SlideShare a Scribd company logo
1 of 128
Download to read offline
แผนพัฒนาการศึกษา
ระยะ ๔ ปี (๒๕๖๒ – ๒๕๖๕)
โรงเรียนพานพร้าว
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๑
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
http:// www.panpraow.ac.th
คำนำ
การพัฒนาคุณภาพของการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระยะที่มีสภาวการณ์ของ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี มีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้บริหาร
สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาจึงต้องร่วมมือกันกำหนดแนวทาง กระบวนการ และเครื่องมือ
ในการบริหารจัดการศึกษาให้มีความหลากหลาย การขับเคลื่อนการพัฒนาโดยยุทธศาสตร์ (Strategy
– focus Organization) จะก่อให้เกิดคุณค่า (Value Creation) ตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2562- 2565) ของโรงเรียนพานพร้าว ฉบับนี้
เป็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติให้บังเกิดผล โดยใช้กลยุทธ์การบริหารแบบใช้โรงเรียนเป็น
ฐานและการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม จัดทำเป็นแผนพัฒนาคุณภาพระยะยาว ที่สามารถนำไป
ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 บริบทของโรงเรียน
ส่วนที่ 2 วิเคราะห์บริบทของโรงเรียน (SWOT)
ส่วนที่ 3 การกำหนดแผนยุทธศาสตร์
ส่วนที่ 4 แผนพัฒนาคุณภาพ โครงการ/กิจกรรม
ส่วนที่ 5 แผนการควบคุมและกำกับติดตาม
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2562- 2565)
ฉบับนี้จะเป็นแบบอย่างและแนวทางการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม ให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่
โรงเรียนกำหนดไว้
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
หน้า
คำนำ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา 2
ประวัติโรงเรียนพานพร้าว 3
ทำเลที่ตั้ง 5
จำนวนครู นักเรียน 6
เกียรติประวัติ 8
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 9
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 3 9
ผลการทดสออบทางการศึกษาระดับชาติ (O NET) 15
ส่วนที่ 2 วิเคราะห์องค์กร
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว 19
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว (SWOT) สภาพภายนอก 19
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว (SWOT) สภาพภายใน 22
ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนพานพร้าว 23
แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนพานพร้าว
บนแกนความสัมพันธ์ของ SWOT 24
ส่วนที่ 3 สาระสำคัญของแผนกลยุทธ์
อุดมการณ์ หลักการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 26
มาตรฐานการศึกษาของชาติ 27
นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปี 2562 ของ สพฐ. 31
นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปี 2562 ของสพม.21 36
ส่วนที่ 4 กำหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี 39
โครงการ/กิจกรรม
ส่วนที่ 5 แผนการควบคุม กำกับติดตาม 125
แนวทางการบริหารแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ 126
ปฏิทินการกำกับติดตาม 127
ภาคผนวก 128
คณะกรรมการจัดทำแผนกลยุทธ์ 129
2
ส่วนที่ 1
ข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา
โรงเรียนพานพร้าว
3
ส่วนที่ 1
สภาพทั่วไป
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนพานพร้าว
ประวัติโรงเรียนพานพร้าว
โรงเรียนพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคายมีประวัติและความเป็นมาโดยลำดับ ดังต่อไปนี้
❖โรงเรียนพานพร้าว เปิดทำการสอนตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งประกาศ ณ วันที่
31 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 โดยให้เปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 1 ห้องเรียน เป็นแบบสหศึกษา
รับนักเรียน ในปีแรกได้จำนวน 27 คน และแต่งตั้ง นายคง โพธิบัณฑิต ให้ดำรงตำแหน่ง ครูใหญ่ เมื่อวันที่
16 มิถุนายน พ.ศ. 2503
❖โรงเรียนได้ประกอบพิธีเปิดเป็นทางการ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 ที่โรงเรียนปริยัติ
ธรรมวัดช้างเผือก และอาศัยทำการสอน อยู่ที่โรงเรียนปริยัติธรรมวัดช้างเผือก เป็นเวลา1 ปีการศึกษา
ต่อมาจึงย้ายไปอาศัยอาคารเรียนของโรงเรียนศรีเชียงใหม่ จนกระทั่งถึงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2505 จึง
ได้ย้ายมาทำการสอน ในอาคารเรียนของโรงเรียนปัจจุบันจนมาถึงปัจจุบันนี้
❖ มื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2506 นายเยื้อ วิชัยดิษฐ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้มา
ประกอบ พิธีเปิดป้ายนามโรงเรียน ซึ่งเปิดป้ายโรงเรียนครั้งแรก เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2503
โรงเรียนมีชื่อว่า “ศรีเชียงใหม่วิทยา” แต่ต่อมาเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2503 โรงเรียนได้รับอนุมัติ
จากกรมวิสามัญศึกษา ให้ชื่อโรงเรียนว่า “โรงเรียนพานพร้าว” และให้ใช้อักษรย่อว่า “น.ค. 17 ” ในปี
พ.ศ. 2514 ได้เปลี่ยนมาใช้อักษรย่อของโรงเรียนว่า “พ.พ.” และได้ใช้มาจนถึงปัจจุบัน
ทำเลที่ตั้ง
โรงเรียนพานพร้าว ตั้งอยู่เลขที่ 86 หมู่ 5 ตำบลพานพร้าว (เขตเทศบาลตำบลศรีเชียงใหม่)
อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีพื้นที่ 2 แปลง มีถนนสายศรีเชียงใหม่สังคม ผ่ากลาง แปลงที่ 1
มีพื้นที่ 19 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา แปลงที่ 2 มีพื้นที่ 14 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา รวมมีพื้นที่
33 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา ระยะทางจากที่ว่าการอำเภอศรีเชียงใหม่ถึงโรงเรียน ประมาณ 1.5 กิโลเมตร
ห่างจากจังหวัดหนองคาย 57 กิโลเมตร
ทิศเหนือ จดที่ส่วนบุคคล
ทิศใต้ จดวัดป่าพระสถิตย์
ทิศตะวันออก จดที่ส่วนบุคคลและวัดป่าพระสถิตย์
ทิศตะวันตก จดที่ส่วนบุคคล
4
แผนผังโรงเรียนพานพร้าว
อักษรย่อ พ.พ.
สีประจำโรงเรียน ฟ้า - ชมพู
คติพจน์ของโรงเรียนพานพร้าว (Motto)
“ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม”
เรียนดี คือการศึกษาคือชีวิตที่เจริญเติบโต ให้ความรู้ ความจริงที่เป็นอมตะ และชี้นำแนว
ทางการดำรงชีวิตที่มีวินัย เรียบง่าย มีเมตตาธรรม และมีปณิธานอันแน่วแน่ที่จะศึกษาทั้งด้านศาสตร์และ
ศิลป์ รวมทั้งวิทยาการ ที่ทันสมัย เพื่อประกอบสัมมาอาชีพ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตจะธำรงและเทิดทูน ชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
มีวินัย หมายถึง การรู้จักเคารพต่อกฎกติกา ระเบียบและศักดิ์ศรีของผู้อื่น เคารพผู้อาวุโสกว่า ทั้ง
คุณวุฒิและวัยวุฒิ มีความเป็นประชาธิปไตยแก้ปัญหาในชีวิต ด้วยสันติวิธีมีความรับผิดชอบต่อตนเองและ
ส่วนรวม รักษาความสะอาดและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ใฝ่หาคุณธรรม หมายถึง ความมีศรัทธาในศาสนาที่ตนนับถือและไม่ลบหลู่ดูหมิ่นศาสนาอื่น
สามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติการมีค่านิยมในชีวิตที่ถูกต้อง มีความเข้าใจ และซาบซึ้งในคุณค่าของวัฒนธรรม
ไทย
5
เครื่องหมายประจำโรงเรียน
ทำเนียบผู้บริหาร
ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง ปีที่ปฏิบัติหน้าที่
1. นายคง โพธิบัณทิต ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ พ.ศ. 2503 - 2524
2. นายวีระพงศ์ ดวงอุทา ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2524 - 2532
3. นายสมภาร ร่มโพธิ์ทอง ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2532 - 2533
4. นางลออ จองอยู่ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2533 - 2534
5. นายโสภณ บำรุงสงฆ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2534 - 2535
6. ว่าที่ร้อยตรี สุเทพ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2535 - 2537
7. นายประคอง พัวตะนะ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2537 - 2544
8. นายเดชา พจนสุนทร ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2544 - 2547
9. นายอนันต์ อมตฉายา ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2547 - 2558
10. นายจิตการ หนูจันทร์ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ.2558 – 2561
11. นายคมสัน ชัยจักร์ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน
ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลศรีเชียงใหม่
อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีประชากรประมาณ 30,735 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบ
โรงเรียน ได้แก่ วัด ร้านค้า โรงงานอุตสาหกรรม อาชีพหลักของชุมชน คือ อาชีพเกษตรกร อาชีพ
รับจ้าง และอาชีพค้าขาย เนื่องจากพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะกับการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ และพื้นที่ติดกับ
แม่น้ำโขง อีกทั้งมีการค้าขายกับประเทศลาว ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณีและศิลปวัฒนธรรม
ส่วนใหญ่ ของท้องถิ่นที่รู้จักคือ บุญบั้งไฟ งานมะเขือเทศ งานแข่งเรือ งานสงกรานต์ งานแห่เทียน
เข้าพรรษา ฯ
2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 75 ประกอบอาชีพ
เกษตรกร ร้อยละ 70 อาชีพค้าขาย ร้อยละ 20 อาชีพอื่น ๆ ร้อยละ 10 นับถือศาสนาพุทธ 100 %
รายได้โดยเฉลี่ยต่อปี 7,000 บาท
6
3) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน โรงเรียนพานพร้าวเป็นโรงเรียนขนาดกลาง พื้นที่โดยรอบ
เป็นบ้านพักอาศัย วัดป่าพระสถิตย์ โรงงานอุตสาหกรรม ร้านค้า ทำให้โรงเรียนได้ร่วมงานกับชุมชนใน
งานเทศกาลต่าง ๆ และโรงเรียนได้นำนักเรียนไปทำบุญในวันสำคัญทางศาสนาที่วัดเป็นประจำในช่วงปิด
เทอมนักเรียนได้เข้าไปทำงานในโรงงานทำให้มีรายได้ระหว่างเรียน แต่มีบางช่วงที่โรงงานปล่อยน้ำเสีย
ออกมามีกลิ่นเหม็น ซึ่งมีผลต่อสุขภาพของคนในบริเวณนั้น
ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลผู้บริหาร
1) นายคมสัน ชัยจักร์ ผู้อำนวยการโรงเรียนพานพร้าว โทรศัพท์ 087-8675566
e-mail : kroosek@gmail.com วุฒิทางการศึกษา กศ.ม.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) ศษ.ม.
(การสอนภาษาอังกฤษ) ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 จนถึงปัจจุบัน
2) นายศุภชัย พัดพรม ครูชำนาญการพิเศษ ผู้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ
โรงเรียน ลำดับ ที่ 1
3) นายสุบัน พิชิตชัย ครูชำนาญการพิเศษ ผู้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน
ลำดับ ที่ 2
4) นางวัชรีพร ชัยจักร์ หัวหน้ากลุ่มบริหารทั่วไป
5) นางองุ่น ผาจันทร์ หัวหน้ากลุ่มการบริหารงบประมาณ
6) นางนันธิยา พูลเพิ่ม หัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ
7) นางสาวปาริชาติ เวียงอินทร์ หัวหน้ากลุ่มการบริหารงานบุคคล
8) นายสัมพันธ์ สวัสดิ์ธรรม หัวหน้ากลุ่มบริหารกิจการนักเรียน
บุคลากรจำแนกตามเพศ
ลำดับ
ที่
ประเภท
จำนวน
รวม
ชาย หญิง
1 ข้าราชการครู 12 15 27
2 ครูผู้ทรงคุณค่า 1 - 1
3 พนักงานราชการ 1 3 4
4 ครูอัตราจ้าง 1 1 2
5 นักการ แม่บ้าน 2 1 3
รวม 17 20 37
7
ข้าราชการครูจำแนกตามตำแหน่งวิทยฐานะ
ตำแหน่ง
จำนวน
หมายเหตุ
ชาย หญิง รวม
ผู้อำนวยการโรงเรียน 1 - 1
รองผู้อำนวยการโรงเรียน - - -
ครูชำนาญการพิเศษ 7 7 14
ครูชำนาญการ 1 2 3
ครู 1 3 4
ครูผู้ช่วย 2 3 5
รวม 13 16 27
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร จำแนกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้
วุฒิการศึกษา
จำนวน (คน)
รวมชาย หญิง
ปริญญาเอก - 1 1
ปริญญาโท 3 3 6
ปริญญาตรี 13 14 27
ตำกว่าปริญญาตรี 2 1 3
รวม 18 19 37
จำนวนนักเรียนโรงเรียนพานพร้าว ปีการศึกษา 2562
ระดับชั้น จำนวนห้องเรียน
เพศ
รวม เฉลี่ย/ห้องชาย หญิง
ม.1 3 45 53 98 32.67
ม.2 3 53 39 92 30.67
ม.3 3 59 38 97 32.33
ม.4 2 20 35 55 27.50
ม.5 2 31 33 64 32.00
ม.6 2 23 34 57 28.50
รวมทั้งสิ้น 15 233 232 465 31
8
เกียรติประวัติของโรงเรียนพานพร้าว
❖ สถานศึกษาต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
❖ ได้รับรางวัลเหรียญทอง การประกวดเพลงคุณธรรม ม. 4-6 งานมหกรรมความสามารถทาง
ศิลปหัตถกรรมวิชาการและเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2561
❖ผลงานที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดีของสถานศึกษากระบวนการดำเนินห้องสมุด 3 ดี เพื่อส่งเสริมการ
อ่าน ได้รับรางวัล พัฒนาห้องสมุดมีชีวิต 3 ดี ตามเกณฑ์มาตรฐาน สพฐ.
❖รางวัลชนะเลิศบาสเก็ตบอลหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กีฬาปาริชาติเกมส์ จังหวัด
หนองคาย
❖รางวัลชนะเลิศ กีฬาเปตองทีมชาย รายการกีฬาชิงชนะเลิศจังหวัดหนองคาย และเป็นตัวแทน
เยาวชนแห่งชาติ คัดเลือกตัวแทนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
❖รางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง
❖รองชนะเลิศประกวดสวดมนต์สรภัญญะ มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้าน
ช้าง จังหวัดเลย
❖ รางวัลสถานศึกษาปลอดภัย ระดับดีเยี่ยม
❖ รางวัลโล่เกียติยสระดับประเทศ อย.น้อย การขยายผลรูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภค
อาหาร เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDS)
9
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนพานพร้าว
1. นายภุชงค์ ชานันโท ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ
2. นางสาวพัชณีย์ พลกองเส็ง ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ
3. นายศุภชัย พัดพรม ผู้แทนครู กรรมการ
4. นายขรรชัย พุทธวรรณ ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ
5. นางลักขณา เพ็งนิล ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ
6. นายประหยัด ศรีประเสริฐ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ
7. พระครูสุวรรณณธรรมรักษ์ ผู้แทนพระภิกษุและองค์กรศาสนา กรรมการ
8. นายณรงค์ ผาจันทร์ ผู้แทนพระภิกษุและองค์กรศาสนา กรรมการ
9. นางสมจิตร์ พิชิตชัย ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
10. นาวาอากาศเอกมงคล คำภู ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
11. นายยุทธนา พงศ์กรกัมพล ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
12. นายมนตรี เกษรพรหม ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
13. นางกิติยา ศักดิ์ศิริลักษณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
14. นางชื่นจิต จันดา ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
15. นายคมสัน ชัยจักร์ ผู้อำนวยการโรงเรียน กรรมการและเลขานุการ
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โรงเรียนพานพร้าว ตั้งอยู่เลขที่ 86 หมู่ที่ 5 ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัด
หนองคาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีบุคลากรสายบริหาร 2 คน ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม เมื่อวันที่
25ถึง 27 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 มีการจัดการศึกษา 1 ระดับ คือระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน :
มัธยมศึกษา มีบุคลากรครูจำนวน 30 คน นักเรียน จำนวน 509 คน รวมทั้งสถานศึกษามีบุคลากรครู
จำนวน 30 คน นักเรียน จำนวน 509 คน
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา แสดงในตารางสรุปผลได้ดังนี้
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป ได้แก่
10
ลำดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ
1 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ดีมาก
2 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ดีมาก
3 7
ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา
ดีมาก
4 9
ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์
พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
ดีมาก
5 10
ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน
เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ดีมาก
6 11
ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท
ของสถานศึกษา
ดีมาก
7 12
ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ
มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่
สอดคล้อง
กับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
ดีมาก
8 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ดี
9 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ดี
10 6
ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ
ดี
11 8
พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย
สถานศึกษาและต้นสังกัด
ดี
ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพต่ำกว่าระดับดี ได้แก่
ลำดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ
1 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ต้องปรับปรุง
จุดเด่น
1. สถานศึกษามีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของการประกันคุณภาพ
ภายใน ทั้ง 15 มาตรฐาน ส่งผลให้ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ปลอดจากปัญหา
ทางเพศ ยาเสพติดและสิ่งมอมเมา เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และนันทนาการ ไม่มีปัญหาด้าน
การปกครอง ร่วมทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวมอย่างต่อเนื่อง เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง
ร่วมกับผู้อื่นทั้งในและนอกสถานศึกษา มีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม ผู้เรียนส่วนใหญ่มี
คุณลักษณะเด่น คือ ร่าเริงแจ่มใส ไหว้สวย มีเอกลักษณ์คือ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม เลิศล้ำศิลปะ
ดำเนินงานมาตรการส่งเสริมในการต่อต้านยาเสพติดอย่างได้ผล
2. ผู้บริหารจัดการองค์กรโครงสร้างการบริหารงานอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมงานทั้ง 5 งาน
ตามโครงสร้างการบริหาร คือ งานบริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งาน
11
บริหารทั่วไป และงานกิจการนักเรียน มีโครงการพัฒนาระบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ที่หลากหลาย มีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ร่วมปรับปรุงพัฒนา
บริเวณโรงเรียน อาคารเรียนและอาคารประกอบต่าง ๆ ให้มีความมั่นคง แข็งแรง มีการพัฒนาบริเวณ
โรงเรียนให้เป็นระเบียบ ไม่รกรุงรัง สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ มีการตกแต่งอาคารและสภาพแวดล้อมได้
อย่างเหมาะสม สวยงาม สถานศึกษามีการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา รณรงค์ให้รักการอ่าน มีการ
พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่
สอง
3. สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนตามที่คุรุสภากำหนด มีการประเมิน
แผนการจัดการเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ ประเมินการจัดการเรียนรู้ของครู พร้อมทั้งแบบวัด แบบ
ประเมินผล ทุกภาคการศึกษา ครูกำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน วิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็น
รายบุคคล จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างทั่วถึง ใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม
นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการประเมิน
ความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย นำมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ
4. สถานศึกษามีการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ได้รับการสนับสนุนและกำกับดูแลจากหน่วยงานต้นสังกัด
การพัฒนาคุณภาพภายในของสถานศึกษา 3 ปีย้อนหลัง มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นทุกปี
จุดที่ควรพัฒนา
1. ผู้เรียนส่วนใหญ่มีความแตกต่างระหว่างบุคคล มีปัญหาทางด้านครอบครัว มีทักษะพื้นฐาน
ระดับสติปัญญา ศักยภาพไม่เพียงพอที่จะเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีปัญหาไม่ตั้งใจเรียน มีปัญหา
สภาพแวดล้อม ครอบครัวมีรายได้น้อยและไม่แน่นอน ไม่มีเวลาเพียงพอในการเอาใจใส่จากครอบครัว
ซึ่งสถานศึกษาไม่ได้จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีผลการเรียนต่ำ เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนได้ถูกต้องตาม
สภาพของผู้เรียน สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี มีลักษณะแยกส่วนไปจากการดำเนินการจัดการเรียนการสอน เพื่อ
พัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางตามแผนการจัดการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การกำหนดตัวชี้วัด
ความสำเร็จในเป้าหมายของแผนไม่ชัดเจน ไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. สถานศึกษาขาดการวิเคราะห์ผลการทดสอบของผู้เรียนเป็นรายบุคคลทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
เพื่อจะได้จัดกิจกรรมซ่อมเสริมพัฒนาผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง ครูบางส่วนจัดการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้
ไม่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล การนิเทศติดตามผลไม่มีการบันทึกข้อค้นพบ และข้อคิดเห็น
ของผู้นิเทศ เพื่อนำผลการนิเทศไปใช้พัฒนาครูได้อย่างถูกต้อง
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2553
1. ด้านผลการจัดการศึกษา
12
1) สถานศึกษาควรพัฒนาการดำเนินงานการจัดระบบดูแลช่วยเหลือเหลือผู้เรียน จัด
ให้บริการแนะแนวการศึกษา การเยี่ยมบ้านผู้เรียนอย่างทั่วถึงและต่อเนื่องการคัดกรองผู้เรียนที่ต้องพัฒนา
เป็นพิเศษ เพื่อจัดสรรเวลาจัดกิจกรรมการสอนซ่อมเสริม เพื่อแก้ปัญหากลุ่มเรียนช้า
2) สถานศึกษาควรวิเคราะห์ผลการทดสอบของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อพัฒนา
ประสิทธิผล การจัดการเรียนรู้ของครู ตามหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียน
รายบุคคล มีการกำหนดตัวชี้วัดในเป้าหมายของโครงการ กิจกรรมเชิงปริมาณและคุณภาพ ที่สามารถ
ประเมินผลเพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ สามารถบอกผลการประเมินได้ชัดเจนว่าบรรลุเป้าหมาย
ที่กำหนดไว้หรือไม่
2. ด้านการบริหารจัดการศึกษา
ไม่มี
3. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1) สถานศึกษาควรส่งเสริมการพัฒนาครูบางส่วนในการออกแบบการเรียนรู้และการ
จัดการเรียนรู้ ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนรายบุคคล มีการวิเคราะห์ผลการประเมิน และ
นำมาใช้ในการสอนซ่อมเสริมเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ และการศึกษา
ค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2) สถานศึกษาควรจัดให้มีการนิเทศภายในเพื่อพัฒนาครูบางส่วน มีการนำผลการประเมิน
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดและแบบทดสอบ เพื่อนำผลดังกล่าวไปพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ
4. ด้านการประกันคุณภาพภายใน
ไม่มี
นวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์
โครงงานคุณธรรม “ตามรอยพระราชา ได้เป็นนักบิณฑบาตร โอกาสทำดี ถวายองค์จักรี ภูมิพลฯ”
การเรียนรู้ที่ไม่จำกัด EDUCATION FOR ALL นั้นก็คือ ความมุ่งหมายในการพัฒนาชีวิตผู้เรียนและชุมชน
สังคม ตามบริบทของชุมชนศรีเชียงใหม่ โดยใช้หลักไตรสิกขาในพระพุทธศาสนามาใช้ในการดำเนินการมุ่ง
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน และผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายจะได้รับประโยชน์สูงสุด ทั้งศีล จิตใจ สมาธิ ซึ่งผู้เรียน
จะได้ซึมซับ เรียนรู้ สร้างสรรค์ เปิดประตูแห่งความคิด เปิดหน้าต่างชีวิตรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่
หลากหลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้รู้ทันความคิด แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ในการดำเนินชีวิตและมีภูมิคุ้มกันที่
ดีในการดำเนินชีวิตในอนาคตได้อย่างยั่งยืน แก่นการเรียนรู้ “ร่วมกัน ทำดี อย่างมีปัญญา”
13
ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จำแนกตามกลุ่มตัวบ่งชี้
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
(มัธยมศึกษา)
น้ำหนัก
(คะแนน)
คะแนน
ที่ได้
ระดับ
คุณ
ภาพ
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 10.00 9.73 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10.00 9.04 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10.00 8.75 ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น 10.00 8.44 ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
20.00 5.38
ต้อง
ปรับปรุง
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 10.00 8.00 ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น
สังกัด
5.00 4.08 ดี
กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์
ของสถานศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ
สถานศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน
รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับ
แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
คะแนนรวม 100.00 78.42 ดี
การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป  ใช่ ❑ ไม่ใช่
มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไปอย่างน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จาก 12 ตัวบ่งชี้  ใช่ ❑ ไม่ใช่
ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน ❑ ใช่  ไม่ใช่
สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม
❑ สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
14
ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกจำแนกเป็นรายมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(มัธยมศึกษา)
น้ำหนัก
(คะแนน)
คะแนน
ที่ได้
ระดับ
คุณภาพ
มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 10.00 9.73 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10.00 9.04 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10.00 8.75 ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น 10.00 8.44 ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20.00 5.38
ต้อง
ปรับปรุง
กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์
ของสถานศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก
มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา
มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 10.00 8.00 ดี
มาตรฐานที่ ๔ มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น
สังกัด
5.00 4.08 ดี
ผลรวมคะแนนทั้งหมด 100.00 78.42 ดี
15
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O - NET )
1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O - NET ) ประจำปีการศึกษา 2561
❖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 48.14 27.04 33.23 25.95
คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ 51.67 27.46 34.56 27.69
คะแนนเฉลี่ย สังกัด สพฐ.ทั้งหมด 55.04 30.28 36.43 29.10
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 54.42 30.04 36.10 29.45
16
❖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 34.85 18.9 25.02 31.03 22.46
คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ 43.11 24.83 28.27 33.06 26.81
คะแนนเฉลี่ย สังกัด สพฐ.ทั้งหมด 48.16 31.04 30.75 35.48 31.15
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 47.31 30.72 30.51 35.16 31.41
17
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O – NET )
ประจำปีการศึกษา 2559 - 2561
18
ส่วนที่ 2
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว
19
ส่วนที่ 2
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว
วิเคราะห์สภาพแวดล้อม โรงเรียนพานพร้าว
(SWOT Analysis)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สถานการณ์ เพื่อให้ผู้บริหารรู้ จุดแข็ง
จุดอ่อน สภาพภายในของโรงเรียน โอกาส และอุปสรรค์ของสภาพภายนอก ซึ่งจะช่วยให้ทราบว่าองค์กรได้
เดินทางมาถูกทิศทางและไม่หลงทาง นอกจากนี้ยังบอกได้ว่าองค์กรมีแรงขับไปยังเป้าหมายได้ดีหรือไม่
มั่นใจได้อย่างไรว่าระบบการทำงานในองค์กรยังมีประสิทธิพอยู่ มีจุดอ่อนที่จะต้องปรับปรุงอย่างไร ซึ่งการ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) โรงเรียนพานพร้าว มีดังนี้
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว
(SWOT) สภาพภายนอก
โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)
1. โรงเรียนได้รับการยอมรับและศรัทธาจาก
ชุมชนและสังคม
2. ผู้ปกครองและคนในชุมชนให้ความสนใจใน
ด้านการปฏิรูปการศึกษา
3. หน่วยงานและองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
ให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน
4. นักเรียนมีความรักในวัฒนธรรม ประเพณี
ในท้องถิ่น
5. สภาพธรรมชาติและสภาพแวดล้อม
เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอน
6. โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนเมืองทำให้การ
เดินทางมาค่อนข้างสะดวก
7. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
8. ผู้ปกครองให้ความไว้วางใจและมีความ
เชื่อมั่นในครูผู้สอน
9. มีแหล่งสืบค้นข้อมูล แหล่งเรียนรู้นวัตกรรม
และเทคโนโลยีหลากหลายทั้ง
สถาบันการศึกษา และองค์กรเอกชนที่อยู่
ใกล้โรงเรียน
1. บริเวณใกล้เคียงโรงเรียนมีแหล่งบริการทาง
เทคโนโลยีที่ชักจูงนักเรียนให้นำไปใช้ในทาง
ที่ไม่เหมาะสม
2. นักเรียนไม่ได้อยู่ร่วมกับบิดา-มารดา ทำให้
ขาดการดูแลบุตร
3. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีปัญหาด้านครอบครัว
แตกแยกส่งผลกระทบต่อผลการเรียนของ
นักเรียน
4. มีสิ่งแวดล้อมที่มีสื่อยั่วยุเช่น ร้านเกมส์ การ
ใช้โทรศัพท์มือถือ ทำให้นักเรียนมีความเสี่ยง
ในการดารงชีวิตที่ดี
5. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ประกอบ
อาชีพรับจ้าง ไม่มีเวลาดูแลนักเรียน ขาด
วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการเรียน ส่งผลกระทบ
ต่อผลการเรียนของนักเรียน
6. นักเรียนบางส่วนนำสื่อเทคโนโลยีไปใช้
ในทางที่ผิด
7. ชุมชนขาดการควบคุมการให้บริการด้าน
เทคโนโลยี เช่น ร้านอินเตอร์เน็ต เกมส์
20
โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)
10. การให้บริการสื่อเทคโนโลยี และแหล่ง
เรียนรู้ เพื่อการสืบค้นข้อมูลแก่ครู และ
นักเรียนสะดวกสบาย
11. โรงเรียนตั้งอยู่ห่างไกลเขตอุตสาหกรรม
12. ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการดำรงชีวิต อย่าง
พอเพียง
13. โรงเรียนมีเว็ปไซต์ในการเผยแพร่ผลงาน
ข้อมูล ข่าวสารและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
14. ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
(คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ) ทำให้นักเรียน
มีความต้องการบริโภค ส่งผลทำให้นักเรียน
เกิดความรอบรู้ และสามารถแสวงหาความรู้
ได้ด้วยตนเอง
15. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน โดยการ
รับจ้างในภาคเกษตรกรรม
16. โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากชุมชน
17. ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา องค์กร
เอกชน ต่าง ๆ ร่วมกับทางโรงเรียนได้
บริจาค ทุนทรัพย์ในด้านต่าง ๆ และวัสดุ
อุปกรณ์สนับสนุนการศึกษา ส่งผลทำให้
การศึกษาของโรงเรียนพัฒนามี
ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
18. พระราชบัญญัติการศึกษาเอื้อต่อการเรียน
การสอน
19. นโยบายรัฐเรื่องการศึกษาภาคบังคับ
20. โครงการเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ
21. ผู้ปกครองและคนในชุมชนให้ความสนใจใน
ด้านการปฏิรูปการศึกษา
22. หน่วยงานและองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
ให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน
23. นักเรียนมีความรักในวัฒนธรรม ประเพณี
ในท้องถิ่น
8. ขาดแหล่งบริการด้านเทคโนโลยีในชุมชนที่
เอื้อต่อการเรียนรู้
9. ชุมชนมีรายได้น้อยฐานะทางเศรษฐกิจไม่เท่า
เทียม มีผลกระทบต่อ การให้การสนับสนุน
การศึกษา
10. ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจโดยเฉพาะ ค่า
น้ำมัน ทำให้การเดินทางมาโรงเรียนโดยรถ
รับ – ส่งนักเรียนค่อนข้างแพง
11. พ่อ – แม่ ผู้ปกครองไปประกอบอาชีพ
ต่างจังหวัด เพื่อหารายได้ทำให้ไม่มีเวลาใน
การดูแลบุตรหลาน
12. นโยบายของรัฐที่เปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้
การดำเนินงานต้องปรับเปลี่ยนตามรัฐบาล
จึงขาดความต่อเนื่องในการพัฒนา
13. นโยบายการจัดสรรงบประมาณรายหัวของ
รัฐบาลยังไม่เพียงพอกับการบริหารจัดการ
ภายในโรงเรียน
14. บริเวณใกล้เคียงโรงเรียนมีแหล่งบริการทาง
เทคโนโลยีที่ชักจูงนักเรียนให้นำไปใช้ในทาง
ที่ไม่เหมาะสม
15. นักเรียนไม่ได้อยู่ร่วมกับบิดา-มารดา ทำให้
ขาดการดูแลบุตร
16. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีปัญหาด้านครอบครัว
แตกแยกส่งผลกระทบต่อผลการเรียนของ
นักเรียน
17. นักเรียนบางส่วนนำสื่อเทคโนโลยีไปใช้
ในทางที่ผิด
18. ชุมชนขาดการควบคุมการให้บริการด้าน
เทคโนโลยี เช่น ร้านอินเตอร์เน็ต เกมส์
19. ขาดแหล่งบริการด้านเทคโนโลยีในชุมชนที่
เอื้อต่อการเรียนรู้
21
โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)
24. สภาพธรรมชาติและสภาพแวดล้อม
เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอน
25. โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนเมืองทำให้การ
เดินทางมาค่อนข้างสะดวก
26. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
27. ผู้ปกครองให้ความไว้วางใจและมีความ
เชื่อมั่นในครูผู้สอน
28. มีแหล่งสืบค้นข้อมูล แหล่งเรียนรู้นวัตกรรม
และเทคโนโลยีหลากหลายทั้ง
สถาบันการศึกษา และองค์กรเอกชนที่อยู่
ใกล้โรงเรียน
29. การให้บริการสื่อเทคโนโลยี และแหล่ง
เรียนรู้ เพื่อการสืบค้นข้อมูลแก่ครู และ
นักเรียนสะดวกสบาย
30. โรงเรียนตั้งอยู่ห่างไกลเขตอุตสาหกรรม
31. ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการดำรงชีวิต อย่าง
พอเพียง
32. โรงเรียนมีเว็ปไซต์ในการเผยแพร่ผลงาน
ข้อมูล ข่าวสารและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
20. ชุมชนมีรายได้น้อยฐานะทางเศรษฐกิจไม่เท่า
เทียม มีผลกระทบต่อ การให้การสนับสนุน
การศึกษา
21. ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจโดยเฉพาะ ค่า
น้ำมัน ทำให้การเดินทางมาโรงเรียนโดยรถ
รับ – ส่งนักเรียนค่อนข้างแพง
22. พ่อ – แม่ ผู้ปกครองไปประกอบอาชีพ
ต่างจังหวัด เพื่อหารายได้ทำให้ไม่มีเวลาใน
การดูแลบุตรหลาน
23. นโยบายของรัฐที่เปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้
การดำเนินงานต้องปรับเปลี่ยนตามรัฐบาล
จึงขาดความต่อเนื่องในการพัฒนา
24. นโยบายการจัดสรรงบประมาณรายหัวของ
รัฐบาลยังไม่เพียงพอกับการบริหารจัดการ
ภายในโรงเรียน
25. บริเวณใกล้เคียงโรงเรียนมีแหล่งบริการทาง
เทคโนโลยีที่ชักจูงนักเรียนให้นำไปใช้ในทาง
ที่ไม่เหมาะสม
26. นักเรียนไม่ได้อยู่ร่วมกับบิดา-มารดา ทำให้
ขาดการดูแลบุตร
27. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีปัญหาด้านครอบครัว
แตกแยกส่งผลกระทบต่อผลการเรียน
22
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว
(SWOT) สภาพภายใน
จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
1. สถานศึกษามีโครงสร้างการบริหารงาน
ชัดเจน
2. โรงเรียนกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจ
ชัดเจน ทำให้ การทำงานบรรลุเป้าหมาย
อย่างมีประสิทธิภาพ
3. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ
หลากหลาย เป็นผลดีต่อการจัดการศึกษา
4. โรงเรียนมีการประสานงานกับหน่วยงานอื่น
ในการพัฒนาโรงเรียน
5. นโยบายการจัดการศึกษามีภาระงานที่มาก
ทั้งของโรงเรียนและเทศบาล ทำให้
ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของ
ครูลดลง
6. การจัดสภาพแวดล้อมสะอาด สวยงาม ร่ม
รื่น เอื้อแก่การเรียนรู้
7. การจัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนาบุคลิกภาพ
สุขภาพและอนามัยของนักเรียน ให้อยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข
8. มีการจัดหลักสูตรสถานศึกษาและจัดหา
สาระเพิ่มเติมอย่างหลากหลายตามความ
ต้องการของผู้เรียน
9. มีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมจิตสาธารณะ
ในโรงเรียน
10. นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการ
ประชาธิปไตยและ สามารถนำไปใช้ในการ
ปฏิบัติจริงได้
11. นักเรียนดำรงชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่าง
1. ครูรับผิดชอบงานพิเศษมากเกินไป เป็นผล
ให้เวลาในการเตรียมการสอนน้อย
2. ขาดการนิเทศติดตามงานไม่สม่ำเสมอ
3. นักเรียนยังขาดคุณธรรม จริยธรรม เช่น
ความรับผิดชอบ การรักษาสมบัติของโรงเรียน
4. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมาย
5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในบางวิชายังไม่เป็น
ที่น่าพอใจ
6. โรงเรียนมีวัสดุ อุปกรณ์สำหรับจัดการศึกษา
ไม่เพียงพอ
7. นักเรียนไม่เอาใจใส่ต่อการเรียน เพราะ
ส่วนมากบิดา – มารดา ไปทำงานต่างถิ่น
8. ขาดบุคลากรที่มีความถนัดในวิชาเฉพาะ
9. การเบิกจ่ายเงินไม่คล่องตัว
10. งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอต่อการ
พัฒนาโรงเรียน
11. การดำเนินการด้านงบประมาณล่าช้าไม่ทัน
ต่อความต้องการ ไม่คล่องตัว ผู้บริหาร ครู ต้อง
ใช้เงินส่วนตัวสำรองจ่ายในการดำเนินการ
12. โสตทัศนูปกรณ์ยังไม่เพียงพอ และขาด
บุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะทาง
13. วัสดุครุภัณฑ์ขาดคุณภาพและไม่ตรงตาม
ความต้องการ ทำให้ ไม่สามารถจัดกระบวนการ
เรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
14. การซ่อมแซมอุปกรณ์ล่าช้า ไม่ทันต่อการใช้
งานงบประมาณในการดำเนินงานไม่เพียงพอ
23
ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนพานพร้าว
1. ประเด็นตัวชี้วัดปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP) และ ภายใน (2S4M)
ประเด็นตัวชี้วัดปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP)/ผลการประเมิน
รายการปัจจัย ค่าเฉลี่ยคะแนนจริง
1. ด้านสังคม-วัฒนธรรม (Social = S) 0.06
2. ด้านเทคโนโลยี (Technology = T ) 0.08
3. ด้านเศรษฐกิจ ( Economic = E ) 0.12
4. ด้านการเมืองและกฎหมาย (Politic = P) 0.08
สรุปการประเมินสถานภาพปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน (2S4M) 0.34
ประเด็นตัวชี้วัดสภาพแวดล้อมภายใน ( 2S4M )/ผลการประเมิน
รายการปัจจัย ค่าเฉลี่ยคะแนนจริง
1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure =S1 ) 0.06
2. ด้านผลผลิตและการบริการ (Service and Products = S2 ) -0.06
3. ด้านบุคลากร (Man = M1) 0.03
4. ด้านประสิทธิทางการเงิน (Money = M2) 0.03
5. ด้านวัสดุ และอุปกรณ์ (Materials = M3 ) -0.01
6. ด้านการบริหารจัดการ ( Mannagement = M4 ) 0.01
สรุปการประเมินสถานภาพปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน (2S4M) 0.07
24
แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนพานพร้าว
บนแกนความสัมพันธ์ของ SWOT
25
ส่วนที่ 3
สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษา
26
ส่วนที่ 3
สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษา
อุดมการณ์ หลักการในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อุดมการณ์
เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชนโดยรัฐต้องจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาเยาวชนไทย
ทุกคนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะที่เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก เพื่อเป็นรากฐานที่
พอเพียงสำหรับการใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งเพื่อการพัฒนาหน้าที่การงานและการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ส่วนตนและครอบครัว และเพื่อสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งสำหรับการสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่ง
การเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนในอนาคต
หลักการ
ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดหลักที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ ดังนี้
1.หลักการพัฒนาผู้เรียนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ
คุณธรรม เป็นผู้มีจริยธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ใฝ่รู้มีทักษะในการ
แสวงหาความรู้ที่พอเพียงต่อการพัฒนางานอาชีพและคุณภาพชีวิตส่วนตน สามารถเผชิญความเปลี่ยนแปลง
ได้อย่างเท่าทันและชาญฉลาด และมีความเป็นประชาธิปไตย
2.หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นไทย ให้มีความรัก และภาคภูมิใจในท้องถิ่นและ
ประเทศชาติ มีความรู้และทักษะพื้นฐานสำหรับการประกอบอาชีพสุจริต มีความมุ่งมั่น ขยัน ซื่อสัตย์
ประหยัด อดทน มีลักษณะนิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน
สังคมไทย และสังคมโลก
3.หลักแห่งความเสมอภาค คนไทยทั่งปวงต้องมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษา
พื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี อย่างเท่าถึงเท่าเทียม ควบคู่ไปกับความมีคุณภาพ โดยไม่แบ่งชนชั้นหรือความ
แตกต่างทางสังคมวัฒนธรรม
4.หลักการมีส่วนร่วม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการบริหาร
และการจัดการศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้าง
เอกลักษณ์ศักดิ์ศรีและตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นตามนัยของธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พุทธศักราช 2540 เกี่ยวกับการกระจายอำนาจ
5.หลักแห่งความสอดคล้อง อุดมการณ์และมาตรฐานในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ต้องสอดคล้องกับสาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พุทธศักราช 2545 นโยบายการศึกษา
ของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติและสัมพันธ์เชื่อมโยงกับมาตรฐาน
การอาชีวศึกษา และมาตรฐานการอุดมศึกษา
27
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ ประกอบด้วยสาระสำคัญ 4 ประเด็น
1. อุดมการณ์ หลักการในการจัดการศึกษาของชาติ
2. คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก
3. การจัดการศึกษา
4. แนวนำสู่การปฏิบัติ
มาตรฐานที่ 1 อุดมการณ์ หลักการในการจัดการศึกษาของชาติ การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อทุกคน และทุกคน
เพื่อการศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคมที่บูรณาการอย่างสมดุลระหว่าง ปัญญาธรรม
คุณธรรมและวัฒนธรรม เพื่อคนไทยทุกคน โดยทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีคุณค่า เต็มตาม
ศักยภาพ ตรงตามความต้องการ แต่ต้นทุนต่ำ รัฐสนับสนุนการจัดการศึกษามุ่งสร้างพื้นฐานที่ดีในวัยเด็ก
ปลูกฝังความเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในวัยเรียน และพัฒนาทรัพยากรบุคคลวัยทำงานที่มีคุณภาพ โดยให้
สังคมมีส่วนร่วมในการดำเนินการ และตรวจสอบได้อย่างมั่นใจว่าการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาชีวิตและ
สังคม เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติจริง
ตัวบ่งชี้
1. อุดมการณ์
- ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดและรับการศึกษาเข้าใจและถือปฏิบัติตามแนวการจัดการศึกษา
ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนามนุษย์และสังคม
2. การศึกษาเต็มตามสิทธิ อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม
- คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ที่รัฐจัดให้อย่างทั่วถึง
- คนไทยส่วนใหญ่รู้ ใช้สิทธิ และได้รับสิทธิในการศึกษาทุกรูปแบบอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม
3. หลักการจัดการศึกษาในภาพรวม
- การจัดการศึกษาทุกระบบ (การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย) มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล และสัมพันธ์เชื่อมโยงถึงกัน
- ขอบข่ายและปริมาณความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน องค์กร และชุมชน เพิ่มมากขึ้นทุกปี
ทั้งในด้านการจัด การกำกับ สนับสนุน และการตรวจสอบผลการจัดการศึกษา
- ผลการจัดอันดับคุณภาพระบบการศึกษาของไทย ไม่ด้อยกว่าประเทศที่มีงบประมาณทาง
การศึกษาใกล้เคียงกัน และอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน
มาตรฐานที่ 2 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก
คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข
เป้าหมายของการจัดการศึกษา อยู่ที่การพัฒนาคนไทยทุกคนให้เป็น "คนเก่ง คนดี และมี
ความสุข" โดยมีการพัฒนาที่เหมาะสมกับช่วงวัย เต็มตามศักยภาพ และตรงตามความต้องการ ทั้งในด้าน
28
สุขภาพร่างกายและจิตใจ ปัญญา ความรู้และทักษะ คุณธรรมและจิตสำนึกที่พึงประสงค์
คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยเบญจคุณ หรือ คุณ 5 ประการ
1. คุณลักษณ์ มีรูปลักษณ์ (สุขภาพ บุคลิกภาพ) กิจลักษณ์ (พฤติกรรม ทักษะความสามารถ) ดี
2. คุณค่า มีประสบการณ์จากการเรียนรู้ สัมพันธ์เชื่อมโยงกับการพัฒนาชีวิต
3. คุณประโยชน์ มีชีวิตที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม ร่วมสร้างและให้สิ่งดีแก่สังคม
4. คุณภาพ มีชีวิตร่มเย็นเป็นสุข พออยู่พอกิน เป็นสมาชิกครอบครัว พลเมืองและพลโลก ที่ดี
5. คุณธรรม มีความดี เข้าถึงความงามและความจริง ดำเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโน
สุจริต
เบญจคุณ อันเป็นลักษณะที่พึงประสงค์ของคนไทยดังกล่าว จักเกิดขึ้นได้ด้วยการจัดการเรียนรู้ของ
ครู และวิถีการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตาม "พรพระราชทาน 3 ประการ คือ ขอ
จงมีความเพียรที่บริสุทธิ์ ปัญญาที่เฉียบแหลม กำลังกายที่สมบูรณ์ " (จาก...การวิเคราะห์คุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ของคนไทย เพื่อตอบคำถามว่า "เราจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้อะไร?" จากข้อมูลหลายแหล่ง
และการบูรณาการตามแนวพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่องพระมหาชนก (สุมน อมร
วิวัฒน์, 2546) ดังนี้
1. ความเพียรที่บริสุทธิ์ (pure perseverance) ประกอบด้วย
1) ความสามารถ (performance and skills) เป็นผู้รัก ใส่ใจในหน้าที่การงาน มีทักษะ
ทางภาษา ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงาน ทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะ
การค้นคว้าทดลองพิสูจน์เหตุผล ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการจัดการ
2) คุณธรรมและจิตสำนึก (morality and conscience) มีคุณธรรมในการกระทำ ด้าน
ความละอายชั่วกลัวบาป ความซื่อสัตย์สุจริต ความกตัญญูรู้คุณ ความไม่เห็นแก่ตัว ความปราถนาดีเอื้อเฟื้อ
ต่อกัน ความจริงใจ และความขยันหมั่นเพียร และมีจิตสำนึกในการกระทำ ด้านจิตสำนึกความรับผิดชอบ
จิตสำนึกในคุณค่าของตนและผู้อื่น จิตสำนึกความเป็นไทย จิตสำนึกประชาธิปไตย
2. ปัญญาที่เฉียบแหลม ประกอบด้วย
3) ความฉลาดรู้ (knowledge and wisdom) เป็นผู้รู้จริง รู้ครบถ้วน รู้เหตผล รู้เท่าทัน
รู้เชื่อมโยงความเป็นไทยกับสากล รู้จักตนเอง รู้จักสังคมและธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รู้วิธีทำมาหากิน และ
สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิต
4) สติปัญญาและความคิด (intelligence and thinking) จิตและสมองมีการทำงานเกิด
การรับรู้ จดจำ และการคิดอย่างถูกต้องแยบคาย สามารถคิดวิเคราะห์วิจารณ์ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์ คิด
ต่อเนื่องเชื่อมโยง คิดสุจริต คิดมีเหตุผล คิดเป็นระบบ คิดเร็ว คิดคล่อง คิดละเอียด คิดมีจินตนาการ
สามารถแสดงความคิดเห็นเพื่อสื่อสารแก่ผู้อื่นได้
3. กำลังกายที่สมบูรณ์ (completely physical health) ประกอบด้วย
5) มีสุขภาพกายและจิต (physical, mental and spiritual health) รวมทั้งสุข
ภาวะ (well being) ทางกายและจิต มีร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรค มีภูมิคุ้มกัน ภาวะโภชนาการดี
บริหารกาย เล่นกีฬา ท่าทางคล่องแคล่วร่าเริง และมีสภาพจิตใจที่แจ่มใส ไม่เครียด มีสุขภาพจิตดี มีความ
มั่นคงทางอารมณ์ มีสุนทรียภาพ มีทักษะทางดนตรี ศิลปะ และใช้เวลาว่างอย่างเกิดประโยชน์
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565

More Related Content

What's hot

โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอกโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอกBannongjok Jittiboonsri
 
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558Bannongjok Jittiboonsri
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาWatcharasak Chantong
 
โครงการขับเคลื่อนนโยบายการปฎิรูปการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
โครงการขับเคลื่อนนโยบายการปฎิรูปการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีโครงการขับเคลื่อนนโยบายการปฎิรูปการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
โครงการขับเคลื่อนนโยบายการปฎิรูปการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีนิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษานิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีนิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นรินทร์ แสนแก้ว
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559worapanthewaha
 
ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5Lahu001710
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตรายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตWatcharasak Chantong
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาPhuritchanart Thongmee
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูkrutang2151
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานrbsupervision
 

What's hot (20)

O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กรO.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
O.38กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมในองค์กร
 
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอกโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านหนองจอก 2558
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
 
โครงการขับเคลื่อนนโยบายการปฎิรูปการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
โครงการขับเคลื่อนนโยบายการปฎิรูปการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีโครงการขับเคลื่อนนโยบายการปฎิรูปการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
โครงการขับเคลื่อนนโยบายการปฎิรูปการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
 
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
 
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
 
หน้าที่รับผิดชอบ ศธจ.
หน้าที่รับผิดชอบ ศธจ.หน้าที่รับผิดชอบ ศธจ.
หน้าที่รับผิดชอบ ศธจ.
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
 
ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วมการเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตรายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 

Similar to แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565

บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑patchara111
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนkrunoi55
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่Watcharasak Chantong
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 Watcharasak Chantong
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2warut phungsombut
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการNarapong Asarin
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการNarapong Asarin
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557oraneehussem
 

Similar to แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565 (20)

บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสน
 
School
SchoolSchool
School
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
Libary
LibaryLibary
Libary
 
libary
libarylibary
libary
 
Libary
LibaryLibary
Libary
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการ
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการ
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 

More from โรงเรียนพานพร้าว สพม

O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลปO28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลปโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าวO42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าวโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าวO42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าวโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าวโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษาแผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษาโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีdแบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีdโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีxแบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีxโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนพานพร้าว
 นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนพานพร้าว นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนพานพร้าว
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนพานพร้าวโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุโรงเรียนพานพร้าว สพม
 

More from โรงเรียนพานพร้าว สพม (20)

O.3อำนาจและหน้าที.pdf
O.3อำนาจและหน้าที.pdfO.3อำนาจและหน้าที.pdf
O.3อำนาจและหน้าที.pdf
 
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdfO.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
 
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลปO28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
O28.รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลป
 
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงานO18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
O18.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน
 
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณO11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
O11.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
 
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
O19.ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2563
 
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้างO21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
O21.แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
 
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
O10.แผนปฏิบัติการ ปี2563
 
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าวO42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
O42 2.มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของโรงเรียนพานพร้าว
 
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าวO42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
O42. มาตรการป้องกันการรับสินบนของโรงเรียนพานพร้าว
 
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
o20.การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ 2562
 
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานบุคลากรโรงเรียนพานพร้าว
 
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563
 
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษาแผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
แผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตในสถานศึกษา
 
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีdแบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีd
 
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีxแบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
แบบสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานรอบครึ่งปีx
 
O 31 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องการร้องเรียน
O 31 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องการร้องเรียนO 31 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องการร้องเรียน
O 31 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องการร้องเรียน
 
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนพานพร้าว
 นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนพานพร้าว นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนพานพร้าว
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนพานพร้าว
 
O26.สำรวจอัตรกำลัง
O26.สำรวจอัตรกำลังO26.สำรวจอัตรกำลัง
O26.สำรวจอัตรกำลัง
 
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
 

แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565

  • 1. แผนพัฒนาการศึกษา ระยะ ๔ ปี (๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) โรงเรียนพานพร้าว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ http:// www.panpraow.ac.th
  • 2. คำนำ การพัฒนาคุณภาพของการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระยะที่มีสภาวการณ์ของ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี มีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้บริหาร สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาจึงต้องร่วมมือกันกำหนดแนวทาง กระบวนการ และเครื่องมือ ในการบริหารจัดการศึกษาให้มีความหลากหลาย การขับเคลื่อนการพัฒนาโดยยุทธศาสตร์ (Strategy – focus Organization) จะก่อให้เกิดคุณค่า (Value Creation) ตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2562- 2565) ของโรงเรียนพานพร้าว ฉบับนี้ เป็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติให้บังเกิดผล โดยใช้กลยุทธ์การบริหารแบบใช้โรงเรียนเป็น ฐานและการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม จัดทำเป็นแผนพัฒนาคุณภาพระยะยาว ที่สามารถนำไป ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 บริบทของโรงเรียน ส่วนที่ 2 วิเคราะห์บริบทของโรงเรียน (SWOT) ส่วนที่ 3 การกำหนดแผนยุทธศาสตร์ ส่วนที่ 4 แผนพัฒนาคุณภาพ โครงการ/กิจกรรม ส่วนที่ 5 แผนการควบคุมและกำกับติดตาม คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2562- 2565) ฉบับนี้จะเป็นแบบอย่างและแนวทางการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม ให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่ โรงเรียนกำหนดไว้ คณะผู้จัดทำ
  • 3. สารบัญ หน้า คำนำ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา 2 ประวัติโรงเรียนพานพร้าว 3 ทำเลที่ตั้ง 5 จำนวนครู นักเรียน 6 เกียรติประวัติ 8 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 9 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 3 9 ผลการทดสออบทางการศึกษาระดับชาติ (O NET) 15 ส่วนที่ 2 วิเคราะห์องค์กร วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว 19 วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว (SWOT) สภาพภายนอก 19 วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว (SWOT) สภาพภายใน 22 ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนพานพร้าว 23 แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนพานพร้าว บนแกนความสัมพันธ์ของ SWOT 24 ส่วนที่ 3 สาระสำคัญของแผนกลยุทธ์ อุดมการณ์ หลักการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 26 มาตรฐานการศึกษาของชาติ 27 นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปี 2562 ของ สพฐ. 31 นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปี 2562 ของสพม.21 36 ส่วนที่ 4 กำหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี 39 โครงการ/กิจกรรม ส่วนที่ 5 แผนการควบคุม กำกับติดตาม 125 แนวทางการบริหารแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ 126 ปฏิทินการกำกับติดตาม 127 ภาคผนวก 128 คณะกรรมการจัดทำแผนกลยุทธ์ 129
  • 5. 3 ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไป ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนพานพร้าว ประวัติโรงเรียนพานพร้าว โรงเรียนพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคายมีประวัติและความเป็นมาโดยลำดับ ดังต่อไปนี้ ❖โรงเรียนพานพร้าว เปิดทำการสอนตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 โดยให้เปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 1 ห้องเรียน เป็นแบบสหศึกษา รับนักเรียน ในปีแรกได้จำนวน 27 คน และแต่งตั้ง นายคง โพธิบัณฑิต ให้ดำรงตำแหน่ง ครูใหญ่ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2503 ❖โรงเรียนได้ประกอบพิธีเปิดเป็นทางการ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 ที่โรงเรียนปริยัติ ธรรมวัดช้างเผือก และอาศัยทำการสอน อยู่ที่โรงเรียนปริยัติธรรมวัดช้างเผือก เป็นเวลา1 ปีการศึกษา ต่อมาจึงย้ายไปอาศัยอาคารเรียนของโรงเรียนศรีเชียงใหม่ จนกระทั่งถึงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2505 จึง ได้ย้ายมาทำการสอน ในอาคารเรียนของโรงเรียนปัจจุบันจนมาถึงปัจจุบันนี้ ❖ มื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2506 นายเยื้อ วิชัยดิษฐ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้มา ประกอบ พิธีเปิดป้ายนามโรงเรียน ซึ่งเปิดป้ายโรงเรียนครั้งแรก เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 โรงเรียนมีชื่อว่า “ศรีเชียงใหม่วิทยา” แต่ต่อมาเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2503 โรงเรียนได้รับอนุมัติ จากกรมวิสามัญศึกษา ให้ชื่อโรงเรียนว่า “โรงเรียนพานพร้าว” และให้ใช้อักษรย่อว่า “น.ค. 17 ” ในปี พ.ศ. 2514 ได้เปลี่ยนมาใช้อักษรย่อของโรงเรียนว่า “พ.พ.” และได้ใช้มาจนถึงปัจจุบัน ทำเลที่ตั้ง โรงเรียนพานพร้าว ตั้งอยู่เลขที่ 86 หมู่ 5 ตำบลพานพร้าว (เขตเทศบาลตำบลศรีเชียงใหม่) อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีพื้นที่ 2 แปลง มีถนนสายศรีเชียงใหม่สังคม ผ่ากลาง แปลงที่ 1 มีพื้นที่ 19 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา แปลงที่ 2 มีพื้นที่ 14 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา รวมมีพื้นที่ 33 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา ระยะทางจากที่ว่าการอำเภอศรีเชียงใหม่ถึงโรงเรียน ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดหนองคาย 57 กิโลเมตร ทิศเหนือ จดที่ส่วนบุคคล ทิศใต้ จดวัดป่าพระสถิตย์ ทิศตะวันออก จดที่ส่วนบุคคลและวัดป่าพระสถิตย์ ทิศตะวันตก จดที่ส่วนบุคคล
  • 6. 4 แผนผังโรงเรียนพานพร้าว อักษรย่อ พ.พ. สีประจำโรงเรียน ฟ้า - ชมพู คติพจน์ของโรงเรียนพานพร้าว (Motto) “ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม” เรียนดี คือการศึกษาคือชีวิตที่เจริญเติบโต ให้ความรู้ ความจริงที่เป็นอมตะ และชี้นำแนว ทางการดำรงชีวิตที่มีวินัย เรียบง่าย มีเมตตาธรรม และมีปณิธานอันแน่วแน่ที่จะศึกษาทั้งด้านศาสตร์และ ศิลป์ รวมทั้งวิทยาการ ที่ทันสมัย เพื่อประกอบสัมมาอาชีพ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตจะธำรงและเทิดทูน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีวินัย หมายถึง การรู้จักเคารพต่อกฎกติกา ระเบียบและศักดิ์ศรีของผู้อื่น เคารพผู้อาวุโสกว่า ทั้ง คุณวุฒิและวัยวุฒิ มีความเป็นประชาธิปไตยแก้ปัญหาในชีวิต ด้วยสันติวิธีมีความรับผิดชอบต่อตนเองและ ส่วนรวม รักษาความสะอาดและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ใฝ่หาคุณธรรม หมายถึง ความมีศรัทธาในศาสนาที่ตนนับถือและไม่ลบหลู่ดูหมิ่นศาสนาอื่น สามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติการมีค่านิยมในชีวิตที่ถูกต้อง มีความเข้าใจ และซาบซึ้งในคุณค่าของวัฒนธรรม ไทย
  • 7. 5 เครื่องหมายประจำโรงเรียน ทำเนียบผู้บริหาร ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง ปีที่ปฏิบัติหน้าที่ 1. นายคง โพธิบัณทิต ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ พ.ศ. 2503 - 2524 2. นายวีระพงศ์ ดวงอุทา ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2524 - 2532 3. นายสมภาร ร่มโพธิ์ทอง ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2532 - 2533 4. นางลออ จองอยู่ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2533 - 2534 5. นายโสภณ บำรุงสงฆ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2534 - 2535 6. ว่าที่ร้อยตรี สุเทพ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2535 - 2537 7. นายประคอง พัวตะนะ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2537 - 2544 8. นายเดชา พจนสุนทร ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2544 - 2547 9. นายอนันต์ อมตฉายา ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2547 - 2558 10. นายจิตการ หนูจันทร์ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ.2558 – 2561 11. นายคมสัน ชัยจักร์ ผู้อำนวยการโรงเรียน พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม 1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลศรีเชียงใหม่ อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีประชากรประมาณ 30,735 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบ โรงเรียน ได้แก่ วัด ร้านค้า โรงงานอุตสาหกรรม อาชีพหลักของชุมชน คือ อาชีพเกษตรกร อาชีพ รับจ้าง และอาชีพค้าขาย เนื่องจากพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะกับการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ และพื้นที่ติดกับ แม่น้ำโขง อีกทั้งมีการค้าขายกับประเทศลาว ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณีและศิลปวัฒนธรรม ส่วนใหญ่ ของท้องถิ่นที่รู้จักคือ บุญบั้งไฟ งานมะเขือเทศ งานแข่งเรือ งานสงกรานต์ งานแห่เทียน เข้าพรรษา ฯ 2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 75 ประกอบอาชีพ เกษตรกร ร้อยละ 70 อาชีพค้าขาย ร้อยละ 20 อาชีพอื่น ๆ ร้อยละ 10 นับถือศาสนาพุทธ 100 % รายได้โดยเฉลี่ยต่อปี 7,000 บาท
  • 8. 6 3) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน โรงเรียนพานพร้าวเป็นโรงเรียนขนาดกลาง พื้นที่โดยรอบ เป็นบ้านพักอาศัย วัดป่าพระสถิตย์ โรงงานอุตสาหกรรม ร้านค้า ทำให้โรงเรียนได้ร่วมงานกับชุมชนใน งานเทศกาลต่าง ๆ และโรงเรียนได้นำนักเรียนไปทำบุญในวันสำคัญทางศาสนาที่วัดเป็นประจำในช่วงปิด เทอมนักเรียนได้เข้าไปทำงานในโรงงานทำให้มีรายได้ระหว่างเรียน แต่มีบางช่วงที่โรงงานปล่อยน้ำเสีย ออกมามีกลิ่นเหม็น ซึ่งมีผลต่อสุขภาพของคนในบริเวณนั้น ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลผู้บริหาร 1) นายคมสัน ชัยจักร์ ผู้อำนวยการโรงเรียนพานพร้าว โทรศัพท์ 087-8675566 e-mail : kroosek@gmail.com วุฒิทางการศึกษา กศ.ม.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) ศษ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ) ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 จนถึงปัจจุบัน 2) นายศุภชัย พัดพรม ครูชำนาญการพิเศษ ผู้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ โรงเรียน ลำดับ ที่ 1 3) นายสุบัน พิชิตชัย ครูชำนาญการพิเศษ ผู้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ลำดับ ที่ 2 4) นางวัชรีพร ชัยจักร์ หัวหน้ากลุ่มบริหารทั่วไป 5) นางองุ่น ผาจันทร์ หัวหน้ากลุ่มการบริหารงบประมาณ 6) นางนันธิยา พูลเพิ่ม หัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ 7) นางสาวปาริชาติ เวียงอินทร์ หัวหน้ากลุ่มการบริหารงานบุคคล 8) นายสัมพันธ์ สวัสดิ์ธรรม หัวหน้ากลุ่มบริหารกิจการนักเรียน บุคลากรจำแนกตามเพศ ลำดับ ที่ ประเภท จำนวน รวม ชาย หญิง 1 ข้าราชการครู 12 15 27 2 ครูผู้ทรงคุณค่า 1 - 1 3 พนักงานราชการ 1 3 4 4 ครูอัตราจ้าง 1 1 2 5 นักการ แม่บ้าน 2 1 3 รวม 17 20 37
  • 9. 7 ข้าราชการครูจำแนกตามตำแหน่งวิทยฐานะ ตำแหน่ง จำนวน หมายเหตุ ชาย หญิง รวม ผู้อำนวยการโรงเรียน 1 - 1 รองผู้อำนวยการโรงเรียน - - - ครูชำนาญการพิเศษ 7 7 14 ครูชำนาญการ 1 2 3 ครู 1 3 4 ครูผู้ช่วย 2 3 5 รวม 13 16 27 ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร จำแนกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้ วุฒิการศึกษา จำนวน (คน) รวมชาย หญิง ปริญญาเอก - 1 1 ปริญญาโท 3 3 6 ปริญญาตรี 13 14 27 ตำกว่าปริญญาตรี 2 1 3 รวม 18 19 37 จำนวนนักเรียนโรงเรียนพานพร้าว ปีการศึกษา 2562 ระดับชั้น จำนวนห้องเรียน เพศ รวม เฉลี่ย/ห้องชาย หญิง ม.1 3 45 53 98 32.67 ม.2 3 53 39 92 30.67 ม.3 3 59 38 97 32.33 ม.4 2 20 35 55 27.50 ม.5 2 31 33 64 32.00 ม.6 2 23 34 57 28.50 รวมทั้งสิ้น 15 233 232 465 31
  • 10. 8 เกียรติประวัติของโรงเรียนพานพร้าว ❖ สถานศึกษาต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ❖ ได้รับรางวัลเหรียญทอง การประกวดเพลงคุณธรรม ม. 4-6 งานมหกรรมความสามารถทาง ศิลปหัตถกรรมวิชาการและเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2561 ❖ผลงานที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดีของสถานศึกษากระบวนการดำเนินห้องสมุด 3 ดี เพื่อส่งเสริมการ อ่าน ได้รับรางวัล พัฒนาห้องสมุดมีชีวิต 3 ดี ตามเกณฑ์มาตรฐาน สพฐ. ❖รางวัลชนะเลิศบาสเก็ตบอลหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กีฬาปาริชาติเกมส์ จังหวัด หนองคาย ❖รางวัลชนะเลิศ กีฬาเปตองทีมชาย รายการกีฬาชิงชนะเลิศจังหวัดหนองคาย และเป็นตัวแทน เยาวชนแห่งชาติ คัดเลือกตัวแทนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ❖รางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ❖รองชนะเลิศประกวดสวดมนต์สรภัญญะ มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้าน ช้าง จังหวัดเลย ❖ รางวัลสถานศึกษาปลอดภัย ระดับดีเยี่ยม ❖ รางวัลโล่เกียติยสระดับประเทศ อย.น้อย การขยายผลรูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภค อาหาร เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDS)
  • 11. 9 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนพานพร้าว 1. นายภุชงค์ ชานันโท ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ 2. นางสาวพัชณีย์ พลกองเส็ง ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ 3. นายศุภชัย พัดพรม ผู้แทนครู กรรมการ 4. นายขรรชัย พุทธวรรณ ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ 5. นางลักขณา เพ็งนิล ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ 6. นายประหยัด ศรีประเสริฐ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ 7. พระครูสุวรรณณธรรมรักษ์ ผู้แทนพระภิกษุและองค์กรศาสนา กรรมการ 8. นายณรงค์ ผาจันทร์ ผู้แทนพระภิกษุและองค์กรศาสนา กรรมการ 9. นางสมจิตร์ พิชิตชัย ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 10. นาวาอากาศเอกมงคล คำภู ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 11. นายยุทธนา พงศ์กรกัมพล ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 12. นายมนตรี เกษรพรหม ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 13. นางกิติยา ศักดิ์ศิริลักษณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 14. นางชื่นจิต จันดา ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 15. นายคมสัน ชัยจักร์ ผู้อำนวยการโรงเรียน กรรมการและเลขานุการ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม บทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนพานพร้าว ตั้งอยู่เลขที่ 86 หมู่ที่ 5 ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัด หนองคาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีบุคลากรสายบริหาร 2 คน ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม เมื่อวันที่ 25ถึง 27 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 มีการจัดการศึกษา 1 ระดับ คือระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา มีบุคลากรครูจำนวน 30 คน นักเรียน จำนวน 509 คน รวมทั้งสถานศึกษามีบุคลากรครู จำนวน 30 คน นักเรียน จำนวน 509 คน ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา แสดงในตารางสรุปผลได้ดังนี้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป ได้แก่
  • 12. 10 ลำดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 1 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ดีมาก 2 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ดีมาก 3 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา ดีมาก 4 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ดีมาก 5 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ดีมาก 6 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศึกษา ดีมาก 7 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่ สอดคล้อง กับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ดีมาก 8 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ดี 9 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ดี 10 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ ดี 11 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย สถานศึกษาและต้นสังกัด ดี ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพต่ำกว่าระดับดี ได้แก่ ลำดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 1 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ต้องปรับปรุง จุดเด่น 1. สถานศึกษามีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของการประกันคุณภาพ ภายใน ทั้ง 15 มาตรฐาน ส่งผลให้ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ปลอดจากปัญหา ทางเพศ ยาเสพติดและสิ่งมอมเมา เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และนันทนาการ ไม่มีปัญหาด้าน การปกครอง ร่วมทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวมอย่างต่อเนื่อง เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง ร่วมกับผู้อื่นทั้งในและนอกสถานศึกษา มีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม ผู้เรียนส่วนใหญ่มี คุณลักษณะเด่น คือ ร่าเริงแจ่มใส ไหว้สวย มีเอกลักษณ์คือ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม เลิศล้ำศิลปะ ดำเนินงานมาตรการส่งเสริมในการต่อต้านยาเสพติดอย่างได้ผล 2. ผู้บริหารจัดการองค์กรโครงสร้างการบริหารงานอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมงานทั้ง 5 งาน ตามโครงสร้างการบริหาร คือ งานบริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งาน
  • 13. 11 บริหารทั่วไป และงานกิจการนักเรียน มีโครงการพัฒนาระบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ที่หลากหลาย มีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ร่วมปรับปรุงพัฒนา บริเวณโรงเรียน อาคารเรียนและอาคารประกอบต่าง ๆ ให้มีความมั่นคง แข็งแรง มีการพัฒนาบริเวณ โรงเรียนให้เป็นระเบียบ ไม่รกรุงรัง สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ มีการตกแต่งอาคารและสภาพแวดล้อมได้ อย่างเหมาะสม สวยงาม สถานศึกษามีการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา รณรงค์ให้รักการอ่าน มีการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ สอง 3. สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนตามที่คุรุสภากำหนด มีการประเมิน แผนการจัดการเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ ประเมินการจัดการเรียนรู้ของครู พร้อมทั้งแบบวัด แบบ ประเมินผล ทุกภาคการศึกษา ครูกำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน วิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็น รายบุคคล จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างทั่วถึง ใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการประเมิน ความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย นำมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ 4. สถานศึกษามีการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ได้รับการสนับสนุนและกำกับดูแลจากหน่วยงานต้นสังกัด การพัฒนาคุณภาพภายในของสถานศึกษา 3 ปีย้อนหลัง มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นทุกปี จุดที่ควรพัฒนา 1. ผู้เรียนส่วนใหญ่มีความแตกต่างระหว่างบุคคล มีปัญหาทางด้านครอบครัว มีทักษะพื้นฐาน ระดับสติปัญญา ศักยภาพไม่เพียงพอที่จะเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีปัญหาไม่ตั้งใจเรียน มีปัญหา สภาพแวดล้อม ครอบครัวมีรายได้น้อยและไม่แน่นอน ไม่มีเวลาเพียงพอในการเอาใจใส่จากครอบครัว ซึ่งสถานศึกษาไม่ได้จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีผลการเรียนต่ำ เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนได้ถูกต้องตาม สภาพของผู้เรียน สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี มีลักษณะแยกส่วนไปจากการดำเนินการจัดการเรียนการสอน เพื่อ พัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางตามแผนการจัดการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การกำหนดตัวชี้วัด ความสำเร็จในเป้าหมายของแผนไม่ชัดเจน ไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. สถานศึกษาขาดการวิเคราะห์ผลการทดสอบของผู้เรียนเป็นรายบุคคลทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อจะได้จัดกิจกรรมซ่อมเสริมพัฒนาผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง ครูบางส่วนจัดการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้ ไม่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล การนิเทศติดตามผลไม่มีการบันทึกข้อค้นพบ และข้อคิดเห็น ของผู้นิเทศ เพื่อนำผลการนิเทศไปใช้พัฒนาครูได้อย่างถูกต้อง ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553 1. ด้านผลการจัดการศึกษา
  • 14. 12 1) สถานศึกษาควรพัฒนาการดำเนินงานการจัดระบบดูแลช่วยเหลือเหลือผู้เรียน จัด ให้บริการแนะแนวการศึกษา การเยี่ยมบ้านผู้เรียนอย่างทั่วถึงและต่อเนื่องการคัดกรองผู้เรียนที่ต้องพัฒนา เป็นพิเศษ เพื่อจัดสรรเวลาจัดกิจกรรมการสอนซ่อมเสริม เพื่อแก้ปัญหากลุ่มเรียนช้า 2) สถานศึกษาควรวิเคราะห์ผลการทดสอบของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อพัฒนา ประสิทธิผล การจัดการเรียนรู้ของครู ตามหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียน รายบุคคล มีการกำหนดตัวชี้วัดในเป้าหมายของโครงการ กิจกรรมเชิงปริมาณและคุณภาพ ที่สามารถ ประเมินผลเพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ สามารถบอกผลการประเมินได้ชัดเจนว่าบรรลุเป้าหมาย ที่กำหนดไว้หรือไม่ 2. ด้านการบริหารจัดการศึกษา ไม่มี 3. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1) สถานศึกษาควรส่งเสริมการพัฒนาครูบางส่วนในการออกแบบการเรียนรู้และการ จัดการเรียนรู้ ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนรายบุคคล มีการวิเคราะห์ผลการประเมิน และ นำมาใช้ในการสอนซ่อมเสริมเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ และการศึกษา ค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2) สถานศึกษาควรจัดให้มีการนิเทศภายในเพื่อพัฒนาครูบางส่วน มีการนำผลการประเมิน แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดและแบบทดสอบ เพื่อนำผลดังกล่าวไปพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ 4. ด้านการประกันคุณภาพภายใน ไม่มี นวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์ โครงงานคุณธรรม “ตามรอยพระราชา ได้เป็นนักบิณฑบาตร โอกาสทำดี ถวายองค์จักรี ภูมิพลฯ” การเรียนรู้ที่ไม่จำกัด EDUCATION FOR ALL นั้นก็คือ ความมุ่งหมายในการพัฒนาชีวิตผู้เรียนและชุมชน สังคม ตามบริบทของชุมชนศรีเชียงใหม่ โดยใช้หลักไตรสิกขาในพระพุทธศาสนามาใช้ในการดำเนินการมุ่ง พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน และผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายจะได้รับประโยชน์สูงสุด ทั้งศีล จิตใจ สมาธิ ซึ่งผู้เรียน จะได้ซึมซับ เรียนรู้ สร้างสรรค์ เปิดประตูแห่งความคิด เปิดหน้าต่างชีวิตรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ หลากหลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้รู้ทันความคิด แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ในการดำเนินชีวิตและมีภูมิคุ้มกันที่ ดีในการดำเนินชีวิตในอนาคตได้อย่างยั่งยืน แก่นการเรียนรู้ “ร่วมกัน ทำดี อย่างมีปัญญา”
  • 15. 13 ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จำแนกตามกลุ่มตัวบ่งชี้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) น้ำหนัก (คะแนน) คะแนน ที่ได้ ระดับ คุณ ภาพ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 10.00 9.73 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10.00 9.04 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10.00 8.75 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น 10.00 8.44 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20.00 5.38 ต้อง ปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 10.00 8.00 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น สังกัด 5.00 4.08 ดี กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก คะแนนรวม 100.00 78.42 ดี การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป  ใช่ ❑ ไม่ใช่ มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไปอย่างน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จาก 12 ตัวบ่งชี้  ใช่ ❑ ไม่ใช่ ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน ❑ ใช่  ไม่ใช่ สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม ❑ สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
  • 16. 14 ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกจำแนกเป็นรายมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) น้ำหนัก (คะแนน) คะแนน ที่ได้ ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 10.00 9.73 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10.00 9.04 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10.00 8.75 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น 10.00 8.44 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20.00 5.38 ต้อง ปรับปรุง กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 10.00 8.00 ดี มาตรฐานที่ ๔ มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น สังกัด 5.00 4.08 ดี ผลรวมคะแนนทั้งหมด 100.00 78.42 ดี
  • 17. 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O - NET ) 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O - NET ) ประจำปีการศึกษา 2561 ❖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 48.14 27.04 33.23 25.95 คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ 51.67 27.46 34.56 27.69 คะแนนเฉลี่ย สังกัด สพฐ.ทั้งหมด 55.04 30.28 36.43 29.10 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 54.42 30.04 36.10 29.45
  • 18. 16 ❖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 34.85 18.9 25.02 31.03 22.46 คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ 43.11 24.83 28.27 33.06 26.81 คะแนนเฉลี่ย สังกัด สพฐ.ทั้งหมด 48.16 31.04 30.75 35.48 31.15 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 47.31 30.72 30.51 35.16 31.41
  • 21. 19 ส่วนที่ 2 วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว วิเคราะห์สภาพแวดล้อม โรงเรียนพานพร้าว (SWOT Analysis) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สถานการณ์ เพื่อให้ผู้บริหารรู้ จุดแข็ง จุดอ่อน สภาพภายในของโรงเรียน โอกาส และอุปสรรค์ของสภาพภายนอก ซึ่งจะช่วยให้ทราบว่าองค์กรได้ เดินทางมาถูกทิศทางและไม่หลงทาง นอกจากนี้ยังบอกได้ว่าองค์กรมีแรงขับไปยังเป้าหมายได้ดีหรือไม่ มั่นใจได้อย่างไรว่าระบบการทำงานในองค์กรยังมีประสิทธิพอยู่ มีจุดอ่อนที่จะต้องปรับปรุงอย่างไร ซึ่งการ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) โรงเรียนพานพร้าว มีดังนี้ วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว (SWOT) สภาพภายนอก โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) 1. โรงเรียนได้รับการยอมรับและศรัทธาจาก ชุมชนและสังคม 2. ผู้ปกครองและคนในชุมชนให้ความสนใจใน ด้านการปฏิรูปการศึกษา 3. หน่วยงานและองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน 4. นักเรียนมีความรักในวัฒนธรรม ประเพณี ในท้องถิ่น 5. สภาพธรรมชาติและสภาพแวดล้อม เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอน 6. โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนเมืองทำให้การ เดินทางมาค่อนข้างสะดวก 7. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย 8. ผู้ปกครองให้ความไว้วางใจและมีความ เชื่อมั่นในครูผู้สอน 9. มีแหล่งสืบค้นข้อมูล แหล่งเรียนรู้นวัตกรรม และเทคโนโลยีหลากหลายทั้ง สถาบันการศึกษา และองค์กรเอกชนที่อยู่ ใกล้โรงเรียน 1. บริเวณใกล้เคียงโรงเรียนมีแหล่งบริการทาง เทคโนโลยีที่ชักจูงนักเรียนให้นำไปใช้ในทาง ที่ไม่เหมาะสม 2. นักเรียนไม่ได้อยู่ร่วมกับบิดา-มารดา ทำให้ ขาดการดูแลบุตร 3. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีปัญหาด้านครอบครัว แตกแยกส่งผลกระทบต่อผลการเรียนของ นักเรียน 4. มีสิ่งแวดล้อมที่มีสื่อยั่วยุเช่น ร้านเกมส์ การ ใช้โทรศัพท์มือถือ ทำให้นักเรียนมีความเสี่ยง ในการดารงชีวิตที่ดี 5. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ประกอบ อาชีพรับจ้าง ไม่มีเวลาดูแลนักเรียน ขาด วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการเรียน ส่งผลกระทบ ต่อผลการเรียนของนักเรียน 6. นักเรียนบางส่วนนำสื่อเทคโนโลยีไปใช้ ในทางที่ผิด 7. ชุมชนขาดการควบคุมการให้บริการด้าน เทคโนโลยี เช่น ร้านอินเตอร์เน็ต เกมส์
  • 22. 20 โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) 10. การให้บริการสื่อเทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้ เพื่อการสืบค้นข้อมูลแก่ครู และ นักเรียนสะดวกสบาย 11. โรงเรียนตั้งอยู่ห่างไกลเขตอุตสาหกรรม 12. ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการดำรงชีวิต อย่าง พอเพียง 13. โรงเรียนมีเว็ปไซต์ในการเผยแพร่ผลงาน ข้อมูล ข่าวสารและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น 14. ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ) ทำให้นักเรียน มีความต้องการบริโภค ส่งผลทำให้นักเรียน เกิดความรอบรู้ และสามารถแสวงหาความรู้ ได้ด้วยตนเอง 15. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน โดยการ รับจ้างในภาคเกษตรกรรม 16. โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากชุมชน 17. ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา องค์กร เอกชน ต่าง ๆ ร่วมกับทางโรงเรียนได้ บริจาค ทุนทรัพย์ในด้านต่าง ๆ และวัสดุ อุปกรณ์สนับสนุนการศึกษา ส่งผลทำให้ การศึกษาของโรงเรียนพัฒนามี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น 18. พระราชบัญญัติการศึกษาเอื้อต่อการเรียน การสอน 19. นโยบายรัฐเรื่องการศึกษาภาคบังคับ 20. โครงการเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ 21. ผู้ปกครองและคนในชุมชนให้ความสนใจใน ด้านการปฏิรูปการศึกษา 22. หน่วยงานและองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน 23. นักเรียนมีความรักในวัฒนธรรม ประเพณี ในท้องถิ่น 8. ขาดแหล่งบริการด้านเทคโนโลยีในชุมชนที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ 9. ชุมชนมีรายได้น้อยฐานะทางเศรษฐกิจไม่เท่า เทียม มีผลกระทบต่อ การให้การสนับสนุน การศึกษา 10. ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจโดยเฉพาะ ค่า น้ำมัน ทำให้การเดินทางมาโรงเรียนโดยรถ รับ – ส่งนักเรียนค่อนข้างแพง 11. พ่อ – แม่ ผู้ปกครองไปประกอบอาชีพ ต่างจังหวัด เพื่อหารายได้ทำให้ไม่มีเวลาใน การดูแลบุตรหลาน 12. นโยบายของรัฐที่เปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้ การดำเนินงานต้องปรับเปลี่ยนตามรัฐบาล จึงขาดความต่อเนื่องในการพัฒนา 13. นโยบายการจัดสรรงบประมาณรายหัวของ รัฐบาลยังไม่เพียงพอกับการบริหารจัดการ ภายในโรงเรียน 14. บริเวณใกล้เคียงโรงเรียนมีแหล่งบริการทาง เทคโนโลยีที่ชักจูงนักเรียนให้นำไปใช้ในทาง ที่ไม่เหมาะสม 15. นักเรียนไม่ได้อยู่ร่วมกับบิดา-มารดา ทำให้ ขาดการดูแลบุตร 16. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีปัญหาด้านครอบครัว แตกแยกส่งผลกระทบต่อผลการเรียนของ นักเรียน 17. นักเรียนบางส่วนนำสื่อเทคโนโลยีไปใช้ ในทางที่ผิด 18. ชุมชนขาดการควบคุมการให้บริการด้าน เทคโนโลยี เช่น ร้านอินเตอร์เน็ต เกมส์ 19. ขาดแหล่งบริการด้านเทคโนโลยีในชุมชนที่ เอื้อต่อการเรียนรู้
  • 23. 21 โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) 24. สภาพธรรมชาติและสภาพแวดล้อม เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอน 25. โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนเมืองทำให้การ เดินทางมาค่อนข้างสะดวก 26. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย 27. ผู้ปกครองให้ความไว้วางใจและมีความ เชื่อมั่นในครูผู้สอน 28. มีแหล่งสืบค้นข้อมูล แหล่งเรียนรู้นวัตกรรม และเทคโนโลยีหลากหลายทั้ง สถาบันการศึกษา และองค์กรเอกชนที่อยู่ ใกล้โรงเรียน 29. การให้บริการสื่อเทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้ เพื่อการสืบค้นข้อมูลแก่ครู และ นักเรียนสะดวกสบาย 30. โรงเรียนตั้งอยู่ห่างไกลเขตอุตสาหกรรม 31. ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการดำรงชีวิต อย่าง พอเพียง 32. โรงเรียนมีเว็ปไซต์ในการเผยแพร่ผลงาน ข้อมูล ข่าวสารและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น 20. ชุมชนมีรายได้น้อยฐานะทางเศรษฐกิจไม่เท่า เทียม มีผลกระทบต่อ การให้การสนับสนุน การศึกษา 21. ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจโดยเฉพาะ ค่า น้ำมัน ทำให้การเดินทางมาโรงเรียนโดยรถ รับ – ส่งนักเรียนค่อนข้างแพง 22. พ่อ – แม่ ผู้ปกครองไปประกอบอาชีพ ต่างจังหวัด เพื่อหารายได้ทำให้ไม่มีเวลาใน การดูแลบุตรหลาน 23. นโยบายของรัฐที่เปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้ การดำเนินงานต้องปรับเปลี่ยนตามรัฐบาล จึงขาดความต่อเนื่องในการพัฒนา 24. นโยบายการจัดสรรงบประมาณรายหัวของ รัฐบาลยังไม่เพียงพอกับการบริหารจัดการ ภายในโรงเรียน 25. บริเวณใกล้เคียงโรงเรียนมีแหล่งบริการทาง เทคโนโลยีที่ชักจูงนักเรียนให้นำไปใช้ในทาง ที่ไม่เหมาะสม 26. นักเรียนไม่ได้อยู่ร่วมกับบิดา-มารดา ทำให้ ขาดการดูแลบุตร 27. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีปัญหาด้านครอบครัว แตกแยกส่งผลกระทบต่อผลการเรียน
  • 24. 22 วิเคราะห์บริบทโรงเรียนพานพร้าว (SWOT) สภาพภายใน จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) 1. สถานศึกษามีโครงสร้างการบริหารงาน ชัดเจน 2. โรงเรียนกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจ ชัดเจน ทำให้ การทำงานบรรลุเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ 3. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ หลากหลาย เป็นผลดีต่อการจัดการศึกษา 4. โรงเรียนมีการประสานงานกับหน่วยงานอื่น ในการพัฒนาโรงเรียน 5. นโยบายการจัดการศึกษามีภาระงานที่มาก ทั้งของโรงเรียนและเทศบาล ทำให้ ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของ ครูลดลง 6. การจัดสภาพแวดล้อมสะอาด สวยงาม ร่ม รื่น เอื้อแก่การเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนาบุคลิกภาพ สุขภาพและอนามัยของนักเรียน ให้อยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข 8. มีการจัดหลักสูตรสถานศึกษาและจัดหา สาระเพิ่มเติมอย่างหลากหลายตามความ ต้องการของผู้เรียน 9. มีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมจิตสาธารณะ ในโรงเรียน 10. นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการ ประชาธิปไตยและ สามารถนำไปใช้ในการ ปฏิบัติจริงได้ 11. นักเรียนดำรงชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่าง 1. ครูรับผิดชอบงานพิเศษมากเกินไป เป็นผล ให้เวลาในการเตรียมการสอนน้อย 2. ขาดการนิเทศติดตามงานไม่สม่ำเสมอ 3. นักเรียนยังขาดคุณธรรม จริยธรรม เช่น ความรับผิดชอบ การรักษาสมบัติของโรงเรียน 4. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในบางวิชายังไม่เป็น ที่น่าพอใจ 6. โรงเรียนมีวัสดุ อุปกรณ์สำหรับจัดการศึกษา ไม่เพียงพอ 7. นักเรียนไม่เอาใจใส่ต่อการเรียน เพราะ ส่วนมากบิดา – มารดา ไปทำงานต่างถิ่น 8. ขาดบุคลากรที่มีความถนัดในวิชาเฉพาะ 9. การเบิกจ่ายเงินไม่คล่องตัว 10. งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอต่อการ พัฒนาโรงเรียน 11. การดำเนินการด้านงบประมาณล่าช้าไม่ทัน ต่อความต้องการ ไม่คล่องตัว ผู้บริหาร ครู ต้อง ใช้เงินส่วนตัวสำรองจ่ายในการดำเนินการ 12. โสตทัศนูปกรณ์ยังไม่เพียงพอ และขาด บุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะทาง 13. วัสดุครุภัณฑ์ขาดคุณภาพและไม่ตรงตาม ความต้องการ ทำให้ ไม่สามารถจัดกระบวนการ เรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 14. การซ่อมแซมอุปกรณ์ล่าช้า ไม่ทันต่อการใช้ งานงบประมาณในการดำเนินงานไม่เพียงพอ
  • 25. 23 ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนพานพร้าว 1. ประเด็นตัวชี้วัดปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP) และ ภายใน (2S4M) ประเด็นตัวชี้วัดปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP)/ผลการประเมิน รายการปัจจัย ค่าเฉลี่ยคะแนนจริง 1. ด้านสังคม-วัฒนธรรม (Social = S) 0.06 2. ด้านเทคโนโลยี (Technology = T ) 0.08 3. ด้านเศรษฐกิจ ( Economic = E ) 0.12 4. ด้านการเมืองและกฎหมาย (Politic = P) 0.08 สรุปการประเมินสถานภาพปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน (2S4M) 0.34 ประเด็นตัวชี้วัดสภาพแวดล้อมภายใน ( 2S4M )/ผลการประเมิน รายการปัจจัย ค่าเฉลี่ยคะแนนจริง 1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure =S1 ) 0.06 2. ด้านผลผลิตและการบริการ (Service and Products = S2 ) -0.06 3. ด้านบุคลากร (Man = M1) 0.03 4. ด้านประสิทธิทางการเงิน (Money = M2) 0.03 5. ด้านวัสดุ และอุปกรณ์ (Materials = M3 ) -0.01 6. ด้านการบริหารจัดการ ( Mannagement = M4 ) 0.01 สรุปการประเมินสถานภาพปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน (2S4M) 0.07
  • 28. 26 ส่วนที่ 3 สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษา อุดมการณ์ หลักการในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน อุดมการณ์ เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชนโดยรัฐต้องจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาเยาวชนไทย ทุกคนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะที่เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก เพื่อเป็นรากฐานที่ พอเพียงสำหรับการใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งเพื่อการพัฒนาหน้าที่การงานและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่วนตนและครอบครัว และเพื่อสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งสำหรับการสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่ง การเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนในอนาคต หลักการ ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดหลักที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ ดังนี้ 1.หลักการพัฒนาผู้เรียนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม เป็นผู้มีจริยธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ใฝ่รู้มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ที่พอเพียงต่อการพัฒนางานอาชีพและคุณภาพชีวิตส่วนตน สามารถเผชิญความเปลี่ยนแปลง ได้อย่างเท่าทันและชาญฉลาด และมีความเป็นประชาธิปไตย 2.หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นไทย ให้มีความรัก และภาคภูมิใจในท้องถิ่นและ ประเทศชาติ มีความรู้และทักษะพื้นฐานสำหรับการประกอบอาชีพสุจริต มีความมุ่งมั่น ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน มีลักษณะนิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมไทย และสังคมโลก 3.หลักแห่งความเสมอภาค คนไทยทั่งปวงต้องมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษา พื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี อย่างเท่าถึงเท่าเทียม ควบคู่ไปกับความมีคุณภาพ โดยไม่แบ่งชนชั้นหรือความ แตกต่างทางสังคมวัฒนธรรม 4.หลักการมีส่วนร่วม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการบริหาร และการจัดการศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้าง เอกลักษณ์ศักดิ์ศรีและตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นตามนัยของธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2540 เกี่ยวกับการกระจายอำนาจ 5.หลักแห่งความสอดคล้อง อุดมการณ์และมาตรฐานในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องสอดคล้องกับสาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พุทธศักราช 2545 นโยบายการศึกษา ของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติและสัมพันธ์เชื่อมโยงกับมาตรฐาน การอาชีวศึกษา และมาตรฐานการอุดมศึกษา
  • 29. 27 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ ประกอบด้วยสาระสำคัญ 4 ประเด็น 1. อุดมการณ์ หลักการในการจัดการศึกษาของชาติ 2. คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก 3. การจัดการศึกษา 4. แนวนำสู่การปฏิบัติ มาตรฐานที่ 1 อุดมการณ์ หลักการในการจัดการศึกษาของชาติ การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อทุกคน และทุกคน เพื่อการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคมที่บูรณาการอย่างสมดุลระหว่าง ปัญญาธรรม คุณธรรมและวัฒนธรรม เพื่อคนไทยทุกคน โดยทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีคุณค่า เต็มตาม ศักยภาพ ตรงตามความต้องการ แต่ต้นทุนต่ำ รัฐสนับสนุนการจัดการศึกษามุ่งสร้างพื้นฐานที่ดีในวัยเด็ก ปลูกฝังความเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในวัยเรียน และพัฒนาทรัพยากรบุคคลวัยทำงานที่มีคุณภาพ โดยให้ สังคมมีส่วนร่วมในการดำเนินการ และตรวจสอบได้อย่างมั่นใจว่าการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาชีวิตและ สังคม เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติจริง ตัวบ่งชี้ 1. อุดมการณ์ - ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดและรับการศึกษาเข้าใจและถือปฏิบัติตามแนวการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนามนุษย์และสังคม 2. การศึกษาเต็มตามสิทธิ อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม - คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ที่รัฐจัดให้อย่างทั่วถึง - คนไทยส่วนใหญ่รู้ ใช้สิทธิ และได้รับสิทธิในการศึกษาทุกรูปแบบอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม 3. หลักการจัดการศึกษาในภาพรวม - การจัดการศึกษาทุกระบบ (การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย) มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล และสัมพันธ์เชื่อมโยงถึงกัน - ขอบข่ายและปริมาณความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน องค์กร และชุมชน เพิ่มมากขึ้นทุกปี ทั้งในด้านการจัด การกำกับ สนับสนุน และการตรวจสอบผลการจัดการศึกษา - ผลการจัดอันดับคุณภาพระบบการศึกษาของไทย ไม่ด้อยกว่าประเทศที่มีงบประมาณทาง การศึกษาใกล้เคียงกัน และอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน มาตรฐานที่ 2 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข เป้าหมายของการจัดการศึกษา อยู่ที่การพัฒนาคนไทยทุกคนให้เป็น "คนเก่ง คนดี และมี ความสุข" โดยมีการพัฒนาที่เหมาะสมกับช่วงวัย เต็มตามศักยภาพ และตรงตามความต้องการ ทั้งในด้าน
  • 30. 28 สุขภาพร่างกายและจิตใจ ปัญญา ความรู้และทักษะ คุณธรรมและจิตสำนึกที่พึงประสงค์ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยเบญจคุณ หรือ คุณ 5 ประการ 1. คุณลักษณ์ มีรูปลักษณ์ (สุขภาพ บุคลิกภาพ) กิจลักษณ์ (พฤติกรรม ทักษะความสามารถ) ดี 2. คุณค่า มีประสบการณ์จากการเรียนรู้ สัมพันธ์เชื่อมโยงกับการพัฒนาชีวิต 3. คุณประโยชน์ มีชีวิตที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม ร่วมสร้างและให้สิ่งดีแก่สังคม 4. คุณภาพ มีชีวิตร่มเย็นเป็นสุข พออยู่พอกิน เป็นสมาชิกครอบครัว พลเมืองและพลโลก ที่ดี 5. คุณธรรม มีความดี เข้าถึงความงามและความจริง ดำเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโน สุจริต เบญจคุณ อันเป็นลักษณะที่พึงประสงค์ของคนไทยดังกล่าว จักเกิดขึ้นได้ด้วยการจัดการเรียนรู้ของ ครู และวิถีการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตาม "พรพระราชทาน 3 ประการ คือ ขอ จงมีความเพียรที่บริสุทธิ์ ปัญญาที่เฉียบแหลม กำลังกายที่สมบูรณ์ " (จาก...การวิเคราะห์คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของคนไทย เพื่อตอบคำถามว่า "เราจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้อะไร?" จากข้อมูลหลายแหล่ง และการบูรณาการตามแนวพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่องพระมหาชนก (สุมน อมร วิวัฒน์, 2546) ดังนี้ 1. ความเพียรที่บริสุทธิ์ (pure perseverance) ประกอบด้วย 1) ความสามารถ (performance and skills) เป็นผู้รัก ใส่ใจในหน้าที่การงาน มีทักษะ ทางภาษา ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงาน ทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะ การค้นคว้าทดลองพิสูจน์เหตุผล ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการจัดการ 2) คุณธรรมและจิตสำนึก (morality and conscience) มีคุณธรรมในการกระทำ ด้าน ความละอายชั่วกลัวบาป ความซื่อสัตย์สุจริต ความกตัญญูรู้คุณ ความไม่เห็นแก่ตัว ความปราถนาดีเอื้อเฟื้อ ต่อกัน ความจริงใจ และความขยันหมั่นเพียร และมีจิตสำนึกในการกระทำ ด้านจิตสำนึกความรับผิดชอบ จิตสำนึกในคุณค่าของตนและผู้อื่น จิตสำนึกความเป็นไทย จิตสำนึกประชาธิปไตย 2. ปัญญาที่เฉียบแหลม ประกอบด้วย 3) ความฉลาดรู้ (knowledge and wisdom) เป็นผู้รู้จริง รู้ครบถ้วน รู้เหตผล รู้เท่าทัน รู้เชื่อมโยงความเป็นไทยกับสากล รู้จักตนเอง รู้จักสังคมและธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รู้วิธีทำมาหากิน และ สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิต 4) สติปัญญาและความคิด (intelligence and thinking) จิตและสมองมีการทำงานเกิด การรับรู้ จดจำ และการคิดอย่างถูกต้องแยบคาย สามารถคิดวิเคราะห์วิจารณ์ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์ คิด ต่อเนื่องเชื่อมโยง คิดสุจริต คิดมีเหตุผล คิดเป็นระบบ คิดเร็ว คิดคล่อง คิดละเอียด คิดมีจินตนาการ สามารถแสดงความคิดเห็นเพื่อสื่อสารแก่ผู้อื่นได้ 3. กำลังกายที่สมบูรณ์ (completely physical health) ประกอบด้วย 5) มีสุขภาพกายและจิต (physical, mental and spiritual health) รวมทั้งสุข ภาวะ (well being) ทางกายและจิต มีร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรค มีภูมิคุ้มกัน ภาวะโภชนาการดี บริหารกาย เล่นกีฬา ท่าทางคล่องแคล่วร่าเริง และมีสภาพจิตใจที่แจ่มใส ไม่เครียด มีสุขภาพจิตดี มีความ มั่นคงทางอารมณ์ มีสุนทรียภาพ มีทักษะทางดนตรี ศิลปะ และใช้เวลาว่างอย่างเกิดประโยชน์