็จด้วยดีตามวัตถุประสงค์ทุกประการ
คณะผู้จัดทา
บทที่ 1
บริบทของสถานศึกษา
1. ประวัติ/ที่ตั้ง โดยสังเขป
โรงเรียนพานพร้าว อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคายมีประวัติและความเป็นมาโดยลาดับ ดังต่อไปนี้
❖โรงเรียนพานพร้าว เปิดทาการสอนตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 31
พฤษภาคม พ.ศ. 2503 โดยให้เปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 1 ห้องเรียน เป็นแบบสหศึกษา รับ
นักเรียน ในปีแรกได้จานวน 27 คน และแต่งตั้ง นายคง โพธิบัณฑิต ให้ดารงตาแหน่ง ครูใหญ่ เมื่อวันที่ 16
มิถุนายน พ.ศ. 2503
❖โรงเรียนได้ประกอบพิธีเปิดเป็นทางการ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 ที่โรงเรียนปริยัติธรรมวัด
ช้างเผือก และอาศัยทาการสอน อยู่ที่โรงเรียนปริยัติธรรมวัดช้างเผือก เป็นเวลา1 ปีการศึกษา ต่อมาจึงย้ายไป
อาศัยอาคารเรียนของโรงเรียนศรีเชียงใหม่ จนกระทั่งถึงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2505 จึงได้ย้ายมาทาการ
สอน ในอาคารเรียนของโรงเรียนปัจจุบันจนมาถึงปัจจุบันนี้
❖ มื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2506 นายเยื้อ วิชัยดิษฐ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้มาประกอบ
พิธีเปิดป้ายนามโรงเรียน ซึ่งเปิดป้ายโรงเรียนครั้งแรก เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 โรงเรียนมีชื่อว่า
“ศรีเชียงใหม่วิทยา” แต่ต่อมาเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2503 โรงเรียนได้รับอนุมัติจากกรมวิสามัญศึกษาให้
ชื่อโรงเรียนว่า “โรงเรียนพานพร้าว” และให้ใช้อักษรย่อว่า “น.ค. 17 ” ในปี พ.ศ. 2514 ได้เปลี่ยนมาใช้
อักษรย่อของโรงเรียนว่า “พ.พ.” และได้ใช้มาจนถึงปัจจุบัน
ทาเลที่ตั้ง
โรงเรียนพานพร้าว ตั้งอยู่เลขที่ 86 หมู่ 5 ตาบลพานพร้าว (เขตเทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่)
อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีพื้นที่ 2 แปลง มีถนนสายศรีเชียงใหม่สังคม ผ่ากลาง แปลงที่ 1 มี
พื้นที่ 19 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา แปลงที่ 2 มีพื้นที่ 14 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา รวมมีพื้นที่ 33 ไร่
3 งาน 9 ตารางวา ระยะทางจากที่ว่าการอาเภอศรีเชียงใหม่ถึงโรงเรียนประมาณ 1.5 กิโลเมตร ห่างจาก
จังหวัดหนองคาย 57 กิโลเมตร
ทิศเหนือ จดที่ส่วนบุคคล
ทิศใต้ จดวัดป่าพระสถิตย์
ทิศตะวันออก จดที่ส่วนบุคคลและวัดป่าพระสถิตย์
ทิศตะวันตก จดที่ส่วนบุคคล
อักษรย่อ พ.พ.
สีประจาโรงเรียน ฟ้า - ชมพู
คติพจน์ของโรงเรียนพานพร้าว (Motto)
“ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม”
เรียนดี คือการศึกษาคือชีวิตที่เจริญเติบโต ให้ความรู้ ความจริงที่เป็นอมตะ และชี้นาแนวทางการ
ดารงชีวิตที่มีวินัย เรียบง่าย มีเมตตาธรรม และมีปณิธานอันแน่วแน่ที่จะศึกษาทั้งด้านศาสตร์และศิลป์ รวมทั้ง
วิทยาการ ที่ทันสมัย เพื่อประกอบสัมมาอาชีพ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตจะธารงและเทิดทูน ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
มีวินัย หมายถึง การรู้จักเคารพต่อกฎกติกา ระเบียบและศักดิ์ศรีของผู้อื่น เคารพผู้อาวุโสกว่า ทั้ง
คุณวุฒิและวัยวุฒิ มีความเป็นประชาธิปไตยแก้ปัญหาในชีวิต ด้วยสันติวิธีมีความรับผิดชอบต่อตนเองและ
ส่วนรวม รักษาความสะอาดและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ใฝ่หาคุณธรรม หมายถึง ความมีศรัทธาในศาสนาที่ตนนับถือและไม่ลบหลู่ดูหมิ่นศาสนาอื่นสามารถ
อยู่ร่วมกันอย่างสันติการมีค่านิยมในชีวิตที่ถูกต้อง มีความเข้าใจ และซาบซึ้งในคุณค่าของวัฒนธรรมไทย
เครื่องหมายประจาโรงเรียน
2. ทาเนียบผู้บริหาร
ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง ปีที่ปฏิบัติหน้าที่
1. นายคง โพธิบัณทิต ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ พ.ศ. 2503 - 2524
2. นายวีระพงศ์ ดวงอุทา ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2524 - 2532
3. นายสมภาร ร่มโพธิ์ทอง ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2532 - 2533
4. นางลออ จองอยู่ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2533 - 2534
5. นายโสภณ บารุงสงฆ์ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2534 - 2535
6. ว่าที่ร้อยตรี สุเทพ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2535 - 2537
7. นายประคอง พัวตะนะ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2537 - 2544
8. นายเดชา พจนสุนทร ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2544 - 2547
9. นายอนันต์ อมตฉายา ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2547 - 2558
10. นายจิตการ หนูจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ.2558 – 2561
11. นายคมสัน ชัยจักร์ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน
ข้อมูลครูและบุคลากร
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหาร ครู และบุคลากร มีดังนี้
1) ผู้บริหารชื่อ นายคมสัน ชัยจักร์ ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.
2561 จนถึงปัจจุบัน
2) จานวนครูผู้สอน จาแนกเป็น
- ข้าราชการ 29 คน
- พนักงานราชการ 4 คน
- ครูอัตราจ้าง 2 คน
3) ลูกจ้างชั่วคราว จานวน 3 คน
4) ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร จาแนกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้
วุฒิการศึกษา
จานวน (คน)
รวมชาย หญิง
ปริญญาเอก - 1 1
ปริญญาโท 3 3 6
ปริญญาตรี 13 14 27
ตากว่าปริญญาตรี 2 1 3
รวม 18 19 37
บทที่ 2
ทิศทางการบริหารการศึกษา
วิสัยทัศน์ (Vision)
โรงเรียนพานพร้าว เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาผู้เรียนและบุคลากรให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์บน
พื้นฐานความเป็นไทย มีการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นระบบสู่ความเป็นสากล
พันธกิจ (Mission)
1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นประชาธิปไตย มีคุณธรรมจริยธรรม
สืบทอดศิลปะวัฒนธรรมประเพณีไทย นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
2. พัฒนาผลสัมฤทธิ์และคุณลักษณะของผู้เรียน ให้แสวงหาความรู้ มีความสามารถในการสื่อสารโดย
ใช้เทคโนโลยี รู้จักไตร่ตรอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข
3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ป้องกันตนเองจากยาเสพติด มีสุนทรียภาพ และ
ลักษณะนิสัยทางด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา และเข้าร่วมกิจกรรมที่หลากหลาย
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความสามารถ ใช้ทักษะชีวิตในการแก้ปัญหา มีจิตสาธารณะและเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพสุจริต มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสานึกในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม และสามารถทางานร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
5. ส่งเสริมบุคลากรให้มีจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพครู มีความรู้ความสามารถในการจัดการ
เรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน
6. ส่งเสริมการจัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้สภาพแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้เรียนพัฒนา
ตนเองเต็มตามศักยภาพ และมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน
7. ส่งเสริมการบริหารการจัดการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพสู่ความเป็นสากล มีการประกันคุณภาพ
ภายในอย่างเป็นระบบ และการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
เป้าประสงค์ (Goals)
1. ผู้เรียนมีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นประชาธิปไตย มีคุณธรรมจริยธรรม สืบทอด
ศิลปะวัฒนธรรมประเพณีไทย ดาเนินชีวิตด้วยการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และภูมิปัญญาท้องถิ่นมา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีคุณลักษณะเป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความสามารถ
มีทักษะในการสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยี รู้จักการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
3. ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด มีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี
กีฬา ร่วมกิจกรรมที่หลากหลาย
4. ผู้เรียนมีทักษะชีวิตในการแก้ปัญหา มีจิตสาธารณะและเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มุ่งมั่นในการทางาน
อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
5. บุคลากรมีจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพครู มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้เรียน
6. โรงเรียนมีหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองเต็ม
ตามศักยภาพ มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน
7. มีระบบการบริหารการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสู่ความเป็นสากล มีการประกันคุณภาพภายใน
อย่างเป็นระบบ เน้นการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
เอกลักษณ์ของโรงเรียน (Uniqueness)
“วินัยเด่น เน้นคุณธรรม นาความรู้”
อัตลักษณ์ของโรงเรียน (Identity)
“ไหว้สวย รวยคุณธรรม”
นโยบายของโรงเรียน (Policy)
โรงเรียนพานพร้าว เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนรักความจริง ความดีและความงาม รู้จักรักและรับ
ใช้เพื่อให้นโยบายดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์โรงเรียนพานพร้าว จึงมีการดาเนินการ ดังนี้
1. ปลูกฝังให้ผู้เรียนยึดมั่นในศาสนา คุณธรรม จริยธรรม โดยเน้นให้เป็นผู้รักความจริง ความดี และ
ความงาม รู้จักรักและรับใช้
2. ส่งเสริมและพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
3. พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
4. จัดให้มีการตรวจประกันคุณภาพภายในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารงานให้ดาเนินการ
ไปอย่างมีประสิทธิภาพ
5. สร้างความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการของโรงเรียน โดยดาเนินการตามระบบการบริหารจัดการที่มี
คุณภาพ
จุดเน้นของโรงเรียน
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระวิชาเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 (Student Achivement)
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทุกคน อ่านออกเขียนได้ และคิดเป็น
3. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี
4. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ (EQ: Emotional Quotient)
5. ส่งเสริมให้ทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและ
ประกอบอาชีพ (Alternative Learning)
6. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
7. นักเรียน ครู และโรงเรียนได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN
Community)
8. โรงเรียนผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และผ่านการ
รับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools)
กลยุทธ์การพัฒนาโรงเรียนพานพร้าว
กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ตาม
หลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในการเป็นชาติไทย ค่านิยมที่ดีงามตามอัตลักษณ์ของ
สถานศึกษา และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ 3 สนับสนุนการขยาย โอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม นักเรียนได้รับโอกาสในการ
พัฒนาเต็มตามศักยภาพ
กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี
คุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพครูและมาตรฐานสากล
กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาลเน้นการมีส่วนร่วม
จากทุกภาคส่วน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษากับกลยุทธ์โรงเรียน
ที่ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
1.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกาย สม่าเสมอ
1.2 มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
1.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยง ต่อความรุนแรง
โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ
1.4 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
1.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
1.6 สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตาม
จินตนาการ
ที่ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
2.1 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
2.2 เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
2.3 ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
2.4 ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง
3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ
รอบตัว
3.2 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
3.3 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้
อย่างมีสติ สมเหตุผล
4.1 สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของ
ตนเอง
4.2 นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
4.3 กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
4.4 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับ
5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญอยู่ในระดับผ่านเกณฑ์
5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเฉลี่ยมีพัฒนาการที่ดีขึ้นกว่าเดิม
มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติ
ที่ดีต่ออาชีพสุจริต
6.1 วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ
6.2 ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง
6.3 ทางานร่วมกับผู้อื่นได้
6.4 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
ที่ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล
7.1 ครูมีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการสมรรถนะ และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
7.2 ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
7.3 ครูออกแบบและการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง
สติปัญญา
7.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนาบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณา
การในการจัดการเรียนรู้
7.5 ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
7.6 ครูให้คาแนะนาคาปรึกษาและแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วย
ความเสมอภาค
7.7 ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการ
สอน
7.8 ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
7.9 ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ
มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล
8.1 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน
8.2 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเป็นฐาน
คิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ
8.3 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการ
8.4 ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจายอานาจ
8.5 นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา
8.5 ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็ม
เวลา
มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล
9.1 คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด
9.2 คณะกรรมการสถานศึกษากากับติดตามดูแล และขับเคลื่อนการดาเนินงานของสถานศึกษาให้
บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย
9.3 ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน
อย่างรอบด้าน
10.1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น
10.2 จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ
10.3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถความถนัด และ
ความสนใจของผู้เรียน
ที่ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
10.4 สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง
10.5 นิเทศภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบ และนาผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ
10.6 จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน
มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็ม
ศักยภาพ
11.1 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอานวยความสะดวก
พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สาหรับผู้เรียน
11.2 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน
11.3 จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
12.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
12.2 จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
12.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
12.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
12.5 นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง
12.6 จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
13.1 มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน
และภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้ง
ผู้ที่เกี่ยวข้อง
13.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว
ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนด
ขึ้น
14.1 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้นของ
สถานศึกษา
14.2 ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของ
สถานศึกษา
มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและ
ส่งเสริม สถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
15.1 จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา
15.2 ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมายและพัฒนาดีขึ้นกว่าที่ผ่านมา
นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21
วิสัยทัศน์
เป็นองค์กรขับเคลื่อนการจัดการศึกษามัธยมศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนสูงขึ้น มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานสู่สากล
พันธกิจ
ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเป็น
บุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้คู่คุณธรรม พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาค
ส่วน
มาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21
ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน และ 17 ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศ
ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารจัดการที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 2 การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 3 การกระจายอานาจและการส่งเสริมการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ตัวบ่งชี้ที่ 4 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารงานด้านวิชาการ
ตัวบ่งชี้ที่ 2 การบริหารงานด้านงบประมาณ
ตัวบ่งชี้ที่ 3 การบริหารงานด้านการบริหารงานบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่ 4 การบริหารงานด้านการบริหารทั่วไป
ตัวบ่งชี้ที่ 5 การขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
มาตรฐานที่ 3 ผลการบริหารและการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีผลงานที่แสดงความสาเร็จ และเป็นแบบอย่างได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีคุณภาพตามหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนมีคุณภาพตามจุดเน้นและสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางกาศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประชากรวัยเรียนได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานเท่าเทียมกัน
และศึกษาในระดับสูงขึ้น
ตัวบ่งชี้ที่ 8 ความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล อีกทั้งเป็นไป
ตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานได้กาหนด โรงเรียนจึงได้นามาตรฐานต่างๆ มาวิเคราะห์ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อรองรับการ
ประเมินสถานศึกษาต่อไป
มาตรฐานการศึกษาขึ้นพื้นฐาน แบ่งเป็น 5 ด้าน มี 15 มาตรฐาน ดังนี้
ด้านที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ
แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ด้านที่ 2 มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล
มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาท
หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน
มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
พัฒนาเต็มศักยภาพ
มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนด
ในกฎกระทรวง
ด้านที่ 3 มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม
แห่งการเรียนรู้
ด้านที่ 4 มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น
ที่กาหนดขึ้น
ด้านที่ 5 มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ
พัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562
วิสัยทัศน์
สร้างคุณภาพทุนมนุษย์ สู่สังคมอนาคตที่ยั่งยืน
พันธกิจ
๑. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง ในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขัน
๓. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะ ในศตวรรษที่ ๒๑
๔. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทาง การศึกษาอย่าง
ทั่วถึงและเท่าเทียม
๕. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ
๖. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ
พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
๗. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยี
ดิจิทัล (Digital Technology) เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand ๔.๐
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
โดยยึดหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต เป็น
แนวทางในการจัดการศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ –
๒๕๗๙ และมุ่งสู่ Thailand ๔.๐ ดังนี้
นโยบายที่ ๑ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ
นโยบายที่ ๒ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
นโยบายที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษา
นโยบายที่ ๕ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
นโยบายที่ ๖ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา
นโยบายที่ ๑ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ
เป้าประสงค์
๑. ผู้เรียนทุกคนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒. ผู้เรียนทุกคนมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม
จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น และสังคมโดยรวม
ซื่อสัตย์ สุจตริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษาศีลธรรม
๓. ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม ทุกรูปแบบที่มี
ผลกระทบต่อความมั่นคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและ ทรัพย์สิน การค้ามนุษย์
อาชญากรรมไซเบอร์และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น
๔. ผู้เรียนในเขตพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับโอกาส และการพัฒนา
อย่างเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
๕. ผู้เรียนในเขตพื้นที่เฉพาะ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่ ห่างไกลทุรกันดาร
เช่น พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง เป็นต้น ได้รับการบริการ ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี
คุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ
ตัวชี้วัด
๑. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้องเป็น
พลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีคุณธรรม อัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิต
อาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น และสังคมโดยรวม ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย
และรักษาศีลธรรม
๓. ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่
มีผลกระทบต่อความมั่นคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคาม ในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์
อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น
๔. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับโอกาส และการพัฒนา
อย่างเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
๕. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่เฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ ในพื้นที่ห่างไกล
ทุรกันดาร เช่น พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง ได้รับการบริการ ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี
คุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ สอดคล้องกับบริบท ของพื้นที่
๖. จานวนสถานศึกษาที่น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทร
รามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ไป
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
๗. จานวนสถานศึกษาที่จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนแสดงออกถึง
ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดี ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม
นโยบายที่ ๒ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
เป้าประสงค์
๑. ผู้เรียนทุกระดับให้มีความเป็นเลิศ มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑
๒. ผู้เรียนมีความเป็นเลิศตามความถนัดและความสนใจ นาไปสู่การพัฒนา ทักษะ วิชาชีพ เป็นนักคิด
เป็นผู้สร้างนวัตกรรม เป็นนวัตกร
๓. ผู้เรียนได้รับโอกาสเข้าสู่เวทีการแข่งขันระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด
๑. จานวนผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะความรู้ที่สอดคล้องกับทักษะ ที่จาเป็นใน
ศตวรรษที่ ๒๑
๒. ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาผ่านการประเมินสมรรถนะที่จาเป็นด้านการรู้เรื่องการอ่าน (Reading
Literacy) ด้านการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และด้านการรู้เรื่อง วิทยาศาสตร์ (Scientific
Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA
๓. ร้อยละของผู้เรียนที่มีศักยภาพได้รับโอกาสเข้าสู่เวทีการแข่งขันระดับนานาชาติ
นโยบายที่ ๓ ด้านการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์
เป้าประสงค์
๑. หลักสูตรปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการพัฒนา ที่สอดคล้องกับแนวโน้ม
การพัฒนาของประเทศ
๒. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และมีทักษะความสามารถ ที่สอดคล้องกับ
ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ ภายใต้สังคม
ที่เป็นพหุวัฒนธรรม รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรู้เพื่อการวางแผนชีวิต ที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยและนาไป
ปฏิบัติได้
๓. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และทักษะนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรม
๔. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา มีทักษะอาชีพที่
สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
๕. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถ
ดารงชีวิตอย่างมีความสุขทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
๖. ครู เปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” ผู้ให้คาปรึกษาข้อเสนอแนะ การเรียนรู้หรือ
ผู้อานวยการการเรียนรู้
๗. ครู มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรีย นการสอน และเป็นแบบอย่าง ด้านคุณธรรมและ
จริยธรรม
ตัวชี้วัด
๑. ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ (3R8C)
๒. ร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีคะแนนผลการทดสอบความสามารถ พื้นฐาน
ระดับชาติ (NT) ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
๓. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่า
ร้อยละ ๕๐ ในแต่ละวิชาเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา
๔. ร้อยละผู้เรียนที่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มี
ทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา ตามความถนัด และความต้องการของตนเอง มีทักษะ
อาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ วางแผนชีวิต และวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนาไป
ปฏิบัติได้
๕. ผู้เรียนทุกคนมีทักษะพื้นฐานในการดารงชีวิต สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข มี
ความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ภายใต้สังคมที่เป็น พหุวัฒนธรรม
๖. ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถ ดารงชีวิตอย่างมี
ความสุขทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
๗. ครู มีการเปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “ Coach” ผู้ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะการเรียนรู้
หรือผู้อานวยการการเรียนรู้
นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และการลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษา
เป้าประสงค์
๑. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโลกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Global Goals for
Sustainable Development)
๒. สถานศึกษากับองค์กรปกครองท้องถิ่น ภาคเอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับพื้นที่ ร่วมมือ
ในการจัดการศึกษา
๓. สถานศึกษามีคุณภาพ และมีมาตรฐานตามบริบทของพื้นที่
๔. งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษามีเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้อง กับสภาพข้อเท็จจริง
โดยคานึงถึงความจาเป็นตามสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ตั้ง ของสถานศึกษา
๕. งบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย และงบลงทุนแก่สถานศึกษาอย่างเหมาะสมเพื่อให้ สถานศึกษา
บริหารงานจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
๖. นาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเป็นเครื่องมือให้ผู้เรียนได้มีโอกาส เข้าถึงบริการด้าน
การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๗. พัฒนาระบบการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลเพื่อสร้างหลักประกันสิทธิ การได้รับการศึกษาที่
มีคุณภาพของประชาชน
ตัวชี้วัด
๑. ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าเรียนในสถานศึกษาที่มีคุณภาพเป็นมาตรฐานเสมอกัน
๒. ผู้เรียนทุกคนได้รับจัดสรรงบประมาณอุดหนุน อย่างเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ
ข้อเท็จจริง โดยคานึงถึงความจาเป็นตามสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ตั้งของสถานศึกษา
และความต้องการจาเป็นพิเศษสาหรับผู้พิการ
๓. ผู้เรียนได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ
ในการเรียนรู้อย่างเหมาะสม เพียงพอ
๔. ครูได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพื่อใช้ เป็นเครื่องมือใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
๕. สถานศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานอย่างเหมาะสมตามบริบท ด้านประเภท ขนาด และพื้นที่
๖. สถานศึกษานาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้เป็นเครื่องมือในการ จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๗. สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนว ที่มีประสิทธิภาพ
๘. สถานศึกษาที่มีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียนและสามารถนามาใช้ในการ วางแผนจัดการเรียนรู้
ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นโยบายที่ ๕ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์
๑. สถานศึกษา นักเรียนได้รับการส่งเสริมด้านความรู้ การสร้างจิตสานึกด้านการผลิต และบริโภค ที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๒. สถานศึกษาสามารถนาเทคโนโลยีมาจัดทาระบบสารสนเทศการเก็บข้อมูล ด้านความรู้ เรื่อง ฉลากสี
เขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม ฯลฯ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในทุกโรงเรียน ตามแนวทาง Thailand ๔.๐
๓. สถานศึกษามีการจัดทานโยบายจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๔. สถานศึกษามีการบูรณาการหลักสูตร กิจกรรมเรื่องวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ การผลิตและบริโภค สู่
การลดปริมาณคาร์บอนในโรงเรียนคาร์บอนต่าสู่ชุมชนคาร์บอนต่า
๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน ทุก
โรงเรียนในสังกัดมีการปรับปรุงและพัฒนาเป็นหน่วยงานต้นแบบสานักงานสีเขียว (GREEN OFFICE) เพื่อให้มี
บริบทที่เป็นแบบอย่างเอื้อหรือสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน
๖. สถานศึกษาในสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาก ๒๒๕ เขต มีนโยบายส่งเสริม
ความรู้และสร้างจิตสานึกและจัดการเรียนรู้การผลิตและบริโภคที่เป็น มิตร กับสิ่งแวดล้อม
๗. สถานศึกษาต้นแบบนาขยะมาใช้ประโยชน์เพื่อลดปริมาณขยะ จานวน ๑๕,๐๐๐ โรงเรียน
๘. มีสถานศึกษานวัตกรรมต้นแบบในการนา 3RS มาประยุกต์ใช้ในการผลิต และบริโภคที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม จานวน ๖,๐๐๐ โรงเรียน ๙. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๒๒๕ เขต มีการทานโยบายการจัดซื้อ
จัดจ้าง ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด
๑. สถานศึกษาในสังกัดมีนโยบายและจัดกิจกรรมให้ความรู้ ที่ถูกต้องและสร้าง จิตสานึกด้านการผลิต
และบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนาไปปฏิบัติใช้ที่บ้านและชุมชน เช่น การส่งเสริมอาชีพที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม การลดใช้สารเคมีจากปุ๋ยและยาฆ่าแมลง ฯลฯ
๒. สถานศึกษามีการนาขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปผลิตภัณฑ์และพลังงานเพื่อลดปริมาณขยะ และมี
ส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชนเพื่อลดปริมาณคาร์บอนที่โรงเรียนและชุมชน
๓. สถานศึกษามีการบูรณาการเรื่องการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมและการนาขยะ มาใช้ประโยชน์
รวมทั้งสอดแทรกในสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
๔. นักเรียนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีการขยายผลแหล่งเรียนรู้ นักเรียน โรงเรียน ชุมชน เรียนรู้ด้าน
การลดใช้พลังงาน การจัดการขยะและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และตัวอย่างรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น โรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว ฯลฯ
๕. นักเรียน สถานศึกษามีการเก็บข้อมูลเปรียบเทียบการลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซต์ ในการดาเนิน
กิจกรรมประจาวันในสถานศึกษาและที่บ้าน และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรูปแบบ QR CODE และ
Paper less
๖. ครู มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และดาเนินการจัดทา งานวิจัยด้านการสร้าง
สานึกด้านการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้
๗. ครู และนักเรียนสามารถนาสื่อนวัตกรรมที่ผ่านกระบวนการคิดมาประยุกต์ใช้ ในโรงเรียนการ
จัดการเรียนรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและชุมชนได้ตามแนวทาง Thailand ๔.๐
๘. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร และสถานที่ให้เป็น
สานักงานสีเขียวต้นแบบมีนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
และชุมชน
นโยบายที่ ๖ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา
เป้าประสงค์
๑. สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา ครอบคลุม ด้าน
การบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป
๒. หน่วยงานส่วนกลาง และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ต้องปรับเปลี่ยน ให้เป็นหน่วยงานให้มีความ
ทันสมัย พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุน
ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. หน่วยงานทุกระดับ มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ บริหารจัดการตามหลักธรร
มาภิบาล
๔. หน่วยงานทุกระดับมีกระบวนการ และการวิธีงบประมาณด้านการศึกษา เพื่อเพิ่มคุณภาพและ
ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา โดยการจัดสรรงบประมาณตรงสู่ผู้เรียน
๕. หน่วยงานทุกระดับ พัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการ
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด
๑. สถานศึกษาได้รับการกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นอิสระ
๒. สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสานักงานส่วนกลางได้รับการพัฒนาให้เป็น
หน่วยงานที่มีความทันสมัย ยืดหยุ่น คล่องตัวสูง พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่
ตลอดเวลา เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัด
การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมทุกตาบล
๓. สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสานักงานส่วนกลาง นานวัตกรรม และเทคโนโลยี
ดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการบริหารจัดการและตัดสินใจทั้งระบบ
๔. สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดทุกระดับมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ
บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
๕. สถานศึกษา หน่วยงานในสังกัด ทุกระดับ ผ่านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการ
ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
๖. สถานศึกษาทุกแห่งและหน่วยงานในสังกัดมีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศวิชาการ ผู้เรียน ครู
บุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานในสังกัด ๗. สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลที่
สามารถเชื่อมโยงกับข้อมูลต่าง ๆ นาไปสู่การวิเคราะห์เพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้สู่ผู้เรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ (Big Data Technology) ๘. สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสานักงานส่วนกลาง
มีแพลตฟอร์ม ดิจิทัล (Digital Platform) เพื่อสนับสนุนภารกิจด้านบริหารจัดการศึกษา
๙. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่สามารถใช้ในการวางแผน การจัดการศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
บทที่ 3
แผนงาน โครงการ และกิจกรรม
ตามนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2563
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
แหล่งงบประมาณ
ผู้รับผิดชอบอุดหนุน
รายหัว
งบ
ประมาณ
อื่นๆ รวม
นโยบายที่ ๑ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ
1. ส่งเสริมการขับขี่ปลอดภัย (อาสาจราจร
และสวมหมวกนิรภัย 100%)
6,000 6,000 กิจการ
นักเรียน
2. โครงการรณรงค์การป้องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
5,000 5,000 กิจการ
นักเรียน
๓. โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดเหล้า
ยาเสพติด และอบายมุข
14,000 14,000 กิจการ
นักเรียน
๔. โครงการเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรม 25,000 25,000 วิชาการ
๕. โครงการสถานศึกษาปลอดภัย 34,000 34,000 บริหารทั่วไป
6. โครงการสภานักเรียนและส่งเสริม
ประชาธิปไตย
๖,๐๐๐ ๖,๐๐๐ กิจการ
นักเรียน
7. โครงการยกย่องนักเรียนประพฤติดี 3,000 3,000 กิจการ
นักเรียน
นโยบายที่ ๒ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
1.โครงการแข่งขันกีฬาภายใน 4o,ooo 20,000 60,000 วิชาการ
2. โครงการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางกีฬา 10,000 10,000 วิชาการ
3. โครงการส่งเสริมทักษะวิชาการ 60,000 60,000 วิชาการ
นโยบายที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๑. โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน 30,000 30,000 วิชาการ
2. โครงการความเป็นเลิศทางวิชาการ 10,000 10,000 วิชาการ
3. โครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 10,000 10,000 วิชาการ
4. โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านนาฎศิลป์ 39,440 39,440 วิชาการ
5. โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านดนตรี 60,000 60,000 วิชาการ
6. โครงการประดิษฐ์เครื่องประดับนาฏศิลป์ 21,210 21,210 วิชาการ
นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลื่อมล้า
ทางการศึกษา
1. โครงการสอนซ่อมเสริม 10,000 10,000 วิชาการ
2. โครงการประชุมผู้ปกครอง 8,500 8,500 วิชาการ
3. โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 8,000 8,000 กิจการ
นักเรียน
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563

More Related Content

What's hot

ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5
Lahu001710
 
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
Bannongjok Jittiboonsri
 
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
Nontaporn Pilawut
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาPhuritchanart Thongmee
 
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอกโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
Bannongjok Jittiboonsri
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
Nontaporn Pilawut
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
oraneehussem
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
thanaetch
 
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
ผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
สงคราม รื่นรมย์
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพ
Ekachai Seeyangnok
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
arunrat bamrungchit
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญkruprang
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลาแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
Nontaporn Pilawut
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
Nontaporn Pilawut
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนา
Laila Sama-ae
 

What's hot (19)

ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5
 
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
 
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอกโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
 
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพ
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลาแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนา
 

Similar to O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563

2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
นายไพโรจน์ พันธุศิลป์
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
comed
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
kruthai40
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
natdhanai rungklin
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
คมสัน คงเอี่ยม
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
worapanthewaha
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นรินทร์ แสนแก้ว
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่prangkupk
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Mk Mankong
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
Watcharasak Chantong
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
Watcharasak Chantong
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school networkKroo nOOy
 
Sar2554
Sar2554Sar2554
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
Twatchai Tangutairuang
 

Similar to O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563 (20)

2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
 
2552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.92552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.9
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school network
 
Sar2554
Sar2554Sar2554
Sar2554
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 

More from โรงเรียนพานพร้าว สพม

O.3อำนาจและหน้าที.pdf
O.3อำนาจและหน้าที.pdfO.3อำนาจและหน้าที.pdf
O.3อำนาจและหน้าที.pdf
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdfO.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลปO28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงานO18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณO11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O41.รายงานการดำเนินงานโรงเรียนสุจริต
O41.รายงานการดำเนินงานโรงเรียนสุจริตO41.รายงานการดำเนินงานโรงเรียนสุจริต
O41.รายงานการดำเนินงานโรงเรียนสุจริต
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้างO21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าวO42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าวO42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O40.รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริต
O40.รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริตO40.รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริต
O40.รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริต
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กรO.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
แนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษาแนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
แนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษาแผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O.35การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
O.35การมีส่วนร่วมของผู้บริหารO.35การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
O.35การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีdแบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีxแบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 

More from โรงเรียนพานพร้าว สพม (20)

O.3อำนาจและหน้าที.pdf
O.3อำนาจและหน้าที.pdfO.3อำนาจและหน้าที.pdf
O.3อำนาจและหน้าที.pdf
 
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdfO.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
 
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลปO28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
 
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงานO18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
 
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณO11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
 
O41.รายงานการดำเนินงานโรงเรียนสุจริต
O41.รายงานการดำเนินงานโรงเรียนสุจริตO41.รายงานการดำเนินงานโรงเรียนสุจริต
O41.รายงานการดำเนินงานโรงเรียนสุจริต
 
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
 
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้างO21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
 
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าวO42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
 
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าวO42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
 
O40.รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริต
O40.รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริตO40.รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริต
O40.รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริต
 
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
 
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
 
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
 
O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กรO.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
 
แนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
แนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษาแนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
แนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
 
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษาแผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
 
O.35การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
O.35การมีส่วนร่วมของผู้บริหารO.35การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
O.35การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
 
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีdแบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
 
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีxแบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563

  • 2. คานา ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอานวจการบริหารและจัดการ การศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปยังคณะกรรมการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2550 ได้กาหนดให้การจัดทา แผนปฏิบัติการประจาปีเป็นภารกิจของโรงเรียน เพื่อเป็นการวางแผนการบริหารการศึกษา ใช้เป็นเครื่องมือ สาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในการปฏิบัติจริงอย่างมีกรอบทิศทาง รวมทั้งยังเป็นเครื่องมือสาคัญใน การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพให้เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจที่กาหนดเกี่ยวกับการใช้จ่ายงบประมาณ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ กอปรกับความในข้อ 16(ช) ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ได่กาหนดให้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อเป็น คู่มือในการดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในเช่นกัน โรงเรียนพานพร้าว จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติ การนี้ขึ้น โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว และบุคลากรที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ขอขอบพระคุณคณะผู้จัดทาและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านเป็นอย่างสูงที่มีส่วนทาให้การจัดทาแผนปฏิบัติ การโรงเรียนพานพร้าว สาเร็จด้วยดีตามวัตถุประสงค์ทุกประการ คณะผู้จัดทา
  • 3. บทที่ 1 บริบทของสถานศึกษา 1. ประวัติ/ที่ตั้ง โดยสังเขป โรงเรียนพานพร้าว อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคายมีประวัติและความเป็นมาโดยลาดับ ดังต่อไปนี้ ❖โรงเรียนพานพร้าว เปิดทาการสอนตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 โดยให้เปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 1 ห้องเรียน เป็นแบบสหศึกษา รับ นักเรียน ในปีแรกได้จานวน 27 คน และแต่งตั้ง นายคง โพธิบัณฑิต ให้ดารงตาแหน่ง ครูใหญ่ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2503 ❖โรงเรียนได้ประกอบพิธีเปิดเป็นทางการ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 ที่โรงเรียนปริยัติธรรมวัด ช้างเผือก และอาศัยทาการสอน อยู่ที่โรงเรียนปริยัติธรรมวัดช้างเผือก เป็นเวลา1 ปีการศึกษา ต่อมาจึงย้ายไป อาศัยอาคารเรียนของโรงเรียนศรีเชียงใหม่ จนกระทั่งถึงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2505 จึงได้ย้ายมาทาการ สอน ในอาคารเรียนของโรงเรียนปัจจุบันจนมาถึงปัจจุบันนี้ ❖ มื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2506 นายเยื้อ วิชัยดิษฐ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้มาประกอบ พิธีเปิดป้ายนามโรงเรียน ซึ่งเปิดป้ายโรงเรียนครั้งแรก เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 โรงเรียนมีชื่อว่า “ศรีเชียงใหม่วิทยา” แต่ต่อมาเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2503 โรงเรียนได้รับอนุมัติจากกรมวิสามัญศึกษาให้ ชื่อโรงเรียนว่า “โรงเรียนพานพร้าว” และให้ใช้อักษรย่อว่า “น.ค. 17 ” ในปี พ.ศ. 2514 ได้เปลี่ยนมาใช้ อักษรย่อของโรงเรียนว่า “พ.พ.” และได้ใช้มาจนถึงปัจจุบัน ทาเลที่ตั้ง โรงเรียนพานพร้าว ตั้งอยู่เลขที่ 86 หมู่ 5 ตาบลพานพร้าว (เขตเทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่) อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีพื้นที่ 2 แปลง มีถนนสายศรีเชียงใหม่สังคม ผ่ากลาง แปลงที่ 1 มี พื้นที่ 19 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา แปลงที่ 2 มีพื้นที่ 14 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา รวมมีพื้นที่ 33 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา ระยะทางจากที่ว่าการอาเภอศรีเชียงใหม่ถึงโรงเรียนประมาณ 1.5 กิโลเมตร ห่างจาก จังหวัดหนองคาย 57 กิโลเมตร ทิศเหนือ จดที่ส่วนบุคคล ทิศใต้ จดวัดป่าพระสถิตย์ ทิศตะวันออก จดที่ส่วนบุคคลและวัดป่าพระสถิตย์ ทิศตะวันตก จดที่ส่วนบุคคล อักษรย่อ พ.พ. สีประจาโรงเรียน ฟ้า - ชมพู
  • 4. คติพจน์ของโรงเรียนพานพร้าว (Motto) “ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม” เรียนดี คือการศึกษาคือชีวิตที่เจริญเติบโต ให้ความรู้ ความจริงที่เป็นอมตะ และชี้นาแนวทางการ ดารงชีวิตที่มีวินัย เรียบง่าย มีเมตตาธรรม และมีปณิธานอันแน่วแน่ที่จะศึกษาทั้งด้านศาสตร์และศิลป์ รวมทั้ง วิทยาการ ที่ทันสมัย เพื่อประกอบสัมมาอาชีพ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตจะธารงและเทิดทูน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีวินัย หมายถึง การรู้จักเคารพต่อกฎกติกา ระเบียบและศักดิ์ศรีของผู้อื่น เคารพผู้อาวุโสกว่า ทั้ง คุณวุฒิและวัยวุฒิ มีความเป็นประชาธิปไตยแก้ปัญหาในชีวิต ด้วยสันติวิธีมีความรับผิดชอบต่อตนเองและ ส่วนรวม รักษาความสะอาดและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ใฝ่หาคุณธรรม หมายถึง ความมีศรัทธาในศาสนาที่ตนนับถือและไม่ลบหลู่ดูหมิ่นศาสนาอื่นสามารถ อยู่ร่วมกันอย่างสันติการมีค่านิยมในชีวิตที่ถูกต้อง มีความเข้าใจ และซาบซึ้งในคุณค่าของวัฒนธรรมไทย เครื่องหมายประจาโรงเรียน 2. ทาเนียบผู้บริหาร ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง ปีที่ปฏิบัติหน้าที่ 1. นายคง โพธิบัณทิต ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ พ.ศ. 2503 - 2524 2. นายวีระพงศ์ ดวงอุทา ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2524 - 2532 3. นายสมภาร ร่มโพธิ์ทอง ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2532 - 2533 4. นางลออ จองอยู่ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2533 - 2534 5. นายโสภณ บารุงสงฆ์ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2534 - 2535 6. ว่าที่ร้อยตรี สุเทพ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2535 - 2537 7. นายประคอง พัวตะนะ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2537 - 2544 8. นายเดชา พจนสุนทร ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2544 - 2547 9. นายอนันต์ อมตฉายา ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2547 - 2558 10. นายจิตการ หนูจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ.2558 – 2561 11. นายคมสัน ชัยจักร์ ผู้อานวยการโรงเรียน พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน
  • 5. ข้อมูลครูและบุคลากร รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหาร ครู และบุคลากร มีดังนี้ 1) ผู้บริหารชื่อ นายคมสัน ชัยจักร์ ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 จนถึงปัจจุบัน 2) จานวนครูผู้สอน จาแนกเป็น - ข้าราชการ 29 คน - พนักงานราชการ 4 คน - ครูอัตราจ้าง 2 คน 3) ลูกจ้างชั่วคราว จานวน 3 คน 4) ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร จาแนกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้ วุฒิการศึกษา จานวน (คน) รวมชาย หญิง ปริญญาเอก - 1 1 ปริญญาโท 3 3 6 ปริญญาตรี 13 14 27 ตากว่าปริญญาตรี 2 1 3 รวม 18 19 37
  • 6.
  • 7. บทที่ 2 ทิศทางการบริหารการศึกษา วิสัยทัศน์ (Vision) โรงเรียนพานพร้าว เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาผู้เรียนและบุคลากรให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์บน พื้นฐานความเป็นไทย มีการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นระบบสู่ความเป็นสากล พันธกิจ (Mission) 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นประชาธิปไตย มีคุณธรรมจริยธรรม สืบทอดศิลปะวัฒนธรรมประเพณีไทย นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน 2. พัฒนาผลสัมฤทธิ์และคุณลักษณะของผู้เรียน ให้แสวงหาความรู้ มีความสามารถในการสื่อสารโดย ใช้เทคโนโลยี รู้จักไตร่ตรอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ป้องกันตนเองจากยาเสพติด มีสุนทรียภาพ และ ลักษณะนิสัยทางด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา และเข้าร่วมกิจกรรมที่หลากหลาย 4. ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความสามารถ ใช้ทักษะชีวิตในการแก้ปัญหา มีจิตสาธารณะและเจตคติที่ดีต่อ อาชีพสุจริต มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสานึกในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม และสามารถทางานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 5. ส่งเสริมบุคลากรให้มีจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพครู มีความรู้ความสามารถในการจัดการ เรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน 6. ส่งเสริมการจัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้สภาพแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้เรียนพัฒนา ตนเองเต็มตามศักยภาพ และมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน 7. ส่งเสริมการบริหารการจัดการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพสู่ความเป็นสากล มีการประกันคุณภาพ ภายในอย่างเป็นระบบ และการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เป้าประสงค์ (Goals) 1. ผู้เรียนมีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นประชาธิปไตย มีคุณธรรมจริยธรรม สืบทอด ศิลปะวัฒนธรรมประเพณีไทย ดาเนินชีวิตด้วยการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และภูมิปัญญาท้องถิ่นมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีคุณลักษณะเป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความสามารถ มีทักษะในการสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยี รู้จักการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 8. 3. ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด มีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ร่วมกิจกรรมที่หลากหลาย 4. ผู้เรียนมีทักษะชีวิตในการแก้ปัญหา มีจิตสาธารณะและเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มุ่งมั่นในการทางาน อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 5. บุคลากรมีจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพครู มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้เรียน 6. โรงเรียนมีหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองเต็ม ตามศักยภาพ มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน 7. มีระบบการบริหารการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสู่ความเป็นสากล มีการประกันคุณภาพภายใน อย่างเป็นระบบ เน้นการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เอกลักษณ์ของโรงเรียน (Uniqueness) “วินัยเด่น เน้นคุณธรรม นาความรู้” อัตลักษณ์ของโรงเรียน (Identity) “ไหว้สวย รวยคุณธรรม” นโยบายของโรงเรียน (Policy) โรงเรียนพานพร้าว เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนรักความจริง ความดีและความงาม รู้จักรักและรับ ใช้เพื่อให้นโยบายดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์โรงเรียนพานพร้าว จึงมีการดาเนินการ ดังนี้ 1. ปลูกฝังให้ผู้เรียนยึดมั่นในศาสนา คุณธรรม จริยธรรม โดยเน้นให้เป็นผู้รักความจริง ความดี และ ความงาม รู้จักรักและรับใช้ 2. ส่งเสริมและพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ 3. พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 4. จัดให้มีการตรวจประกันคุณภาพภายในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารงานให้ดาเนินการ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ 5. สร้างความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการของโรงเรียน โดยดาเนินการตามระบบการบริหารจัดการที่มี คุณภาพ จุดเน้นของโรงเรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระวิชาเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 (Student Achivement) 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทุกคน อ่านออกเขียนได้ และคิดเป็น
  • 9. 3. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี 4. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ (EQ: Emotional Quotient) 5. ส่งเสริมให้ทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและ ประกอบอาชีพ (Alternative Learning) 6. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) 7. นักเรียน ครู และโรงเรียนได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 8. โรงเรียนผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และผ่านการ รับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools) กลยุทธ์การพัฒนาโรงเรียนพานพร้าว กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ตาม หลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในการเป็นชาติไทย ค่านิยมที่ดีงามตามอัตลักษณ์ของ สถานศึกษา และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ 3 สนับสนุนการขยาย โอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม นักเรียนได้รับโอกาสในการ พัฒนาเต็มตามศักยภาพ กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี คุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพครูและมาตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาลเน้นการมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา มาตรฐานการศึกษากับกลยุทธ์โรงเรียน ที่ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ 1.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกาย สม่าเสมอ 1.2 มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน 1.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยง ต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ 1.4 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 1.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น 1.6 สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตาม จินตนาการ
  • 10. ที่ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ 2.1 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 2.2 เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ 2.3 ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง 2.4 ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง 3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว 3.2 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 3.3 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน 3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ อย่างมีสติ สมเหตุผล 4.1 สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของ ตนเอง 4.2 นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง 4.3 กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ 4.4 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร 5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับ 5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญอยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ 5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน 5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเฉลี่ยมีพัฒนาการที่ดีขึ้นกว่าเดิม มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติ ที่ดีต่ออาชีพสุจริต 6.1 วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ 6.2 ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง 6.3 ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 6.4 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
  • 11. ที่ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 7.1 ครูมีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการสมรรถนะ และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 7.2 ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน 7.3 ครูออกแบบและการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง สติปัญญา 7.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนาบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณา การในการจัดการเรียนรู้ 7.5 ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย 7.6 ครูให้คาแนะนาคาปรึกษาและแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วย ความเสมอภาค 7.7 ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการ สอน 7.8 ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา 7.9 ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 8.1 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน 8.2 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเป็นฐาน คิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ 8.3 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการ 8.4 ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจายอานาจ 8.5 นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา 8.5 ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็ม เวลา มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 9.1 คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษากากับติดตามดูแล และขับเคลื่อนการดาเนินงานของสถานศึกษาให้ บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย 9.3 ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน อย่างรอบด้าน 10.1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น 10.2 จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ 10.3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถความถนัด และ ความสนใจของผู้เรียน
  • 12. ที่ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ 10.4 สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง 10.5 นิเทศภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบ และนาผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ 10.6 จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็ม ศักยภาพ 11.1 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอานวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สาหรับผู้เรียน 11.2 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน 11.3 จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง 12.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 12.2 จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 12.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 12.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 12.5 นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง 12.6 จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ 13.1 มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้ง ผู้ที่เกี่ยวข้อง 13.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนด ขึ้น 14.1 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้นของ สถานศึกษา 14.2 ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของ สถานศึกษา มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริม สถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น 15.1 จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา 15.2 ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมายและพัฒนาดีขึ้นกว่าที่ผ่านมา
  • 13. นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรขับเคลื่อนการจัดการศึกษามัธยมศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนสูงขึ้น มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสู่สากล พันธกิจ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเป็น บุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้คู่คุณธรรม พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วน มาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน และ 17 ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศ ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารจัดการที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ 2 การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 3 การกระจายอานาจและการส่งเสริมการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ตัวบ่งชี้ที่ 4 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารงานด้านวิชาการ ตัวบ่งชี้ที่ 2 การบริหารงานด้านงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 3 การบริหารงานด้านการบริหารงานบุคคล ตัวบ่งชี้ที่ 4 การบริหารงานด้านการบริหารทั่วไป ตัวบ่งชี้ที่ 5 การขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ มาตรฐานที่ 3 ผลการบริหารและการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีผลงานที่แสดงความสาเร็จ และเป็นแบบอย่างได้ ตัวบ่งชี้ที่ 2 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีคุณภาพตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนมีคุณภาพตามจุดเน้นและสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางกาศึกษาขั้น
  • 14. พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตัวบ่งชี้ที่ 6 ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประชากรวัยเรียนได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานเท่าเทียมกัน และศึกษาในระดับสูงขึ้น ตัวบ่งชี้ที่ 8 ความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล อีกทั้งเป็นไป ตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานได้กาหนด โรงเรียนจึงได้นามาตรฐานต่างๆ มาวิเคราะห์ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อรองรับการ ประเมินสถานศึกษาต่อไป มาตรฐานการศึกษาขึ้นพื้นฐาน แบ่งเป็น 5 ด้าน มี 15 มาตรฐาน ดังนี้ ด้านที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ด้านที่ 2 มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา
  • 15. คุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน พัฒนาเต็มศักยภาพ มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนด ในกฎกระทรวง ด้านที่ 3 มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ ด้านที่ 4 มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น ที่กาหนดขึ้น ด้านที่ 5 มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ พัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 วิสัยทัศน์ สร้างคุณภาพทุนมนุษย์ สู่สังคมอนาคตที่ยั่งยืน พันธกิจ ๑. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง ในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ๓. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะ ในศตวรรษที่ ๒๑ ๔. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทาง การศึกษาอย่าง ทั่วถึงและเท่าเทียม ๕. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ ๖. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
  • 16. ๗. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยี ดิจิทัล (Digital Technology) เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand ๔.๐ นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยยึดหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต เป็น แนวทางในการจัดการศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ และมุ่งสู่ Thailand ๔.๐ ดังนี้ นโยบายที่ ๑ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ นโยบายที่ ๒ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นโยบายที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความ เหลื่อมล้าทางการศึกษา นโยบายที่ ๕ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นโยบายที่ ๖ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา นโยบายที่ ๑ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ เป้าประสงค์ ๑. ผู้เรียนทุกคนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒. ผู้เรียนทุกคนมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น และสังคมโดยรวม ซื่อสัตย์ สุจตริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษาศีลธรรม ๓. ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม ทุกรูปแบบที่มี ผลกระทบต่อความมั่นคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและ ทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น ๔. ผู้เรียนในเขตพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับโอกาส และการพัฒนา อย่างเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
  • 17. ๕. ผู้เรียนในเขตพื้นที่เฉพาะ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่ ห่างไกลทุรกันดาร เช่น พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง เป็นต้น ได้รับการบริการ ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี คุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้องเป็น พลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีคุณธรรม อัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิต อาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น และสังคมโดยรวม ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษาศีลธรรม ๓. ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่ มีผลกระทบต่อความมั่นคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคาม ในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น ๔. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับโอกาส และการพัฒนา อย่างเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ๕. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่เฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร เช่น พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง ได้รับการบริการ ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี คุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ สอดคล้องกับบริบท ของพื้นที่ ๖. จานวนสถานศึกษาที่น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ไป พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ๗. จานวนสถานศึกษาที่จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนแสดงออกถึง ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดี ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม นโยบายที่ ๒ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าประสงค์ ๑. ผู้เรียนทุกระดับให้มีความเป็นเลิศ มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. ผู้เรียนมีความเป็นเลิศตามความถนัดและความสนใจ นาไปสู่การพัฒนา ทักษะ วิชาชีพ เป็นนักคิด เป็นผู้สร้างนวัตกรรม เป็นนวัตกร ๓. ผู้เรียนได้รับโอกาสเข้าสู่เวทีการแข่งขันระดับนานาชาติ
  • 18. ตัวชี้วัด ๑. จานวนผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะความรู้ที่สอดคล้องกับทักษะ ที่จาเป็นใน ศตวรรษที่ ๒๑ ๒. ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาผ่านการประเมินสมรรถนะที่จาเป็นด้านการรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) ด้านการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และด้านการรู้เรื่อง วิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA ๓. ร้อยละของผู้เรียนที่มีศักยภาพได้รับโอกาสเข้าสู่เวทีการแข่งขันระดับนานาชาติ นโยบายที่ ๓ ด้านการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ เป้าประสงค์ ๑. หลักสูตรปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการพัฒนา ที่สอดคล้องกับแนวโน้ม การพัฒนาของประเทศ ๒. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และมีทักษะความสามารถ ที่สอดคล้องกับ ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ ภายใต้สังคม ที่เป็นพหุวัฒนธรรม รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรู้เพื่อการวางแผนชีวิต ที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยและนาไป ปฏิบัติได้ ๓. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และทักษะนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรม ๔. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา มีทักษะอาชีพที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ ๕. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถ ดารงชีวิตอย่างมีความสุขทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ๖. ครู เปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” ผู้ให้คาปรึกษาข้อเสนอแนะ การเรียนรู้หรือ ผู้อานวยการการเรียนรู้ ๗. ครู มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรีย นการสอน และเป็นแบบอย่าง ด้านคุณธรรมและ จริยธรรม ตัวชี้วัด ๑. ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ (3R8C) ๒. ร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีคะแนนผลการทดสอบความสามารถ พื้นฐาน ระดับชาติ (NT) ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ๓. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่า ร้อยละ ๕๐ ในแต่ละวิชาเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา
  • 19. ๔. ร้อยละผู้เรียนที่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มี ทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา ตามความถนัด และความต้องการของตนเอง มีทักษะ อาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ วางแผนชีวิต และวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนาไป ปฏิบัติได้ ๕. ผู้เรียนทุกคนมีทักษะพื้นฐานในการดารงชีวิต สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข มี ความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ภายใต้สังคมที่เป็น พหุวัฒนธรรม ๖. ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถ ดารงชีวิตอย่างมี ความสุขทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ๗. ครู มีการเปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “ Coach” ผู้ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะการเรียนรู้ หรือผู้อานวยการการเรียนรู้ นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และการลดความ เหลื่อมล้าทางการศึกษา เป้าประสงค์ ๑. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโลกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Global Goals for Sustainable Development) ๒. สถานศึกษากับองค์กรปกครองท้องถิ่น ภาคเอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับพื้นที่ ร่วมมือ ในการจัดการศึกษา ๓. สถานศึกษามีคุณภาพ และมีมาตรฐานตามบริบทของพื้นที่ ๔. งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษามีเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้อง กับสภาพข้อเท็จจริง โดยคานึงถึงความจาเป็นตามสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ตั้ง ของสถานศึกษา ๕. งบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย และงบลงทุนแก่สถานศึกษาอย่างเหมาะสมเพื่อให้ สถานศึกษา บริหารงานจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ๖. นาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเป็นเครื่องมือให้ผู้เรียนได้มีโอกาส เข้าถึงบริการด้าน การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๗. พัฒนาระบบการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลเพื่อสร้างหลักประกันสิทธิ การได้รับการศึกษาที่ มีคุณภาพของประชาชน ตัวชี้วัด ๑. ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าเรียนในสถานศึกษาที่มีคุณภาพเป็นมาตรฐานเสมอกัน
  • 20. ๒. ผู้เรียนทุกคนได้รับจัดสรรงบประมาณอุดหนุน อย่างเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ ข้อเท็จจริง โดยคานึงถึงความจาเป็นตามสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ตั้งของสถานศึกษา และความต้องการจาเป็นพิเศษสาหรับผู้พิการ ๓. ผู้เรียนได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ในการเรียนรู้อย่างเหมาะสม เพียงพอ ๔. ครูได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพื่อใช้ เป็นเครื่องมือใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ๕. สถานศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานอย่างเหมาะสมตามบริบท ด้านประเภท ขนาด และพื้นที่ ๖. สถานศึกษานาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้เป็นเครื่องมือในการ จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๗. สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนว ที่มีประสิทธิภาพ ๘. สถานศึกษาที่มีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียนและสามารถนามาใช้ในการ วางแผนจัดการเรียนรู้ ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นโยบายที่ ๕ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ ๑. สถานศึกษา นักเรียนได้รับการส่งเสริมด้านความรู้ การสร้างจิตสานึกด้านการผลิต และบริโภค ที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๒. สถานศึกษาสามารถนาเทคโนโลยีมาจัดทาระบบสารสนเทศการเก็บข้อมูล ด้านความรู้ เรื่อง ฉลากสี เขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม ฯลฯ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในทุกโรงเรียน ตามแนวทาง Thailand ๔.๐ ๓. สถานศึกษามีการจัดทานโยบายจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๔. สถานศึกษามีการบูรณาการหลักสูตร กิจกรรมเรื่องวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ การผลิตและบริโภค สู่ การลดปริมาณคาร์บอนในโรงเรียนคาร์บอนต่าสู่ชุมชนคาร์บอนต่า ๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน ทุก โรงเรียนในสังกัดมีการปรับปรุงและพัฒนาเป็นหน่วยงานต้นแบบสานักงานสีเขียว (GREEN OFFICE) เพื่อให้มี บริบทที่เป็นแบบอย่างเอื้อหรือสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน ๖. สถานศึกษาในสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาก ๒๒๕ เขต มีนโยบายส่งเสริม ความรู้และสร้างจิตสานึกและจัดการเรียนรู้การผลิตและบริโภคที่เป็น มิตร กับสิ่งแวดล้อม ๗. สถานศึกษาต้นแบบนาขยะมาใช้ประโยชน์เพื่อลดปริมาณขยะ จานวน ๑๕,๐๐๐ โรงเรียน
  • 21. ๘. มีสถานศึกษานวัตกรรมต้นแบบในการนา 3RS มาประยุกต์ใช้ในการผลิต และบริโภคที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม จานวน ๖,๐๐๐ โรงเรียน ๙. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๒๒๕ เขต มีการทานโยบายการจัดซื้อ จัดจ้าง ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด ๑. สถานศึกษาในสังกัดมีนโยบายและจัดกิจกรรมให้ความรู้ ที่ถูกต้องและสร้าง จิตสานึกด้านการผลิต และบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนาไปปฏิบัติใช้ที่บ้านและชุมชน เช่น การส่งเสริมอาชีพที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม การลดใช้สารเคมีจากปุ๋ยและยาฆ่าแมลง ฯลฯ ๒. สถานศึกษามีการนาขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปผลิตภัณฑ์และพลังงานเพื่อลดปริมาณขยะ และมี ส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชนเพื่อลดปริมาณคาร์บอนที่โรงเรียนและชุมชน ๓. สถานศึกษามีการบูรณาการเรื่องการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมและการนาขยะ มาใช้ประโยชน์ รวมทั้งสอดแทรกในสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง ๔. นักเรียนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีการขยายผลแหล่งเรียนรู้ นักเรียน โรงเรียน ชุมชน เรียนรู้ด้าน การลดใช้พลังงาน การจัดการขยะและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และตัวอย่างรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น โรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว ฯลฯ ๕. นักเรียน สถานศึกษามีการเก็บข้อมูลเปรียบเทียบการลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซต์ ในการดาเนิน กิจกรรมประจาวันในสถานศึกษาและที่บ้าน และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรูปแบบ QR CODE และ Paper less ๖. ครู มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และดาเนินการจัดทา งานวิจัยด้านการสร้าง สานึกด้านการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้ ๗. ครู และนักเรียนสามารถนาสื่อนวัตกรรมที่ผ่านกระบวนการคิดมาประยุกต์ใช้ ในโรงเรียนการ จัดการเรียนรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและชุมชนได้ตามแนวทาง Thailand ๔.๐ ๘. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร และสถานที่ให้เป็น สานักงานสีเขียวต้นแบบมีนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน และชุมชน นโยบายที่ ๖ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา เป้าประสงค์ ๑. สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา ครอบคลุม ด้าน การบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป
  • 22. ๒. หน่วยงานส่วนกลาง และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ต้องปรับเปลี่ยน ให้เป็นหน่วยงานให้มีความ ทันสมัย พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. หน่วยงานทุกระดับ มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ บริหารจัดการตามหลักธรร มาภิบาล ๔. หน่วยงานทุกระดับมีกระบวนการ และการวิธีงบประมาณด้านการศึกษา เพื่อเพิ่มคุณภาพและ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา โดยการจัดสรรงบประมาณตรงสู่ผู้เรียน ๕. หน่วยงานทุกระดับ พัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ๑. สถานศึกษาได้รับการกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นอิสระ ๒. สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสานักงานส่วนกลางได้รับการพัฒนาให้เป็น หน่วยงานที่มีความทันสมัย ยืดหยุ่น คล่องตัวสูง พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ ตลอดเวลา เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัด การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมทุกตาบล ๓. สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสานักงานส่วนกลาง นานวัตกรรม และเทคโนโลยี ดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการบริหารจัดการและตัดสินใจทั้งระบบ ๔. สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดทุกระดับมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ๕. สถานศึกษา หน่วยงานในสังกัด ทุกระดับ ผ่านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการ ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ๖. สถานศึกษาทุกแห่งและหน่วยงานในสังกัดมีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศวิชาการ ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานในสังกัด ๗. สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลที่ สามารถเชื่อมโยงกับข้อมูลต่าง ๆ นาไปสู่การวิเคราะห์เพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้สู่ผู้เรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (Big Data Technology) ๘. สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสานักงานส่วนกลาง มีแพลตฟอร์ม ดิจิทัล (Digital Platform) เพื่อสนับสนุนภารกิจด้านบริหารจัดการศึกษา ๙. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่สามารถใช้ในการวางแผน การจัดการศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  • 23. บทที่ 3 แผนงาน โครงการ และกิจกรรม ตามนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2563 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม แหล่งงบประมาณ ผู้รับผิดชอบอุดหนุน รายหัว งบ ประมาณ อื่นๆ รวม นโยบายที่ ๑ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ 1. ส่งเสริมการขับขี่ปลอดภัย (อาสาจราจร และสวมหมวกนิรภัย 100%) 6,000 6,000 กิจการ นักเรียน 2. โครงการรณรงค์การป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา 5,000 5,000 กิจการ นักเรียน ๓. โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดเหล้า ยาเสพติด และอบายมุข 14,000 14,000 กิจการ นักเรียน ๔. โครงการเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรม 25,000 25,000 วิชาการ ๕. โครงการสถานศึกษาปลอดภัย 34,000 34,000 บริหารทั่วไป 6. โครงการสภานักเรียนและส่งเสริม ประชาธิปไตย ๖,๐๐๐ ๖,๐๐๐ กิจการ นักเรียน 7. โครงการยกย่องนักเรียนประพฤติดี 3,000 3,000 กิจการ นักเรียน นโยบายที่ ๒ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 1.โครงการแข่งขันกีฬาภายใน 4o,ooo 20,000 60,000 วิชาการ 2. โครงการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางกีฬา 10,000 10,000 วิชาการ 3. โครงการส่งเสริมทักษะวิชาการ 60,000 60,000 วิชาการ นโยบายที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๑. โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน 30,000 30,000 วิชาการ 2. โครงการความเป็นเลิศทางวิชาการ 10,000 10,000 วิชาการ 3. โครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 10,000 10,000 วิชาการ 4. โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านนาฎศิลป์ 39,440 39,440 วิชาการ 5. โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านดนตรี 60,000 60,000 วิชาการ 6. โครงการประดิษฐ์เครื่องประดับนาฏศิลป์ 21,210 21,210 วิชาการ นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลื่อมล้า ทางการศึกษา 1. โครงการสอนซ่อมเสริม 10,000 10,000 วิชาการ 2. โครงการประชุมผู้ปกครอง 8,500 8,500 วิชาการ 3. โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 8,000 8,000 กิจการ นักเรียน