SlideShare a Scribd company logo
ปิ ด ทองหลั ง พระ คื อ การเพี ย รทำความดี โดยไม่ มุ่ ง เน้ น ประโยชน์ ส่ ว นตน                              3

น้อมนำ“พระราชดำริ”เป็นต้นแบบ
บริหารจัดการน้ำทั้งระบบเพื่อแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน
                               วิกฤตการณ์อุทกภัยครั้งรุนแรงที่สุดที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ควรที่ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วน
                                  ท้องถิ่นและชุมชนทั้งหมดจะเร่งพิจารณาแนวทางการบริหารจัดการน้ำทังระบบ เพือการแก้ปญหา
                                                                                                        ้         ่      ั
                                       อย่างยั่งยืน โดยน้อมนำแนวพระราชดำริเรื่อง “น้ำ” ที่ผ่านการพิสูจน์แล้วว่า สามารถแก้
                                           ปัญหาอย่างได้ผลมาเป็นแนวทางดำเนินงาน




แนวพระราชดำริ น้ำท่วม น้ำแล้ง                                     ความรู้ที่ครอบคลุมการแก้ปัญหา “น้ำ” ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นน้ำท่วม
     นับตังแต่ 49 ปีทแล้ว คือในปี 2505 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว น้ ำ แล้ ง และน้ ำ เสี ย รวมทั้ ง ยั ง ช่ ว ยแก้ ปั ญ หาสภาพแวดล้ อ มและ
           ้         ี่                                       ่ ั
ทรงเริ่ ม โครงการพระราชดำริ เ รื่ อ งน้ ำ แห่ ง แรก โดยพระราชทาน อนุรักษ์ป่าไม้ โดยเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพภูมิสังคมและสภาพ
พระราชดำริและพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ปัญหาในแต่ละพื้นที่
เขาเต่า อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเริ่มก่อสร้างและแล้วเสร็จ
ในปี 2506                                                         น้ำจากฟ้าถึงผืนดิน
     นับจากนันเป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว พระราชทาน
              ้                                       ่ ั             แนวพระราชดำริในการจัดการน้ำของพระบาทสมเด็จพระเจ้า
แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการจัดการน้ำตลอดมาโดยต่อเนื่องมากมาย อยู่หัว มีตั้งแต่น้ำจากฟ้า คือ ฝนหลวงในยามที่เกิดการขาดแคลนน้ำ
หลายรูปแบบและวัตถุประสงค์รวมกันมากกว่า 1,700 โครงการ ลงมาสู่ฝายชะลอน้ำในพื้นที่สูง เพื่อลดความเร็วของน้ำ เพิ่มความ
ครอบคลุมตั้งแต่น้ำจากฟ้า จนถึงน้ำที่ใช้แล้วคืนสู่ธรรมชาติ เป็น ชุ่มชื้นให้กับดิน และให้ธรรมชาติฟื้นฟูตนเอง                  อ่านต่อหน้า 2


                                                                      ปิดทองฯดูงานกสิกรรมธรรมชาติ
                                                                      ใช้“ศาสตร์พระราชา”แก้ทุกข์ยาก
                                                                            ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
                                                                      พร้อมด้วยผูนำชุมชนและชาวบ้านจาก อ.เฉลิมพระเกียรติ อ.ท่าวังผา
                                                                                  ้
                                                                      และ อ.สองแคว จ.น่าน พืนทีตนแบบโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหา
                                                                                              ้ ่้
                                                                      และพัฒนาพืนทีตามแนวพระราชดำริ ร่วมสังเกตการณ์การประชุม
                                                                                    ้ ่
                                                                      เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติสัญจร ครั้งที่ 28 และหารือแนวทาง
                                                                      ความร่วมมือกับเครือข่ายมูลนิธกสิกรรมธรรมชาติ ณ โครงการพัฒนา
                                                                                                   ิ
                                                                      พืนทีหนองใหญ่ตามแนวพระราชดำริ จังหวัดชุมพร อ่านต่อหน้า 16
                                                                        ้ ่
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                           ข่าว
กลับสู่ความสมบูรณ์ ร่วมกับการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก ทำให้เกิดป่า
สมบู ร ณ์ ซึ่ ง จะช่ ว ยลดความรุ น แรงของน้ ำ ได้ ด้ ว ย ทั้ ง ยั ง มี แ นว
พระราชดำริ ที่ มี ก ารพั ฒ นาต่ อ เนื่ อ ง เช่ น “อ่ า งพวง” ซึ่ ง เป็ น การ
เชื่อมโยงน้ำระหว่างอ่างเก็บน้ำหลาย ๆ อ่าง ให้สนับสนุนกันเพื่อ
เก็บกักน้ำได้มากขึ้น ช่วยเก็บน้ำส่วนเกินในฤดูฝนและเป็นแหล่งน้ำ
เพื่อการเกษตรในฤดูแล้ง
      ในพื้นที่ราบตั้งแต่เชิงเขาลงมา มีพระราชดำริให้ก่อสร้างเขื่อน
และอ่างเก็บน้ำ เพื่อบรรเทาอุทกภัยและเก็บกักน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง
เช่น โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มน้ำสาขาแม่ปิง จ.เชียงใหม่-ลำพูน
เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน จ.พิษณุโลก โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำ
แม่ อ าว จ.ลำพู น โครงการพั ฒ นาลุ่ ม น้ ำ ห้ ว ยทอน จ.หนองคาย
โครงการพัฒนาลุมน้ำป่าสัก จ.ลพบุร-สระบุรี เขือนขุนด่านปราการชล
                     ่                  ี            ่                         เมื่ อ 31 ปี ก่ อ น ในปี 2523 ทรงตั้ ง โครงการหยุ ด ยั้ ง ไม่ ใ ห้
จ.นครนายก และพระราชดำริให้ขุดสระเก็บน้ำในไร่นาของเกษตรกร                 น้ำท่วมชานเมืองด้านทิศตะวันออก โดยให้น้ำที่หลากมาจากทาง
เพื่อเก็บกักและบริหารน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่ขนาดเล็กให้เกิด            เหนือไหลลงสู่คลองใน จ.ปทุมธานี น้ำจากทิศตะวันออกไหลลงคลอง
ประโยชน์สูงสุด                                                           ใน จ.สมุทรปราการ และไหลลงสู่ทะเลโดยตรงต่อไป ด้วยการขุดลอก
      สำหรับพืนทีลมทีมปญหาน้ำท่วมขังอยูเป็นประจำ มีพระราชดำริ
                 ้ ่ ุ่ ่ ี ั                   ่                        คลอง 19 สาย ความยาวรวม 173.5 กม. และตั้งสถานีสูบน้ำ 43 แห่ง
ให้แก้ปัญหาโดยการขุดหรือปรับปรุงคลองระบายน้ำในพื้นที่นั้น ให้            เพื่อควบคุมการไหลของน้ำ
ระบายน้ำจำนวนมากออกจากพืนทีได้สะดวก และก่อสร้างอาคารประตู
                                ้ ่                                            ต่อมาในปี 2526 ฝนที่ตกหนักเป็นประวัติการ วัดได้สูงถึง 574
หรือท่อระบายน้ำ เพือควบคุมการเก็บกักน้ำไว้ในคลอง และป้องกันน้ำ
                        ่                                                มม. ทำให้เกิดน้ำท่วมหนักในเขตบางกะปิ พระโขนง ห้วยขวาง มีนบุรี
จากบริเวณด้านนอกที่มีระดับสูงไม่ให้ไหลย้อนเข้าไปในพื้นที่นั้น            และธนบุรี และท่วมขังบางพื้นที่เป็นเวลานาน เกิดความสูญเสีย ถึง
                                                                         6,600 ล้ า นบาท ในวั น ที่ 7 พฤศจิ ก ายน 2526 พระบาทสมเด็ จ
พระราชดำริปกป้องกรุงเทพฯ                                                 พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงสำรวจสถานการณ์น้ำท่วม
      อุ ท กภั ย ในพื้ น ที่ ลุ่ ม ภาคกลางและกรุ ง เทพมหานครที่ ผ่ า นมา พระโขนงและลาดพร้าวที่ถูกน้ำท่วมขังยาวนานถึงสองเดือน
ก็เช่นกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงออกสำรวจสถานการณ์                       ในครั้งนั้น ได้พระราชทานพระราชดำริให้ขุดลอกคลองธรรมชาติ
ด้วยพระองค์เอง จนเกิดแนวพระราชดำริเพือป้องกันและบรรเทาอุทกภัย บางสายและขุดลอกท่อระบายน้ำใต้ถนน เพื่อให้น้ำไหลได้สะดวก
                                             ่
เช่น การก่อสร้างคันกั้นน้ำ แก้มลิง ทางผันน้ำ ปรับปรุงสภาพลำน้ำ           พร้อมกับซ่อมแซมท่อประปาตามถนน ทั้งยังพระราชทานพระราชดำริ
                                                                         ให้ ส ร้ า งประตู น้ ำ ในคลองแสนแสบตรงจุ ด ที่ จ ะเชื่ อ มต่ อ กั บ คลอง
                                                                         บางกะปิให้เร็วที่สุดที่จะทำได้
                                                                               วันที่ 14 พฤศจิกายน 2526 ทรงพระดำเนินลุยน้ำตามตรอก
                                                                         และถนนที่น้ำท่วม เพื่อทรงตรวจความคืบหน้าของโครงการบรรเทา
                                                                         น้ำท่วมตามพระราชดำริ และทรงเก็บข้อมูลด้วยพระองค์เองไปตาม
                                                                         ถนนสายสรรพาวุธ-บางนา จากนันเสด็จฯ ไปทรงเยียมเขตบางขุนเทียน
                                                                                                           ้               ่
                                                                         และเขตธนบุรี ทรงพระดำเนินลุยน้ำท่วมกว่าหนึ่งกิโลเมตร และทรง
                                                                         ใช้เวลาสีชวโมงในการตรวจตราประตูนำ และสังเกตการสูบน้ำพร้อมกับ
                                                                                     ่ ั่                      ้
                                                                         มีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรที่ได้รับความเดือดร้อนอย่างใกล้ชิด
                                                                         แล้วพระราชทานคำแนะนำให้กอสร้างอุโมงค์ใต้ทางรถไฟสายแม่กลอง
                                                                                                         ่
                                                                         เพิ่มขึ้นและขุดคลองลัดเพื่อเร่งให้น้ำระบายได้เร็วขึ้น

                                               เจ้าของ    : มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
                                                            สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล เลขที่ 1 ถนนนครปฐม เขตดุสต กรุงเทพมหานคร 10300
                                                                                                                                 ิ
  www.pidthong.org                                        : สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
                                                            อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 26 เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
  www.twitter.com/pidthong                                  โทรศัพท์ 0-2611-5000 โทรสาร 0-2658-1413
                                               ที่ปรึกษา  : หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล นายการัณย์ ศุภกิจวิเลขการ นายพิพัฒน์ เลิศกิตติสุข
  www.facebook.com/pidthong                    บรรณาธิการ : นายธนัยนันท์ ธนันท์ปพัฒน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายสุชาติ ถนอม
                                               ผู้จัดทำ   : บริษัท แอร์บอร์น พรินต์ จำกัด 1519/21 ซอยลาดพร้าว 41/1 ถนนลาดพร้าว แขวงสามเสนนอก
2 www.youtube.com/pidthongchannel                           เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
                                                            โทรศัพท์ 0-2939-9700 โทรสาร 0-2512-2208 E-mail : roso215@yahoo.com
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                                  ข่าว
      เมื่ อ เกิ ด น้ ำ ท่ ว มอี ก ครั้ ง ในปี 2538 นอกจากจะพระราชทาน               วันเดียว ทำให้ชุมพรรอดพ้นจากภัยพิบัติมาได้ ชาวชุมพรจึงพร้อมใจ
แนวทางแก้ไขเป็นระยะ ๆ เช่น ให้พิจารณาหาแนวทางป้องกันและ                             กันจัดงาน “สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ” เป็นประจำทุกปี ระหว่าง
บรรเทาอุทกภัยพื้นที่บริเวณด้านทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร                           วันที่ 24-26 กันยายน
โดยการเร่งสูบน้ำเพื่อระบายน้ำสู่ทะเล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว                           หลังจากนั้น โครงการดังกล่าวขยายเป็น “โครงการพัฒนาพื้นที่
ยังได้พระราชทานพระราชดำริเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2538 ให้                           หนองใหญ่ตามพระราชดำริ” เพือแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติอย่างถาวร
                                                                                                                    ่
ปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ จ.สมุทรปราการ ซึ่งตื้นเขินมาก มาช่วยย่น                        มีการทำโครงการแก้มลิงหนองใหญ่เพื่อเก็บกักน้ำ ขุดคลองละมุ ให้
ระยะทางการไหลของน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณพื้นที่บางกระเจ้า                         เชื่อมกับคลองท่าแซะ ติดตั้งประตูระบายน้ำราชประชานุเคราะห์
จ.สมุทรปราการ                                                                       และระบบเตื อ นภั ย ที่ ค ลองท่ า แซะ ทำให้ น้ ำ ไม่ ท่ ว มชุ ม พรอี ก เลย
      คลองลั ด โพธิ์ ช่ ว ยย่ น ระยะทางการไหลของน้ ำ จาก 18 กม.                     มากว่า 13 ปีแล้ว
เหลือเพียง 600 ม. ช่วยเร่งให้น้ำไหลลงทะเลได้สะดวกและรวดเร็ว
จึงช่วยบรรเทาปัญหาน้ำท่วมบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ได้เป็นอย่างดีนับจากนั้นมาจนถึงปัจจุบัน ต่อมาในวันที่ 4 ธันวาคม
2538 ยังได้พระราชทานแนวทางแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในระยะยาว
หรือโครงการแก้มลิง เป็นครั้งแรก
      หลั ก การสำคั ญ ของโครงการแก้ ม ลิ ง คื อ หาที่ เ ก็ บ กั ก น้ ำ ฝั่ ง
ตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยามาใช้รวบรวมน้ำ รับและดึงน้ำท่วมขัง
มาเก็บไว้ในคลองชายทะเลและคลองสายต่าง ๆ ในเขต จ.สมุทรปราการ
ส่วนพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา จะรวบรวมน้ำ รับและดึง
น้ำท่วมขังมาเก็บไว้ในคลองมหาชัย-คลองสนามชัย และแม่นำท่าจีน      ้
จ.สมุทรสาคร ก่อสร้างประตูระบายน้ำ ปิดกั้นคลอง ก่อสร้างและ
ปรั บ ปรุ ง สถานี สู บ น้ ำ ต่ า ง ๆ ควบคุ ม การเปิ ด -ปิ ด ประตู น้ ำ ให้
สอดคล้องกับระดับของน้ำทะเล




                                                                                    เข้าใจน้ำ
                                                                                           พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงให้ความสำคัญกับการศึกษา
                                                                                    ให้รู้จริงเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างได้ผล ทรงมีพระราชดำริให้
                                                                                    ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการไหลของน้ ำ ความสั ม พั น ธ์ ข องระดั บ น้ ำ และ
ต้นแบบต้านภัยธรรมชาติ                                                               ปริมาณน้ำปากแม่น้ำเจ้าพระยาและความสัมพันธ์ของน้ำทะเลหนุน
        แก้ ม ลิ ง หนองใหญ่ จ.ชุ ม พร คื อ ตั ว อย่ า งเด่ น ชั ด ที่ แ สดงถึ ง     และปริมาณน้ำเหนือหลาก ผ่านเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อนำผล
พระอัจฉริยภาพเรื่องน้ำ และเป็นต้นแบบความสำเร็จของ “ศาสตร์                           วิเคราะห์ไปใช้บริหารจัดการปริมาณน้ำเหนือทีไหลผ่านเขือนเจ้าพระยา
                                                                                                                                ่        ่
พระราชา” เพื่อต้านภัยธรรมชาติได้อย่างเป็นรูปธรรม เมื่อพายุไต้ฝุ่น                   และเขือนป่าสักชลสิทธิ์ รวมทังบริหารจัดการน้ำในเขตกรุงเทพมหานคร
                                                                                             ่                    ้
ซี ต้ า พั ด ถล่ ม จ.ชุ ม พรเสี ย หายยั บ เยิ น เมื่ อ ปี 2540 พระบาท               และปริมณฑลให้สอดคล้องกับสภาพน้ำทะเลหนุนสูง เพื่อเป็นข้อมูล
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ 18                            ในการตัดสินใจป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ำท่วมอย่างรวดเร็วและ
ล้านบาท และทรงมีพระราชดำรัสให้เร่งขุดคลองหัววัง-พนังตักให้                          เกิดประโยชน์สูงสุด
แล้วเสร็จโดยเร็ว เพื่อระบายน้ำเตรียมรับพายุถล่ม คลองนั้นแล้วเสร็จ                          เมือมีการใช้นำในพืนทีอตสาหกรรมและทีอยูอาศัย ทำให้เกิดน้ำเสีย
                                                                                               ่         ้ ้ ุ่                ่ ่
เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2540 ก่อนพายุลินดาเข้าถล่มชุมพรเพียง                        ตามมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว                    อ่านต่อหน้า 16

                                                                                                                                                             3
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                         สัมภาษณ์พิเศษ



ปรชญาของเศรษฐกจพอเพยง
  ั            ิ    ี
ทางออกของสังคมไทยวันนี้
        บทความนี้เรียบเรียงจากการเสวนาในหัวข้อ CSR ตาม
    หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยศาสตราจารย์เกียรติคณ
                                                       ุ
    นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ประธานมูลนิธิปิดทอง
    หลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ซึ่งจัดขึ้นโดย CSR Club
    สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

       ในท่ า มกลางความเปราะบางของเศรษฐกิ จ และสั ง คมไทย
อั น เนื่ อ งมาจากความเหลื่อมล้ำในสังคม เหตุการณ์ทางการเมื อ ง
และความรุนแรงของปัญหาชนบท ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว จะเป็ น ทางออกสำคั ญ ที่ ช่ ว ยให้
สังคมไทยหลุดพ้นจากกับดักประชานิยม ซึ่งกำลังเป็นปัญหาสำคัญ
ของประเทศในวันนี้ได้อย่างไร คำตอบอาจอยู่ที่นี่
       ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย กล่าวว่า “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
เป็นหลักคิดที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประมวลเอาสัจธรรม
ที่พิสูจน์แล้วทั้งทางโลกและทางธรรมให้เป็นระบบ แล้วพระราชทาน
ให้พวกเรานำมาใคร่ครวญ และประยุกต์ใช้กับชีวิต ครอบครัว บริษัท
หน่วยงาน ชุมชน และประเทศชาติ
       “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กล่าวไว้ว่า การพัฒนาประเทศ
จำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น สร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน
พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีและอุปกรณ์ที่
ประหยัด ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคง จึงค่อยสร้าง
ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นสูงขึ้นไป มีคนไม่เข้าใจหรือแกล้ง
ไม่เข้าใจว่า ปรัชญานี้พระเจ้าอยู่หัวไม่อยากให้เรารวย อยากให้จน
ตลอดไป ซึ่งผิด เพราะปรัชญานี้รับสั่งว่า เราจะต้องดูภาพสังคมที่
เป็นจริง แล้วค่อย ๆ สร้างสิ่งที่เจริญขึ้นไปทีละขั้น วันนี้บริษัทอาจมี                     ศ.นพ.เกษม กล่าวว่า เมื่อเกิดวิกฤตค่าเงินบาทในปี 2540 นั้น
ขนาดธุรกิจ 3 ล้านบาท ก็ค่อย ๆ สร้างขึ้นไปเป็น 30 ล้าน 300 ล้าน                       ถ้าใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก็ไม่มีคนต้องฆ่าตัวตาย เพราะ
3,000 ล้าน 30,000 ล้าน 300,000 ล้าน”                                                 ปรัชญานี้มีหลักสำคัญอยู่ที่ความมีเหตุผล และการใช้หลักวิชาใน
       ศ.นพ.เกษม กล่าวว่า การทำงานของปิดทองฯ คือ การแก้ปัญหา                         การตัดสินใจของผูบริหาร ถ้าทุกคนมีความคิดพอเพียง หมายความว่า
                                                                                                      ้
ให้กับประชาชนส่วนหนึ่งในชนบท ที่ต้องกู้กิน กู้ใช้ ให้พัฒนาไปสู่                      พอประมาณ ไม่ สุ ด โต่ ง ไม่ โ ลภมาก คนเราก็ อ ยู่ เ ป็ น สุ ข ซึ่ ง คำว่ า
ขั้นที่ 2 คือ พอกิน พอใช้ และกินดีอยู่ดีในที่สุด เพื่อลดช่องว่างความ                 “พอเพี ย ง” นี้ อาจจะมี ม าก อาจจะมี ข องหรู ห ราก็ ไ ด้ แต่ ต้ อ งไม่
เหลื่อมล้ำในฐานะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในสังคม ให้ค่อย ๆ ผ่านจากจน                       เบียดเบียนคนอื่น เพราะถ้าเบียดเบียนคนอื่นแล้ว จะทำให้โลกนี้ไม่มี
มาก มาเป็นจนน้อย พอกิน แล้วก็ร่ำรวย คนรวยก็ค่อย ๆ รวยมากขึ้น                         ความสุข เกิดการแก่งแย่ง เกิดสงคราม ซึ่งนักธุรกิจทั้งหลายคงไม่
ค่ อ ย ๆ ก้ า วไปที ล ะขั้ น เรื่ อ ย ๆ ไม่ ก ระโดดข้ า ม ซึ่ ง ตรงกั น ข้ า มกั บ   อยากเห็นภาพของความขัดแย้งของสงครามอย่างแน่นอน เพราะ
“วัตถุนิยมเกินเหตุ” (Excessive materialism)                                          ย่อมหมายถึงการหยุดชะงักงันของภาวะเศรษฐกิจ
       “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงคิดมานานแล้วว่า ปรัชญานี้                           “คำว่า ‘พอประมาณ’ ในปรัชญานี้สำคัญมาก คือ พอประมาณ
จะสร้างความมันคงและยังยืนได้ มันคงในทุกสถานะของเรา ในอัตภาพ
                  ่           ่          ่                                           ตามอัตภาพ วันนี้บริษัทเรามีอัตภาพเป็นอย่างไร เทียบกับอีก 10
ของเรา และยั่งยืน คือเราสามารถที่จะพัฒนาต่อไปได้อีก”                                 บริษัทอยู่ตรงไหน เราต้องรู้อัตภาพบริษัทเรา การตัดสินใจทุกอย่างใน
4
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                              สัมภาษณ์พิเศษ




   บริษัทเราต้องว่าตามอัตภาพ และต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น”
          พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับสั่งเมื่อเดือนสิงหาคม 2542
    ว่า “...เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความ
    มั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัว
                                                                                          จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง
                                                                                          ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ
                                                                                          ทุกขั้นตอน
                                                                                                  คำว่า “พอประมาณ” คือ พอประมาณตามอัตภาพ การตัดสินใจ
                                                                                                                                                                          ่



    อาคารไว้ นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม คนส่วนมาก                    ใด ๆ ถ้าใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากพอประมาณ
    มองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป...” เพื่อเชิญชวนว่า                      ไม่ ม ากหรื อ น้ อ ยไปแล้ ว ยั ง ต้ อ งคิ ด ด้ ว ยว่ า มี เ หตุ ผ ลหรือไม่ ไม่ว่า
    ปรัชญานี้เป็นรากฐานสำหรับชีวิต ครอบครัว ชุมชน และบริษัทที่นำ                          เหตุ ผ ลทางกฎหมาย เหตุผลทางศีลธรรม หรือกฎเกณฑ์ของตลาด
    ไปใช้ ซึ่ง 10 กว่าปีมานี้ ก็มีบทพิสูจน์มากมายแล้วว่า ชุมชนที่นำไป                     หลักทรัพย์ และต้องคิดด้วยว่า กระทบกับทุนของบริษัทในขณะนั้น
    ใช้เข้มแข็งขึ้นได้อย่างรวดเร็ว อย่างที่เรียกว่าพลิกหน้ามือเป็นหลังมือ                 หรือไม่ ทั้งทุนทางวัตถุ ทุนทางสังคม ทุนทางสิ่งแวดล้อม และทุนทาง
    ทีเดียว                                                                               วัฒนธรรม ไม่ใช่แต่ในเรื่องวัตถุ จะเอาแต่ยอดขายสูง ๆ กำไรมาก ๆ
          ศ.นพ.เกษม กล่าวว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพียงหน้าเดียว                       ไม่ได้ ปรัชญานี้บอกว่าต้องครบทั้งสังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม
    สามารถตอบคำถามได้ทุกอย่าง                                                                     3. ถ้าบริษัทจะนำไปใช้ ต้องเตรียมบริษัทอย่างไร พระเจ้าอยู่หัว
          “1. วัตถุประสงค์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึง                         รับสั่งว่า ต้องมีความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ
    แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่                             วิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน
    ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและ                              การตัดสินใจทุกอย่าง ต้องอยู่บนฐานความรอบรู้ จะลงทุน จะซื้อหุ้น
    บริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา                                  มีความรูพอหรือไม่ รูรอบหรือเปล่า และรอบคอบ ระมัดระวังในการนำ
                                                                                                       ้                   ้
    เศรษฐกิ จ เพื่ อ ให้ ก้ า วทั น ต่ อ โลกยุ ค โลกาภิ วั ต น์ เพื่ อ ให้ พ ร้ อ มต่ อ   วิชาการมาใช้ ทั้งในขั้นวางแผนและขั้นปฏิบัติการ และยังมีเงื่อนไขที่
    การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว และกว้ า งขวางทั้ ง ด้ า นวั ต ถุ สั ง คม             2 คือ เงื่อนไขคุณธรรม ต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ให้
    สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก                                                   มีสำนึกคุณธรรม ซึ่งคุณธรรมหนึ่ง ที่เป็นคุณธรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และ
          ดังนั้น เป้าหมาย คือ ต้องก้าวทันโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งมีการ                   สำคัญที่สุดในการนำปรัชญานี้ไปใช้ คือ ความซื่อสัตย์สุจริต
    แข่ ง ขั น สู ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น รวดเร็ ว มาก ปรั ช ญานี้                 ศ.นพ.เกษม กล่าวว่า ปรัชญานี้สามารถสร้าง KPI วัดผลได้ทั้ง
    พระราชทานมาเพื่อให้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ ด้วยการสร้าง                            4 ด้าน นอกจากความเข้มแข็งทางการเงิน ในด้านสังคมก็สามารถ
    ความเข้มแข็งทั้ง 4 ด้าน คือ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม                       สร้างทุนทางสังคมให้เข้มแข็งได้ สามารถวัดผลได้ เช่น ใน 1 ปี อย่าง
    ในบริษัท วัตถุ ก็คือ สถานะของบริษัท สังคม คือ Software และ                            น้อย คน 50 เปอร์เซ็นต์ ต้องมาร่วมงานที่เป็นงานบุญงานกุศล ด้าน
    Humanware ในบริษัท สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกบริษัท                                สิ่งแวดล้อมก็เช่นกัน เช่น ถ้ามีแผนจัดการเรื่องขยะ มีคนเข้าร่วมมาก
    วั ฒ นธรรมองค์ ก ร หรื อ วัฒนธรรมบริษัท ซึ่งผู้บริหารสร้า งได้ ห มด                   น้อยเพียงใด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะบังคับให้เกิดกลไก
    โดยยึดหลักความพอเพียง                                                                 ของการพัฒนาองค์กรของตัวเองทีละด้าน
          2. คำว่า “พอเพียง” หมายถึง 1. ความพอประมาณ 2. ความมี                                    “ผมเห็ น มาหลายองค์ ก รแล้ ว ที่ พั ฒ นามาอย่ า งนี้ ผมเคยถาม
    เหตุผล 3. มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ                           นั ก ธุ ร กิ จ อยู่ เ รื่ อ ยว่ า หากบริ ษั ท ของท่ า นมี ค นงาน 35 คน ทุ ก คน
    ใด ๆ อั น เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ภายนอกและภายใน ทั้ ง นี้                     กินเหล้าหมด เล่นการพนันหมด การทุ่มเทของคนงานทั้ง 35 คน
                                                                                          แน่นอนว่ามีนดเดียวเท่านัน แต่ถาสามารถเอาปรัชญานีไปเปลียนเขา
                                                                                                                ิ               ้      ้                     ้      ่
                                                                                          ค่อย ๆ ผ่อนหนี้ 5 ปี ไม่มใครเป็นหนีเ้ ลย ใช้ชวตสะอาด ออกกำลังกาย
                                                                                                                              ี                   ีิ
                                                                                          เข้าวัดเข้าวา รู้จักมัธยัสถ์ รู้จักประหยัด รู้จักดูแลครอบครัว แล้วก็มี
                                                                                          ความภาคภูมิใจในตัวเอง มาทำงานให้บริษัทด้วยความฮึกเหิม จงรัก
                                                                                          ภักดีต่อบริษัท ผลผลิตของบริษัทจะเป็นอย่างไร เช่นเดียวกับครู ครูที่
                                                                                          เป็นหนี้มากจะมีแรงสอนหนังสือหรือ แล้วครูไม่มีแรงสอนหนังสือ
                                                                                          คุณภาพการศึกษาจะอยู่ตรงไหน เช่นเดียวกัน คนงานบริษัทถ้าเป็น
                                                                                          หนี้มาก ๆ สิ้นเดือนก็ต้องหลบ ๆ หลีก ๆ ไม่ยอมมาทำงาน แต่ถ้า
                                                                                          สามารถสร้างชีวิตเขาให้ดีขึ้นจากปรัชญานี้ ให้มีคุณธรรม มีความ
                                                                                          รอบรู้ ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มีเพียร ถ้าบริษัทพัฒนาคนของ
                                                                                          ตนเองตลอดเวลา ให้เป็นผู้มีความรอบรู้ อยู่ในวัฒนธรรมที่มีความ
                                                                                          รอบรู้ รับรองได้ว่าบริษัทไปรอดแน่
                                                                                                  4. เมื่อนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ประโยชน์ที่จะ
                                                                                          เกิดขึน คือ บริษทจะเกิดความสมดุล และพร้อมรองรับการเปลียนแปลง
                                                                                                  ้                  ั                                            ่
                                                                                          ได้ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ตาม”
                                                                                                                                                                          5
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                                 รายงาน




ภาคีเคียงข้าง
“ปิดทองฯ”
เดินหน้าพื้นที่ขยายผล 10 จังหวัด
      เพียง 2 เดือน ในการลงพื้นที่ทำความ “เข้าใจ” พื้นที่ขยายผล 18                      และน้ำแล้ง การระบายน้ำ ธาตุอาหารต่ำ ส่งผลให้ผลผลิตต่ำ และ
หมู่บ้าน 10 จังหวัด ปิดทองหลังพระฯ สามารถสรุปปัญหา ความ                                 การปลู ก พื ช เชิ ง เดี่ ย ว ขณะที่ ช าวบ้ า นและองค์ ก รปกครองท้องถิ่น
ต้ อ งการของชาวบ้ า น และกำหนดแนวทางการพั ฒ นาในแต่ ล ะ                                 และอำเภอ มีความตั้งใจ มีความพร้อมและให้ความร่วมมืออย่างดี
พื้นที่ได้ ดังนี้                                                                             การพั ฒ นาพื้ น ที่ ดำเนิ น การได้ โ ดยน้ อ มนำแนวพระราชดำริ
      ที่ บ้ า นปาง ต.หนองบั ว อ.ไชยปราการ จ.เชี ย งใหม่ พบว่ า มี                      แก้ ม ลิ ง และเกษตรผสมผสานตามแนวเกษตรทฤษฎี ใ หม่ มาใช้
ปั ญ หาเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การน้ ำ ที่ ยั ง ไม่ ดี พ อ ทำให้ น้ ำ มี พ อมี อ ยู่    ในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม พัฒนาการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็น
ไม่สามารถใช้ได้เต็มประสิทธิภาพ ปัญหาผลผลิตการเกษตรสำคัญ                                 ระบบร่วมกัน ทำการเกษตรผสมผสาน ให้ความรู้เทคนิคการเพิ่ม
คือ ลิ้นจี่ ซึ่งปลูกกันมากถึงร้อยละ 75 ไม่ค่อยผลิดอกออกผล มีสภาพ                        ผลผลิตข้าว ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการพัฒนาดิน ส่งเสริมการใช้ปุ๋ย
ดินเสียจากการใช้สารเคมี มีการบุกรุกป่าอยู่บ้าง และมีปัญหาหนี้สิน                        ชีวภาพแทนสารเคมี ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้น้อยลง
ส่ ว นความร่ ว มมื อ จากชาวบ้ า นนั้ น ยั ง เป็ น เรื่ อ งที่ ต้ อ งรณรงค์ ใ ห้         ส่งเสริมการอนุรักษ์สภาพป่าให้มีความสมบูรณ์เป็นแหล่งต้นน้ำ และ
มากขึ้น                                                                                 สนับสนุนองค์ความรู้เพื่อการประกอบอาชีพ
      แนวทางการพั ฒ นาที่ ปิ ด ทองฯ เสนอแนะเพื่ อ แก้ ปั ญ หาและ                              สำหรับบ้านโป่งลึกและบ้านบางกลอย ต.ห้วยแม่เพรียง อ.แก่งกระจาน
พัฒนาพื้นที่ คือ ต้องมีการจัดการน้ำบนพื้นที่ราบเชิงเขา ทำอ่างพวง                        จ.เพชรบุรี ปัญหาสำคัญที่สุด คือ การเกษตร เพราะชาวกะหร่าง
ฝายอนุ รั ก ษ์ ใ นพื้ น ที่ ต้ น น้ ำ และแก้ ไ ขปั ญ หาหนี้ สิ น จากกู้ กิ น กู้ ใ ช้   ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่นิยมทำไร่หมุนเวียน ปัญหาแหล่งน้ำอยู่ต่ำกว่า
เป็นพอกินพอใช้ โดยใช้หลักการเกษตรทฤษฎีใหม่ และการปลูกพืช                                ไม่สามารถนำน้ำขึ้นมาใช้ได้ ทำให้ชุมชนที่นี่มีความต้องการน้ำทั้ง
ผสมผสาน                                                                                 เพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภคมากเป็นอันดับหนึ่ง ตามมา
      บ้านหนองพระ หมู่ 3 และบ้านเจริญผล หมู่ 4 ต.หนองพระ                                ด้วยสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า โทรศัพท์ ทีดนทำกิน เมล็ดพันธุพช
                                                                                                                                          ่ ิ              ์ ื
อ.วังทอง จ.พิษณุโลก การบริหารจัดการน้ำเป็นปัญหาใหญ่ เพราะ                               เครื่องมือการเกษตร ตลาดสำหรับผลผลิตทางการเกษตร ที่อยู่อาศัย
ยามหน้าฝน น้ำก็ทวม เมือฝนทิงช่วงก็แล้งมาก ชุมชนทีนจงต้องการน้ำ
                       ่         ่     ้                        ่ ี่ ึ                  สุขภาพ ปราบปรามและป้องกันไข้มาลาเรีย สิทธิพลเมืองด้วยการ
เพือการเกษตรเป็นอันดับแรก รองลงมา คือ การแก้ปญหาเรืองน้ำท่วม
    ่                                                         ั        ่                มีบัตรประจำตัวประชาชน
6
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                             รายงาน
     พื้ น ที่ นี้ จึ ง ควรน้ อ มนำแนวพระราชดำริ ปลู ก ป่ า 3 อย่ า ง                    ปั ญ หาของที่ นี่ อ ยู่ ที่ ก ารเกษตร ยางพารามี แ ต่ ก าฝากเกาะ
ประโยชน์ 4 อย่าง โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่และคนอยู่กับป่ามาใช้                      ลองกอง 5 ปีออกลูกครั้ง มะเฟืองที่มีแมลงวันทอง พืชผลทุกอย่าง
และพัฒนาการจัดการน้ำอุปโภคบริโภค ด้วยการทำฝาย 2 แห่ง ที่                           ไม่ได้ผลผลิตเท่าที่ควร การเลี้ยงสัตว์ก็มีต้นทุนสูงมาก แต่ปัญหาใหญ่
ห้วยสลัดได และห้วยโป่งลึก พร้อมทั้งทำระบบส่งน้ำจากฝายห้วย                          คือ ความเสี่ยงจากดินถล่ม เพราะการบุกรุกป่าขึ้นไปปลูกยางพารา
สระหิน ห้วยสลัดไดและห้วยโป่งลึก และสร้างฝายอนุรักษ์ 205 ตัว                        ความต้องการของชุมชนนี้อยู่ที่การแก้ปัญหาการบุกรุกป่าอนุรักษ์
ตลอดลำห้วยสลัดได                                                                   ทางทิศตะวันตกของหมู่บ้าน อนุรักษ์น้ำไม่ให้เน่าเสีย ทำฝายอนุรักษ์
     รวมทั้ ง ต้ อ งจั ด การที่ อ ยู่ อ าศั ย บ้ า นเรื อ นให้ เ หมาะสม จั ด การ   เพื่อชะลอน้ำและเพิ่มความชุ่มชื้นในป่า ความรู้เรื่องการเพิ่มผลผลิต
ที่ทำกิน ปลูกพืชผสมผสาน ปลูกป่าเศรษฐกิจ ปราบโรคมาลาเรีย                            การป้องกันและปราบปรามแมลง ไฟฟ้าพลังน้ำ การกำจัดขยะอย่าง
วางแผนครอบครัว                                                                     เป็นระบบด้วยเตาเผาขยะ และถนนเข้าออกหมู่บ้าน
     ที่บ้านท่าตะเภา ต.หนองเสม็ด อ.เมือง จ.ตราด ซึ่งชุมชนมีความ                          แนวทางการพัฒนาที่ปิดทองฯ เสนอ คือ การปลูกพืชแก้ดินถล่ม
เข้มแข็งดีมาก และมีทุนทางสังคมสูงกว่าที่อื่น ปัญหาที่มี คือ การ                    การปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ให้คนอยู่กับป่าอย่างยั่งยืน
บริหารจัดการน้ำ ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ธาตุอาหารต่ำ ต้นทุนการผลิต                      รวมทั้ ง สำรวจการใช้ ที่ ดิ น ทำกิ น และชนิ ด พื ช เศรษฐกิ จ ในพื้ น ที่
ข้าวสูง และการบริหารจัดการการปลูกข้าว มีประชากรแฝงในพื้นที่                        สร้างพื้นที่ตัวอย่างการพัฒนาตนเองและแผนการพัฒนาให้เกิดความ
และสภาพแรงงานในพื้นที่                                                             ยั่งยืน
                                                                                         ที่บ้านท่าลอบ ต.โพธิ์ทะเล อ.ค่ายบางระจัน จ.สิงห์บุรี มีการ
                                                                                   ประชุมทำความเข้าใจกับคณะทำงานปิดทองหลังพระฯ ระดับอำเภอ
                                                                                   ตำบล หมู่บ้านและชาวบ้านแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างการทบทวนแผน
                                                                                   พัฒนาชนบทเชิงพื้นที่
                                                                                         บ้านกลาง ต.ปลาบ่า อ.ภูเรือ จ.เลย มีการตั้งคณะอนุกรรมการ
                                                                                   ระดับอำเภอ/ท้องถิ่น และคณะทำงานสำรวจสภาพเศรษฐกิจและ
                                                                                   สั ง คมแล้ ว 7 คณะ และดำเนิ น การสำรวจข้ อ มู ล มาตั้ ง แต่ เ ดื อ น
                                                                                   สิงหาคม
                                                                                         บ้ า นพญาพิ ภั ก ดิ์ ต.ยางฮอม อ.ขุ น ตาล และบ้ า นแม่ บ ง
                                                                                   ต.โชคชัย อ.ดอยหลวง จ.เชียงราย มีการเตรียมมาตรการแก้ไข
                                                                                   ปั ญ หาที่ จ ำเป็ น เร่ ง ด่ ว น (Quick hit) ที่ ต อบสนองความต้ อ งการ
                                                                                   ของชาวบ้านทันที โดยบูรณาการแผนงานโครงการและงบประมาณ
                                                                                   จากทุกภาคส่วน และจังหวัดมีการแต่งตั้งคณะทำงานระดับอำเภอ
                                                                                   ทั้ง 2 แห่งแล้ว
                                                                                         ส่วนทีบานห้วยเกรียบ และบ้านโป่งโก ต.ทองมงคล อ.บางสะพาน
                                                                                                ่ ้
                                                                                   จ.ประจวบคีรีขันธ์ มีการลงพื้นที่ อธิบายทำความเข้าใจแบบสำรวจ
      แนวทางการพั ฒ นาจึ ง ต้ อ งแก้ ไ ขปั ญ หาดิ น เปรี้ ย ว วางแผน               รายข้อ และปรับแก้ให้สอดคล้องกับภูมิสังคมของทั้งสองหมู่บ้านแล้ว
พัฒนาระบบน้ำการเกษตร ทำการเกษตรผสมผสานตามแนวเกษตร                                  และนายอำเภอบางสะพานมีการประสานกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ทฤษฎีใหม่ บริหารจัดการระบบน้ำเข้า ระบายออกร่วมกัน พัฒนาวิธี                        เพชรบุรี นำนักศึกษาลงพื้นที่สำรวจข้อมูล ร่วมกับคณะกรรมการฯ
การผลิตข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่ สนับสนุนการอนุรักษ์ป่าชายเลน                       ระดับอำเภอ และชาวบ้าน
สนับสนุนองค์ความรู้เพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้อื่น ๆ ทั้ง                       ในพื้นที่จังหวัดน่าน ที่บ้านโป่งคำ ต.ดู่พงษ์ อ.สันติสุข และบ้าน
ด้านการเกษตรและการแปรรูปผลผลิต                                                     ห้วยคำ ต.ฝายแก้ว อ.ภูเพียง บ้านห้วยปุก ต.สะเนียน อ.เมือง และ
      ที่บ้านดอน หมู่ 7 ปิยะมิตร 3 ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง จ.ยะลา                     บ้านสะเกิน ต.ยอด อ.สองแคว ได้จัดทำแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่
ชุ ม ชนที่ ส ามารถบริ ห ารจัดการน้ำทุกหยดได้อย่างมีประสิ ท ธิ ภ าพ                 ตามแนวพระราชดำริแล้วเสร็จทั้ง 4 หมู่บ้าน โดยมีคณะทำงานระดับ
ด้วยการบริหารแบบ “เรนวอเตอร์ฮาร์เวสต์” คือ การเก็บน้ำฝนเพื่อนำ                     อำเภอที่จังหวัดแต่งตั้ง เป็นหลักในการทำงาน
มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด น้ำจากฝายนำมาทำประปาภูเขา ปลูก                                เมื่อกระบวนการเข้าใจ และเข้าถึง ดำเนินการสำเร็จแล้ว อีกไม่
ผักน้ำเลี้ยงปลา จากนั้นต่อน้ำจากแปลงผักและบ่อเลี้ยงปลาลงมาใน                       นานจากนี้ไป กระบวนการ “พัฒนา” ในพื้นที่ขยายผล 18 หมู่บ้าน
พื้นที่เกษตรต้นในพื้นที่ด้านล่าง น้ำจากลำธารเก็บเข้าสระน้ำและ                      10 จั ง หวั ด ก็ จ ะเดิ น หน้ า เต็ ม ตั ว เพื่ อ สร้ า งประโยชน์ สุ ข ให้ กั บ
เป็นแหล่งน้ำของศูนย์เรียนรู้ น้ำเสียเข้าบ่อเปิดกรองด้วยหญ้าแฝก                     ประชาชนในพืนที่ ดังพระราชปณิธานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว
                                                                                                    ้                                                         ่ ั
ก่อนไหลลงลำธาร                                                                     ผู้ทรงเป็น “ธงชัย” ในการทำงานของปิดทองหลังพระฯ
                                                                                                                                                                7
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                   บทความ

    ประชากร 220 ครัวเรือน มากกว่าพันคน ที่อาศัยอยู่ในบ้าน
โป่ ง ลึ ก และบ้ า นบางกลอย ใน ต.ห้ ว ยแม่ เ พรี ย ง อ.แก่ ง กระจาน
จ.เพชรบุรี ต้องดำรงชีพอยู่อย่างยากลำบาก ในแต่ละวันพวกเขาต้อง
ใช้ชีวิตอย่างอดอยากขาดแคลน
      แม้จะมีแม่น้ำเพชรอันอุดมสมบูรณ์ เป็นสายเลือดหลักหล่อเลี้ยง
ผืนดิน แต่ทั้งสองหมู่บ้านก็อยู่สูงเกินกว่าจะนำน้ำจากแม่น้ำเพชร
ขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ พื้นที่ราบที่จะใช้เพาะปลูกได้ ก็มีน้อยเสียยิ่ง
กว่าน้อย แม้แต่ยามที่ฝนดี ก็ได้ข้าวเพียง 25 ถังต่อไร่ ไม่พอเพียง
ต่อการบริโภค ยิ่งไม่ต้องพูดถึงยามฝนแล้งเลย




                                               พัฒนาด้วยสามัคคี
    สู่ความยั่งยืนของแก่งกระจาน
                                                   ประชากรเกือบทั้งหมดมีเชื้อสายกะเหรี่ยง ซึ่งร้อยละ 20 ของ
                                                                          ประชากรยังตกสำรวจ เพราะความห่างไกลทุรกันดารเสียจนกระทั่ง
                                                                          หมดสิทธิในการเป็นคนไทย เมื่อหน่วยงานของรัฐเข้ามาไม่ถึง ในทาง
                                                                          ตรงข้าม เมื่อยามเจ็บป่วย ชาวบ้านต้องเดินเท้าถึงสองวันเต็ม เพื่อเข้า
                                                                          มาหาหมอในเมือง
                                                                                   โรคติดต่อที่คุกคามชาวบ้านอยู่ประจำ คือ มาลาเรีย ซึ่งเกิดจาก
                                                                          ชนกลุ่มน้อยที่อพยพหลบหนีการกวาดล้างของประเทศเพื่อนบ้านนำ
                                                                          เข้ามา พร้อมกับปัญหาการลักเล็กขโมยน้อย
                                                                                   สถานะทางเศรษฐกิจของทั้งสองหมู่บ้าน ยากจนแทบไม่ต่างกัน
                                                                          ขณะที่บ้านโป่งลึก มีรายได้ปีละ 4,744,000 บาท หรือ 52,000 บาท/
                                                                          ครอบครัว มีรายจ่าย 3,240,000 บาท หรือ 35,000 บาท/ครอบครัว
                                                                          มี เ งิ น ออมเพี ย ง 601,000 บาท หรื อ 610 บาท/ครอบครั ว บ้ า น


     บ้านบางกลอยและบ้านโป่งลึก เป็นหนึ่งในพื้นที่ขยายผลปิดทองหลังพระฯ ที่ในอีกไม่ช้าไม่นาน
นี้ จะสามารถลืมตาอ้าปาก พึ่งพาตนเองได้อย่างแน่นอน ด้วยกำลังใจอันแรงกล้าและความมุ่งมั่นของพวกเขา
       นอกจากบ้านบางกลอยและบ้านโป่งลึกแล้ว พื้นที่บริเวณอ่างเก็บน้ำพุสวรรค์ ต.พุสวรรค์ ยังจะเป็นอีก
หนึ่ ง พื้ น ที่ ใ น อ.แก่ ง กระจาน ที่ จ ะได้ รั บ การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ตามแนวทางของปิ ด ทองหลั ง พระฯ โดย
สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จะเป็นหน่วยงานดูแลรับผิดชอบ
       นายพิพัฒพงศ์ อิศรเสนา ณ อยุธยา ผู้แทนพิเศษสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
กล่าวว่า พื้นที่พุสวรรค์จะได้รับการพัฒนาให้เป็นชุมชมนำร่อง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้า
อยู่หัว ในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา ปี 2554 และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา ในปี 2555
                                                                                                                         พิพัฒพงศ์ อิศรเสนา ณ อยุธยา




8
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                               บทความ
                                                                                      มีรายได้วันละ 180 บาท รับจ้างปักผ้าได้วันละ 70 บาท แต่ก็ไม่ได้ทำ
                                                                                      ทุกวัน รายได้พออยู่ได้ แต่ก็มีหนี้สิน เป็นหนี้ร้านค้ากับกองทุนหมู่บ้าน
                                                                                      อยู่ราว 6,000 บาท และมีความหวังอยู่ว่า หากปิดทองฯ เข้ามาช่วย
                                                                                      ให้มีน้ำใช้ในการทำเกษตร จะได้ผลผลิตดีขึ้น ใช้หนี้ใช้สินได้
                                                                                             ขณะที่น ายเบี ย ร์ พริ บ พรี พ ร อายุ 49 ปี มีหลายอาชีพ ทั้ง
                                                                                      รับจ้างก่อสร้าง ทำนา ทำไร่พริก บอกว่า เคยมีหลายหน่วยงานเข้ามา
                                                                                      แจกเมล็ดพันธุ์การเกษตร แต่ชาวบ้านก็ไม่รู้เรื่องว่าจะทำอย่างไรให้
                                                                                      ได้ผลผลิตที่ดี เพราะที่ผ่านมาก็เพาะปลูก เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่กันตามมี
ลอย จีโบ้ง                     ดี ปลาดุก                  เบียร์ พริบพรีพร
                                                                                      ตามเกิด เวลามีไก่ในหมู่บ้านตายไปทีละหลายสิบตัว ก็ไม่มีใครรู้
บางกลอยก็ มี ร ายได้ ทั้ ง ปี 4,787,000 บาท หรื อ 37,000 บาท/                         สาเหตุ จึงอยากให้ปิดทองฯ เข้ามาให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรให้ได้
ครอบครัว รายจ่าย 3,970,000 บาท หรือ 30,000 บาท/ครอบครัว                               ผลผลิตที่ดีขึ้น และอยากให้ช่วยเรื่องถนนหนทาง เส้นทางคมนาคม
มีเงินออม 12,200 บาท หรือ 130 บาท/ครอบครัว รายได้ส่วนใหญ่                             ด้วย จะได้ทำมาค้าขาย เดินทางไปไหนมาไหนได้สะดวกขึ้น เพราะ
มาจากการรับจ้างถึงร้อยละ 76 ส่วนรายได้จากการเกษตรในพื้นที่                            ทุกวันนี้ หากจะไปแก่งกระจาน ขี่มอเตอร์ไซค์ไปทีก็ต้องใช้เวลาถึง
มีเพียงร้อยละ 7 เท่านั้น รายได้ส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 48 จะถูกใช้จ่าย                      สองชั่วโมงครึ่ง
เป็นค่าข้าวและอาหาร                                                                          นายเคริ ก นาวะ อายุ 57 ปี บอกว่ า “เมื่ อ ก่ อ นฝนตกตาม
        แต่ทุกข์ที่สุดของพวกเขา คือ ภาวะหนี้สิน ที่มองไม่เห็นโอกาส                    ฤดูกาล ก็พอจะเพาะปลูกได้ แต่ทุกวันนี้ ฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาล
เลยว่าจะชดใช้คืนให้หมดสิ้นได้อย่างไร                                                  เมื่อไม่มีน้ำ ชาวบ้านที่นี่ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวไร่ก็ไม่มีรายได้ น้ำกิน
        นายลอย จีโบ้ง ผู้ใหญ่บ้านบ้านโป่งลึก บอกว่า ชาวบ้านทุก                        น้ำใช้จึงเป็นเรื่องใหญ่ ถ้าปิดทองฯ ทำให้ชาวบ้านมีน้ำเพาะปลูกได้
คนเป็นหนี้นายทุนและหนี้กองทุนหมู่บ้าน หรือกองทุนเงินล้านของรัฐ                        ตลอดปี ก็เท่ากับช่วยแก้ปัญหาหลักของที่นี่ได้
ไม่เอาก็ไม่ได้ เมื่อรัฐให้มาแล้ว ชาวบ้านก็ไม่รู้ว่าจะลงทุนทำมาหากิน                          นอกจากน้ำเพื่อการเกษตรแล้ว ชาวบ้านส่วนหนึ่งที่ไม่มีที่ทำกิน
อะไร จะเพาะปลูกก็ไม่มีน้ำ ขณะที่รายจ่ายของแต่ละครอบครัวอยู่ที่                        ของตนเอง ก็อยากได้ที่ทำกินเพื่อที่จะได้ไม่ต้องไปทำงานรับจ้าง เช่น
เดือนละกว่า 5,000 บาท แต่ไม่มีใครมีรายรับที่แน่นอน ไม่มีปัญญา                         นางสาวดี ปลาดุก อายุ 35 ปี “ถ้ามีที่ ก็อยากปลูกข้าว ปลูกกล้วย
จะหาเงินจากที่ไหนมาคืนได้                                                             ทุกวันนี้ลำบาก ปลูกอะไรเองไม่ได้ ต้องซื้อ บางวันไม่ได้ทำงานก็ไม่มี
        “ได้ไปดูงานปิดทองฯ ที่จังหวัดน่านมาแล้ว และกลับมาเล่าให้                      รายได้ ถ้ามีที่ทำกิน ก็ไม่ต้องออกไปรับจ้างในตัวเมือง”
ลูกบ้านฟังว่า ถ้าได้ปิดทองฯ เข้ามาช่วย ก็จะทำให้มีความเป็นอยู่                               แม้แต่เจ้าหนี้อย่าง ลุ ง พื้ น สุ ก ใส เจ้าของร้านชำในหมู่บ้าน
ที่ ดี ขึ้ น เหมื อ นคนที่ น่ า น แต่ ปิ ด ทองฯ ไม่ ไ ด้ เ ข้ า มาจ้ า งให้ พ วกเรา   วัย 57 ปี ก็ยังบอกว่า “ชาวบ้านที่นี่มีปัญหาหนี้สินมากแทบทุกหลังคา
ทำงานนะ พวกเราต้ อ งทำกั น เอง ซึ่ ง ชาวบ้ า นก็ ช อบใจ อยากให้                       เรื อ น ก็ ต้ อ งมาซื้ อ ของเงิ น เชื่ อ ค้ า งเงิ น กั น เป็ น ปี เก็ บ ได้ บ้ า ง
ปิดทองฯ เข้ามา”                                                                       ไม่ได้บ้าง ติดหนี้ตั้งแต่ 3,000 บาท จนถึง 10,000 บาท ถ้าชาวบ้าน
        นางแสงสุนย์ นาวะ แม่ลกสาม วัย 27 ปี ก็บอกว่า อาชีพทำไร่พริก
                      ี               ู                                               มีรายได้เพียงพอ ก็คงไม่ต้องเป็นหนี้ ชีวิตความเป็นอยู่จะดีขึ้นกว่า
ไร่มะนาว ได้ผลผลิตไม่ดี เพราะไม่มีน้ำ ทุกวันนี้ต้องรับจ้างก่อสร้าง                    ทุกวันนี้”


                                          อ่างเก็บน้ำพุสวรรค์ เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี 2528 มีความจุ
                                     เก็บกักน้ำ 871,000 ลูกบาศก์เมตร ในปัจจุบันมีสภาพตื้นเขิน เน่าเหม็น จนไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้
                                     เป้าหมายของการพัฒนาจึงทำเพื่อกระตุ้นให้ชาวบ้านลุกขึ้นมาพัฒนาอ่างเก็บน้ำพุสวรรค์ร่วมกัน ให้สามารถ
                                     เก็บกักน้ำได้เต็มประสิทธิภาพ เพียงพอสำหรับการเพาะปลูกในฤดูแล้ง จากนั้นจะดำเนินการเพิ่มผลผลิต
                                     การเกษตรหลักในพื้นที่ คือ สับปะรด กล้วย มะนาว และถั่วฝักยาว แก้ไขปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ราคา
                                     ผลผลิตตกต่ำ และปัญหาสารเคมีตกค้างในน้ำ ดิน ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกร รวมทั้งแก้ปัญหา
                                     การบุกรุกพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
                                          นายชูศิริ ไคยนันท์ หัวหน้าฝ่ายอสังหาริมทรัพย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กล่าว
                                     ว่า “โครงการนี้จะใช้เวลา 2 ปี พัฒนาให้ประชาชนกินดีอยู่ดี เพิ่มรายได้ ลดภาระหนี้สิน ลดการซื้ออาหาร
         ชูศิริ ไคยนันท์             จากภายนอก และลดการใช้สารเคมี โดย 3 เดือนแรกนี้ จะเป็นกระบวนการให้เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่เก็บข้อมูล
                                     พื้นฐาน เพื่อ “เข้าถึง” ชาวบ้าน ก่อนวางแผนพัฒนาร่วมกับชาวบ้านต่อไป”


                                                                                                                                                                       9
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3

More Related Content

Viewers also liked

การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
กฤตพร สุดสงวน
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
พจีกานต์ หว่านพืช
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Taraya Srivilas
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
การพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อนการพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อนCook-butter
 
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Press Trade
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยสังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยchickyshare
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ploymhud
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
Kawow
 
Sufficeiency Economy For Household Sector
Sufficeiency Economy For  Household SectorSufficeiency Economy For  Household Sector
Sufficeiency Economy For Household Sector
Siam University
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
ประพันธ์ เวารัมย์
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...SlideShare
 

Viewers also liked (18)

การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อนการพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อน
 
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยสังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
Sufficeiency Economy For Household Sector
Sufficeiency Economy For  Household SectorSufficeiency Economy For  Household Sector
Sufficeiency Economy For Household Sector
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
 

Similar to Newsletter pidthong vol.3

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1makechix
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงNuttayaporn
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงkittima345
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิงnuizy
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิงsweetynuizy
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงpanussaya-yoyo
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทานChanapun Kongsomnug
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGiiGx Giuseppina
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงkpdbutter
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นPoramate Minsiri
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงNoopy S'bell
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงnery010407
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลG'ad Smile
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยnatsuda_naey
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์Nutchy'zz Sunisa
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคน ขี้เล่า
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่Chanapun Kongsomnug
 

Similar to Newsletter pidthong vol.3 (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิง
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิง
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้น
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิง
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิง
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อย
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
 

More from tongsuchart

Newsletter pidthong vol.6
Newsletter pidthong vol.6Newsletter pidthong vol.6
Newsletter pidthong vol.6tongsuchart
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5tongsuchart
 
จดหมายข่าวปิดทอง ฉบับที่4
จดหมายข่าวปิดทอง ฉบับที่4จดหมายข่าวปิดทอง ฉบับที่4
จดหมายข่าวปิดทอง ฉบับที่4tongsuchart
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
tongsuchart
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระtongsuchart
 

More from tongsuchart (6)

Newsletter pidthong vol.6
Newsletter pidthong vol.6Newsletter pidthong vol.6
Newsletter pidthong vol.6
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
 
จดหมายข่าวปิดทอง ฉบับที่4
จดหมายข่าวปิดทอง ฉบับที่4จดหมายข่าวปิดทอง ฉบับที่4
จดหมายข่าวปิดทอง ฉบับที่4
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Newsletter pidthong vol.3

  • 1. ปิ ด ทองหลั ง พระ คื อ การเพี ย รทำความดี โดยไม่ มุ่ ง เน้ น ประโยชน์ ส่ ว นตน 3 น้อมนำ“พระราชดำริ”เป็นต้นแบบ บริหารจัดการน้ำทั้งระบบเพื่อแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน วิกฤตการณ์อุทกภัยครั้งรุนแรงที่สุดที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ควรที่ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและชุมชนทั้งหมดจะเร่งพิจารณาแนวทางการบริหารจัดการน้ำทังระบบ เพือการแก้ปญหา ้ ่ ั อย่างยั่งยืน โดยน้อมนำแนวพระราชดำริเรื่อง “น้ำ” ที่ผ่านการพิสูจน์แล้วว่า สามารถแก้ ปัญหาอย่างได้ผลมาเป็นแนวทางดำเนินงาน แนวพระราชดำริ น้ำท่วม น้ำแล้ง ความรู้ที่ครอบคลุมการแก้ปัญหา “น้ำ” ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นน้ำท่วม นับตังแต่ 49 ปีทแล้ว คือในปี 2505 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว น้ ำ แล้ ง และน้ ำ เสี ย รวมทั้ ง ยั ง ช่ ว ยแก้ ปั ญ หาสภาพแวดล้ อ มและ ้ ี่ ่ ั ทรงเริ่ ม โครงการพระราชดำริ เ รื่ อ งน้ ำ แห่ ง แรก โดยพระราชทาน อนุรักษ์ป่าไม้ โดยเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพภูมิสังคมและสภาพ พระราชดำริและพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ปัญหาในแต่ละพื้นที่ เขาเต่า อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเริ่มก่อสร้างและแล้วเสร็จ ในปี 2506 น้ำจากฟ้าถึงผืนดิน นับจากนันเป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว พระราชทาน ้ ่ ั แนวพระราชดำริในการจัดการน้ำของพระบาทสมเด็จพระเจ้า แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการจัดการน้ำตลอดมาโดยต่อเนื่องมากมาย อยู่หัว มีตั้งแต่น้ำจากฟ้า คือ ฝนหลวงในยามที่เกิดการขาดแคลนน้ำ หลายรูปแบบและวัตถุประสงค์รวมกันมากกว่า 1,700 โครงการ ลงมาสู่ฝายชะลอน้ำในพื้นที่สูง เพื่อลดความเร็วของน้ำ เพิ่มความ ครอบคลุมตั้งแต่น้ำจากฟ้า จนถึงน้ำที่ใช้แล้วคืนสู่ธรรมชาติ เป็น ชุ่มชื้นให้กับดิน และให้ธรรมชาติฟื้นฟูตนเอง อ่านต่อหน้า 2 ปิดทองฯดูงานกสิกรรมธรรมชาติ ใช้“ศาสตร์พระราชา”แก้ทุกข์ยาก ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ พร้อมด้วยผูนำชุมชนและชาวบ้านจาก อ.เฉลิมพระเกียรติ อ.ท่าวังผา ้ และ อ.สองแคว จ.น่าน พืนทีตนแบบโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหา ้ ่้ และพัฒนาพืนทีตามแนวพระราชดำริ ร่วมสังเกตการณ์การประชุม ้ ่ เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติสัญจร ครั้งที่ 28 และหารือแนวทาง ความร่วมมือกับเครือข่ายมูลนิธกสิกรรมธรรมชาติ ณ โครงการพัฒนา ิ พืนทีหนองใหญ่ตามแนวพระราชดำริ จังหวัดชุมพร อ่านต่อหน้า 16 ้ ่
  • 2. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ ข่าว กลับสู่ความสมบูรณ์ ร่วมกับการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก ทำให้เกิดป่า สมบู ร ณ์ ซึ่ ง จะช่ ว ยลดความรุ น แรงของน้ ำ ได้ ด้ ว ย ทั้ ง ยั ง มี แ นว พระราชดำริ ที่ มี ก ารพั ฒ นาต่ อ เนื่ อ ง เช่ น “อ่ า งพวง” ซึ่ ง เป็ น การ เชื่อมโยงน้ำระหว่างอ่างเก็บน้ำหลาย ๆ อ่าง ให้สนับสนุนกันเพื่อ เก็บกักน้ำได้มากขึ้น ช่วยเก็บน้ำส่วนเกินในฤดูฝนและเป็นแหล่งน้ำ เพื่อการเกษตรในฤดูแล้ง ในพื้นที่ราบตั้งแต่เชิงเขาลงมา มีพระราชดำริให้ก่อสร้างเขื่อน และอ่างเก็บน้ำ เพื่อบรรเทาอุทกภัยและเก็บกักน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง เช่น โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มน้ำสาขาแม่ปิง จ.เชียงใหม่-ลำพูน เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน จ.พิษณุโลก โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำ แม่ อ าว จ.ลำพู น โครงการพั ฒ นาลุ่ ม น้ ำ ห้ ว ยทอน จ.หนองคาย โครงการพัฒนาลุมน้ำป่าสัก จ.ลพบุร-สระบุรี เขือนขุนด่านปราการชล ่ ี ่ เมื่ อ 31 ปี ก่ อ น ในปี 2523 ทรงตั้ ง โครงการหยุ ด ยั้ ง ไม่ ใ ห้ จ.นครนายก และพระราชดำริให้ขุดสระเก็บน้ำในไร่นาของเกษตรกร น้ำท่วมชานเมืองด้านทิศตะวันออก โดยให้น้ำที่หลากมาจากทาง เพื่อเก็บกักและบริหารน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่ขนาดเล็กให้เกิด เหนือไหลลงสู่คลองใน จ.ปทุมธานี น้ำจากทิศตะวันออกไหลลงคลอง ประโยชน์สูงสุด ใน จ.สมุทรปราการ และไหลลงสู่ทะเลโดยตรงต่อไป ด้วยการขุดลอก สำหรับพืนทีลมทีมปญหาน้ำท่วมขังอยูเป็นประจำ มีพระราชดำริ ้ ่ ุ่ ่ ี ั ่ คลอง 19 สาย ความยาวรวม 173.5 กม. และตั้งสถานีสูบน้ำ 43 แห่ง ให้แก้ปัญหาโดยการขุดหรือปรับปรุงคลองระบายน้ำในพื้นที่นั้น ให้ เพื่อควบคุมการไหลของน้ำ ระบายน้ำจำนวนมากออกจากพืนทีได้สะดวก และก่อสร้างอาคารประตู ้ ่ ต่อมาในปี 2526 ฝนที่ตกหนักเป็นประวัติการ วัดได้สูงถึง 574 หรือท่อระบายน้ำ เพือควบคุมการเก็บกักน้ำไว้ในคลอง และป้องกันน้ำ ่ มม. ทำให้เกิดน้ำท่วมหนักในเขตบางกะปิ พระโขนง ห้วยขวาง มีนบุรี จากบริเวณด้านนอกที่มีระดับสูงไม่ให้ไหลย้อนเข้าไปในพื้นที่นั้น และธนบุรี และท่วมขังบางพื้นที่เป็นเวลานาน เกิดความสูญเสีย ถึง 6,600 ล้ า นบาท ในวั น ที่ 7 พฤศจิ ก ายน 2526 พระบาทสมเด็ จ พระราชดำริปกป้องกรุงเทพฯ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงสำรวจสถานการณ์น้ำท่วม อุ ท กภั ย ในพื้ น ที่ ลุ่ ม ภาคกลางและกรุ ง เทพมหานครที่ ผ่ า นมา พระโขนงและลาดพร้าวที่ถูกน้ำท่วมขังยาวนานถึงสองเดือน ก็เช่นกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงออกสำรวจสถานการณ์ ในครั้งนั้น ได้พระราชทานพระราชดำริให้ขุดลอกคลองธรรมชาติ ด้วยพระองค์เอง จนเกิดแนวพระราชดำริเพือป้องกันและบรรเทาอุทกภัย บางสายและขุดลอกท่อระบายน้ำใต้ถนน เพื่อให้น้ำไหลได้สะดวก ่ เช่น การก่อสร้างคันกั้นน้ำ แก้มลิง ทางผันน้ำ ปรับปรุงสภาพลำน้ำ พร้อมกับซ่อมแซมท่อประปาตามถนน ทั้งยังพระราชทานพระราชดำริ ให้ ส ร้ า งประตู น้ ำ ในคลองแสนแสบตรงจุ ด ที่ จ ะเชื่ อ มต่ อ กั บ คลอง บางกะปิให้เร็วที่สุดที่จะทำได้ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2526 ทรงพระดำเนินลุยน้ำตามตรอก และถนนที่น้ำท่วม เพื่อทรงตรวจความคืบหน้าของโครงการบรรเทา น้ำท่วมตามพระราชดำริ และทรงเก็บข้อมูลด้วยพระองค์เองไปตาม ถนนสายสรรพาวุธ-บางนา จากนันเสด็จฯ ไปทรงเยียมเขตบางขุนเทียน ้ ่ และเขตธนบุรี ทรงพระดำเนินลุยน้ำท่วมกว่าหนึ่งกิโลเมตร และทรง ใช้เวลาสีชวโมงในการตรวจตราประตูนำ และสังเกตการสูบน้ำพร้อมกับ ่ ั่ ้ มีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรที่ได้รับความเดือดร้อนอย่างใกล้ชิด แล้วพระราชทานคำแนะนำให้กอสร้างอุโมงค์ใต้ทางรถไฟสายแม่กลอง ่ เพิ่มขึ้นและขุดคลองลัดเพื่อเร่งให้น้ำระบายได้เร็วขึ้น เจ้าของ : มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล เลขที่ 1 ถนนนครปฐม เขตดุสต กรุงเทพมหานคร 10300 ิ www.pidthong.org : สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 26 เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 www.twitter.com/pidthong โทรศัพท์ 0-2611-5000 โทรสาร 0-2658-1413 ที่ปรึกษา : หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล นายการัณย์ ศุภกิจวิเลขการ นายพิพัฒน์ เลิศกิตติสุข www.facebook.com/pidthong บรรณาธิการ : นายธนัยนันท์ ธนันท์ปพัฒน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายสุชาติ ถนอม ผู้จัดทำ : บริษัท แอร์บอร์น พรินต์ จำกัด 1519/21 ซอยลาดพร้าว 41/1 ถนนลาดพร้าว แขวงสามเสนนอก 2 www.youtube.com/pidthongchannel เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2939-9700 โทรสาร 0-2512-2208 E-mail : roso215@yahoo.com
  • 3. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ ข่าว เมื่ อ เกิ ด น้ ำ ท่ ว มอี ก ครั้ ง ในปี 2538 นอกจากจะพระราชทาน วันเดียว ทำให้ชุมพรรอดพ้นจากภัยพิบัติมาได้ ชาวชุมพรจึงพร้อมใจ แนวทางแก้ไขเป็นระยะ ๆ เช่น ให้พิจารณาหาแนวทางป้องกันและ กันจัดงาน “สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ” เป็นประจำทุกปี ระหว่าง บรรเทาอุทกภัยพื้นที่บริเวณด้านทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร วันที่ 24-26 กันยายน โดยการเร่งสูบน้ำเพื่อระบายน้ำสู่ทะเล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้น โครงการดังกล่าวขยายเป็น “โครงการพัฒนาพื้นที่ ยังได้พระราชทานพระราชดำริเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2538 ให้ หนองใหญ่ตามพระราชดำริ” เพือแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติอย่างถาวร ่ ปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ จ.สมุทรปราการ ซึ่งตื้นเขินมาก มาช่วยย่น มีการทำโครงการแก้มลิงหนองใหญ่เพื่อเก็บกักน้ำ ขุดคลองละมุ ให้ ระยะทางการไหลของน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณพื้นที่บางกระเจ้า เชื่อมกับคลองท่าแซะ ติดตั้งประตูระบายน้ำราชประชานุเคราะห์ จ.สมุทรปราการ และระบบเตื อ นภั ย ที่ ค ลองท่ า แซะ ทำให้ น้ ำ ไม่ ท่ ว มชุ ม พรอี ก เลย คลองลั ด โพธิ์ ช่ ว ยย่ น ระยะทางการไหลของน้ ำ จาก 18 กม. มากว่า 13 ปีแล้ว เหลือเพียง 600 ม. ช่วยเร่งให้น้ำไหลลงทะเลได้สะดวกและรวดเร็ว จึงช่วยบรรเทาปัญหาน้ำท่วมบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้เป็นอย่างดีนับจากนั้นมาจนถึงปัจจุบัน ต่อมาในวันที่ 4 ธันวาคม 2538 ยังได้พระราชทานแนวทางแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในระยะยาว หรือโครงการแก้มลิง เป็นครั้งแรก หลั ก การสำคั ญ ของโครงการแก้ ม ลิ ง คื อ หาที่ เ ก็ บ กั ก น้ ำ ฝั่ ง ตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยามาใช้รวบรวมน้ำ รับและดึงน้ำท่วมขัง มาเก็บไว้ในคลองชายทะเลและคลองสายต่าง ๆ ในเขต จ.สมุทรปราการ ส่วนพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา จะรวบรวมน้ำ รับและดึง น้ำท่วมขังมาเก็บไว้ในคลองมหาชัย-คลองสนามชัย และแม่นำท่าจีน ้ จ.สมุทรสาคร ก่อสร้างประตูระบายน้ำ ปิดกั้นคลอง ก่อสร้างและ ปรั บ ปรุ ง สถานี สู บ น้ ำ ต่ า ง ๆ ควบคุ ม การเปิ ด -ปิ ด ประตู น้ ำ ให้ สอดคล้องกับระดับของน้ำทะเล เข้าใจน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงให้ความสำคัญกับการศึกษา ให้รู้จริงเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างได้ผล ทรงมีพระราชดำริให้ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการไหลของน้ ำ ความสั ม พั น ธ์ ข องระดั บ น้ ำ และ ต้นแบบต้านภัยธรรมชาติ ปริมาณน้ำปากแม่น้ำเจ้าพระยาและความสัมพันธ์ของน้ำทะเลหนุน แก้ ม ลิ ง หนองใหญ่ จ.ชุ ม พร คื อ ตั ว อย่ า งเด่ น ชั ด ที่ แ สดงถึ ง และปริมาณน้ำเหนือหลาก ผ่านเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อนำผล พระอัจฉริยภาพเรื่องน้ำ และเป็นต้นแบบความสำเร็จของ “ศาสตร์ วิเคราะห์ไปใช้บริหารจัดการปริมาณน้ำเหนือทีไหลผ่านเขือนเจ้าพระยา ่ ่ พระราชา” เพื่อต้านภัยธรรมชาติได้อย่างเป็นรูปธรรม เมื่อพายุไต้ฝุ่น และเขือนป่าสักชลสิทธิ์ รวมทังบริหารจัดการน้ำในเขตกรุงเทพมหานคร ่ ้ ซี ต้ า พั ด ถล่ ม จ.ชุ ม พรเสี ย หายยั บ เยิ น เมื่ อ ปี 2540 พระบาท และปริมณฑลให้สอดคล้องกับสภาพน้ำทะเลหนุนสูง เพื่อเป็นข้อมูล สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ 18 ในการตัดสินใจป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ำท่วมอย่างรวดเร็วและ ล้านบาท และทรงมีพระราชดำรัสให้เร่งขุดคลองหัววัง-พนังตักให้ เกิดประโยชน์สูงสุด แล้วเสร็จโดยเร็ว เพื่อระบายน้ำเตรียมรับพายุถล่ม คลองนั้นแล้วเสร็จ เมือมีการใช้นำในพืนทีอตสาหกรรมและทีอยูอาศัย ทำให้เกิดน้ำเสีย ่ ้ ้ ุ่ ่ ่ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2540 ก่อนพายุลินดาเข้าถล่มชุมพรเพียง ตามมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อ่านต่อหน้า 16 3
  • 4. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ สัมภาษณ์พิเศษ ปรชญาของเศรษฐกจพอเพยง ั ิ ี ทางออกของสังคมไทยวันนี้ บทความนี้เรียบเรียงจากการเสวนาในหัวข้อ CSR ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ประธานมูลนิธิปิดทอง หลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ซึ่งจัดขึ้นโดย CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ในท่ า มกลางความเปราะบางของเศรษฐกิ จ และสั ง คมไทย อั น เนื่ อ งมาจากความเหลื่อมล้ำในสังคม เหตุการณ์ทางการเมื อ ง และความรุนแรงของปัญหาชนบท ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว จะเป็ น ทางออกสำคั ญ ที่ ช่ ว ยให้ สังคมไทยหลุดพ้นจากกับดักประชานิยม ซึ่งกำลังเป็นปัญหาสำคัญ ของประเทศในวันนี้ได้อย่างไร คำตอบอาจอยู่ที่นี่ ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย กล่าวว่า “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นหลักคิดที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประมวลเอาสัจธรรม ที่พิสูจน์แล้วทั้งทางโลกและทางธรรมให้เป็นระบบ แล้วพระราชทาน ให้พวกเรานำมาใคร่ครวญ และประยุกต์ใช้กับชีวิต ครอบครัว บริษัท หน่วยงาน ชุมชน และประเทศชาติ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กล่าวไว้ว่า การพัฒนาประเทศ จำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น สร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีและอุปกรณ์ที่ ประหยัด ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคง จึงค่อยสร้าง ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นสูงขึ้นไป มีคนไม่เข้าใจหรือแกล้ง ไม่เข้าใจว่า ปรัชญานี้พระเจ้าอยู่หัวไม่อยากให้เรารวย อยากให้จน ตลอดไป ซึ่งผิด เพราะปรัชญานี้รับสั่งว่า เราจะต้องดูภาพสังคมที่ เป็นจริง แล้วค่อย ๆ สร้างสิ่งที่เจริญขึ้นไปทีละขั้น วันนี้บริษัทอาจมี ศ.นพ.เกษม กล่าวว่า เมื่อเกิดวิกฤตค่าเงินบาทในปี 2540 นั้น ขนาดธุรกิจ 3 ล้านบาท ก็ค่อย ๆ สร้างขึ้นไปเป็น 30 ล้าน 300 ล้าน ถ้าใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก็ไม่มีคนต้องฆ่าตัวตาย เพราะ 3,000 ล้าน 30,000 ล้าน 300,000 ล้าน” ปรัชญานี้มีหลักสำคัญอยู่ที่ความมีเหตุผล และการใช้หลักวิชาใน ศ.นพ.เกษม กล่าวว่า การทำงานของปิดทองฯ คือ การแก้ปัญหา การตัดสินใจของผูบริหาร ถ้าทุกคนมีความคิดพอเพียง หมายความว่า ้ ให้กับประชาชนส่วนหนึ่งในชนบท ที่ต้องกู้กิน กู้ใช้ ให้พัฒนาไปสู่ พอประมาณ ไม่ สุ ด โต่ ง ไม่ โ ลภมาก คนเราก็ อ ยู่ เ ป็ น สุ ข ซึ่ ง คำว่ า ขั้นที่ 2 คือ พอกิน พอใช้ และกินดีอยู่ดีในที่สุด เพื่อลดช่องว่างความ “พอเพี ย ง” นี้ อาจจะมี ม าก อาจจะมี ข องหรู ห ราก็ ไ ด้ แต่ ต้ อ งไม่ เหลื่อมล้ำในฐานะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในสังคม ให้ค่อย ๆ ผ่านจากจน เบียดเบียนคนอื่น เพราะถ้าเบียดเบียนคนอื่นแล้ว จะทำให้โลกนี้ไม่มี มาก มาเป็นจนน้อย พอกิน แล้วก็ร่ำรวย คนรวยก็ค่อย ๆ รวยมากขึ้น ความสุข เกิดการแก่งแย่ง เกิดสงคราม ซึ่งนักธุรกิจทั้งหลายคงไม่ ค่ อ ย ๆ ก้ า วไปที ล ะขั้ น เรื่ อ ย ๆ ไม่ ก ระโดดข้ า ม ซึ่ ง ตรงกั น ข้ า มกั บ อยากเห็นภาพของความขัดแย้งของสงครามอย่างแน่นอน เพราะ “วัตถุนิยมเกินเหตุ” (Excessive materialism) ย่อมหมายถึงการหยุดชะงักงันของภาวะเศรษฐกิจ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงคิดมานานแล้วว่า ปรัชญานี้ “คำว่า ‘พอประมาณ’ ในปรัชญานี้สำคัญมาก คือ พอประมาณ จะสร้างความมันคงและยังยืนได้ มันคงในทุกสถานะของเรา ในอัตภาพ ่ ่ ่ ตามอัตภาพ วันนี้บริษัทเรามีอัตภาพเป็นอย่างไร เทียบกับอีก 10 ของเรา และยั่งยืน คือเราสามารถที่จะพัฒนาต่อไปได้อีก” บริษัทอยู่ตรงไหน เราต้องรู้อัตภาพบริษัทเรา การตัดสินใจทุกอย่างใน 4
  • 5. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ สัมภาษณ์พิเศษ บริษัทเราต้องว่าตามอัตภาพ และต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับสั่งเมื่อเดือนสิงหาคม 2542 ว่า “...เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความ มั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัว จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน คำว่า “พอประมาณ” คือ พอประมาณตามอัตภาพ การตัดสินใจ ่ อาคารไว้ นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม คนส่วนมาก ใด ๆ ถ้าใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากพอประมาณ มองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป...” เพื่อเชิญชวนว่า ไม่ ม ากหรื อ น้ อ ยไปแล้ ว ยั ง ต้ อ งคิ ด ด้ ว ยว่ า มี เ หตุ ผ ลหรือไม่ ไม่ว่า ปรัชญานี้เป็นรากฐานสำหรับชีวิต ครอบครัว ชุมชน และบริษัทที่นำ เหตุ ผ ลทางกฎหมาย เหตุผลทางศีลธรรม หรือกฎเกณฑ์ของตลาด ไปใช้ ซึ่ง 10 กว่าปีมานี้ ก็มีบทพิสูจน์มากมายแล้วว่า ชุมชนที่นำไป หลักทรัพย์ และต้องคิดด้วยว่า กระทบกับทุนของบริษัทในขณะนั้น ใช้เข้มแข็งขึ้นได้อย่างรวดเร็ว อย่างที่เรียกว่าพลิกหน้ามือเป็นหลังมือ หรือไม่ ทั้งทุนทางวัตถุ ทุนทางสังคม ทุนทางสิ่งแวดล้อม และทุนทาง ทีเดียว วัฒนธรรม ไม่ใช่แต่ในเรื่องวัตถุ จะเอาแต่ยอดขายสูง ๆ กำไรมาก ๆ ศ.นพ.เกษม กล่าวว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพียงหน้าเดียว ไม่ได้ ปรัชญานี้บอกว่าต้องครบทั้งสังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม สามารถตอบคำถามได้ทุกอย่าง 3. ถ้าบริษัทจะนำไปใช้ ต้องเตรียมบริษัทอย่างไร พระเจ้าอยู่หัว “1. วัตถุประสงค์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึง รับสั่งว่า ต้องมีความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ วิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและ การตัดสินใจทุกอย่าง ต้องอยู่บนฐานความรอบรู้ จะลงทุน จะซื้อหุ้น บริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา มีความรูพอหรือไม่ รูรอบหรือเปล่า และรอบคอบ ระมัดระวังในการนำ ้ ้ เศรษฐกิ จ เพื่ อ ให้ ก้ า วทั น ต่ อ โลกยุ ค โลกาภิ วั ต น์ เพื่ อ ให้ พ ร้ อ มต่ อ วิชาการมาใช้ ทั้งในขั้นวางแผนและขั้นปฏิบัติการ และยังมีเงื่อนไขที่ การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว และกว้ า งขวางทั้ ง ด้ า นวั ต ถุ สั ง คม 2 คือ เงื่อนไขคุณธรรม ต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ให้ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก มีสำนึกคุณธรรม ซึ่งคุณธรรมหนึ่ง ที่เป็นคุณธรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และ ดังนั้น เป้าหมาย คือ ต้องก้าวทันโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งมีการ สำคัญที่สุดในการนำปรัชญานี้ไปใช้ คือ ความซื่อสัตย์สุจริต แข่ ง ขั น สู ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น รวดเร็ ว มาก ปรั ช ญานี้ ศ.นพ.เกษม กล่าวว่า ปรัชญานี้สามารถสร้าง KPI วัดผลได้ทั้ง พระราชทานมาเพื่อให้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ ด้วยการสร้าง 4 ด้าน นอกจากความเข้มแข็งทางการเงิน ในด้านสังคมก็สามารถ ความเข้มแข็งทั้ง 4 ด้าน คือ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม สร้างทุนทางสังคมให้เข้มแข็งได้ สามารถวัดผลได้ เช่น ใน 1 ปี อย่าง ในบริษัท วัตถุ ก็คือ สถานะของบริษัท สังคม คือ Software และ น้อย คน 50 เปอร์เซ็นต์ ต้องมาร่วมงานที่เป็นงานบุญงานกุศล ด้าน Humanware ในบริษัท สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกบริษัท สิ่งแวดล้อมก็เช่นกัน เช่น ถ้ามีแผนจัดการเรื่องขยะ มีคนเข้าร่วมมาก วั ฒ นธรรมองค์ ก ร หรื อ วัฒนธรรมบริษัท ซึ่งผู้บริหารสร้า งได้ ห มด น้อยเพียงใด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะบังคับให้เกิดกลไก โดยยึดหลักความพอเพียง ของการพัฒนาองค์กรของตัวเองทีละด้าน 2. คำว่า “พอเพียง” หมายถึง 1. ความพอประมาณ 2. ความมี “ผมเห็ น มาหลายองค์ ก รแล้ ว ที่ พั ฒ นามาอย่ า งนี้ ผมเคยถาม เหตุผล 3. มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ นั ก ธุ ร กิ จ อยู่ เ รื่ อ ยว่ า หากบริ ษั ท ของท่ า นมี ค นงาน 35 คน ทุ ก คน ใด ๆ อั น เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ภายนอกและภายใน ทั้ ง นี้ กินเหล้าหมด เล่นการพนันหมด การทุ่มเทของคนงานทั้ง 35 คน แน่นอนว่ามีนดเดียวเท่านัน แต่ถาสามารถเอาปรัชญานีไปเปลียนเขา ิ ้ ้ ้ ่ ค่อย ๆ ผ่อนหนี้ 5 ปี ไม่มใครเป็นหนีเ้ ลย ใช้ชวตสะอาด ออกกำลังกาย ี ีิ เข้าวัดเข้าวา รู้จักมัธยัสถ์ รู้จักประหยัด รู้จักดูแลครอบครัว แล้วก็มี ความภาคภูมิใจในตัวเอง มาทำงานให้บริษัทด้วยความฮึกเหิม จงรัก ภักดีต่อบริษัท ผลผลิตของบริษัทจะเป็นอย่างไร เช่นเดียวกับครู ครูที่ เป็นหนี้มากจะมีแรงสอนหนังสือหรือ แล้วครูไม่มีแรงสอนหนังสือ คุณภาพการศึกษาจะอยู่ตรงไหน เช่นเดียวกัน คนงานบริษัทถ้าเป็น หนี้มาก ๆ สิ้นเดือนก็ต้องหลบ ๆ หลีก ๆ ไม่ยอมมาทำงาน แต่ถ้า สามารถสร้างชีวิตเขาให้ดีขึ้นจากปรัชญานี้ ให้มีคุณธรรม มีความ รอบรู้ ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มีเพียร ถ้าบริษัทพัฒนาคนของ ตนเองตลอดเวลา ให้เป็นผู้มีความรอบรู้ อยู่ในวัฒนธรรมที่มีความ รอบรู้ รับรองได้ว่าบริษัทไปรอดแน่ 4. เมื่อนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ประโยชน์ที่จะ เกิดขึน คือ บริษทจะเกิดความสมดุล และพร้อมรองรับการเปลียนแปลง ้ ั ่ ได้ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ตาม” 5
  • 6. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงาน ภาคีเคียงข้าง “ปิดทองฯ” เดินหน้าพื้นที่ขยายผล 10 จังหวัด เพียง 2 เดือน ในการลงพื้นที่ทำความ “เข้าใจ” พื้นที่ขยายผล 18 และน้ำแล้ง การระบายน้ำ ธาตุอาหารต่ำ ส่งผลให้ผลผลิตต่ำ และ หมู่บ้าน 10 จังหวัด ปิดทองหลังพระฯ สามารถสรุปปัญหา ความ การปลู ก พื ช เชิ ง เดี่ ย ว ขณะที่ ช าวบ้ า นและองค์ ก รปกครองท้องถิ่น ต้ อ งการของชาวบ้ า น และกำหนดแนวทางการพั ฒ นาในแต่ ล ะ และอำเภอ มีความตั้งใจ มีความพร้อมและให้ความร่วมมืออย่างดี พื้นที่ได้ ดังนี้ การพั ฒ นาพื้ น ที่ ดำเนิ น การได้ โ ดยน้ อ มนำแนวพระราชดำริ ที่ บ้ า นปาง ต.หนองบั ว อ.ไชยปราการ จ.เชี ย งใหม่ พบว่ า มี แก้ ม ลิ ง และเกษตรผสมผสานตามแนวเกษตรทฤษฎี ใ หม่ มาใช้ ปั ญ หาเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การน้ ำ ที่ ยั ง ไม่ ดี พ อ ทำให้ น้ ำ มี พ อมี อ ยู่ ในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม พัฒนาการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็น ไม่สามารถใช้ได้เต็มประสิทธิภาพ ปัญหาผลผลิตการเกษตรสำคัญ ระบบร่วมกัน ทำการเกษตรผสมผสาน ให้ความรู้เทคนิคการเพิ่ม คือ ลิ้นจี่ ซึ่งปลูกกันมากถึงร้อยละ 75 ไม่ค่อยผลิดอกออกผล มีสภาพ ผลผลิตข้าว ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการพัฒนาดิน ส่งเสริมการใช้ปุ๋ย ดินเสียจากการใช้สารเคมี มีการบุกรุกป่าอยู่บ้าง และมีปัญหาหนี้สิน ชีวภาพแทนสารเคมี ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้น้อยลง ส่ ว นความร่ ว มมื อ จากชาวบ้ า นนั้ น ยั ง เป็ น เรื่ อ งที่ ต้ อ งรณรงค์ ใ ห้ ส่งเสริมการอนุรักษ์สภาพป่าให้มีความสมบูรณ์เป็นแหล่งต้นน้ำ และ มากขึ้น สนับสนุนองค์ความรู้เพื่อการประกอบอาชีพ แนวทางการพั ฒ นาที่ ปิ ด ทองฯ เสนอแนะเพื่ อ แก้ ปั ญ หาและ สำหรับบ้านโป่งลึกและบ้านบางกลอย ต.ห้วยแม่เพรียง อ.แก่งกระจาน พัฒนาพื้นที่ คือ ต้องมีการจัดการน้ำบนพื้นที่ราบเชิงเขา ทำอ่างพวง จ.เพชรบุรี ปัญหาสำคัญที่สุด คือ การเกษตร เพราะชาวกะหร่าง ฝายอนุ รั ก ษ์ ใ นพื้ น ที่ ต้ น น้ ำ และแก้ ไ ขปั ญ หาหนี้ สิ น จากกู้ กิ น กู้ ใ ช้ ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่นิยมทำไร่หมุนเวียน ปัญหาแหล่งน้ำอยู่ต่ำกว่า เป็นพอกินพอใช้ โดยใช้หลักการเกษตรทฤษฎีใหม่ และการปลูกพืช ไม่สามารถนำน้ำขึ้นมาใช้ได้ ทำให้ชุมชนที่นี่มีความต้องการน้ำทั้ง ผสมผสาน เพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภคมากเป็นอันดับหนึ่ง ตามมา บ้านหนองพระ หมู่ 3 และบ้านเจริญผล หมู่ 4 ต.หนองพระ ด้วยสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า โทรศัพท์ ทีดนทำกิน เมล็ดพันธุพช ่ ิ ์ ื อ.วังทอง จ.พิษณุโลก การบริหารจัดการน้ำเป็นปัญหาใหญ่ เพราะ เครื่องมือการเกษตร ตลาดสำหรับผลผลิตทางการเกษตร ที่อยู่อาศัย ยามหน้าฝน น้ำก็ทวม เมือฝนทิงช่วงก็แล้งมาก ชุมชนทีนจงต้องการน้ำ ่ ่ ้ ่ ี่ ึ สุขภาพ ปราบปรามและป้องกันไข้มาลาเรีย สิทธิพลเมืองด้วยการ เพือการเกษตรเป็นอันดับแรก รองลงมา คือ การแก้ปญหาเรืองน้ำท่วม ่ ั ่ มีบัตรประจำตัวประชาชน 6
  • 7. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงาน พื้ น ที่ นี้ จึ ง ควรน้ อ มนำแนวพระราชดำริ ปลู ก ป่ า 3 อย่ า ง ปั ญ หาของที่ นี่ อ ยู่ ที่ ก ารเกษตร ยางพารามี แ ต่ ก าฝากเกาะ ประโยชน์ 4 อย่าง โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่และคนอยู่กับป่ามาใช้ ลองกอง 5 ปีออกลูกครั้ง มะเฟืองที่มีแมลงวันทอง พืชผลทุกอย่าง และพัฒนาการจัดการน้ำอุปโภคบริโภค ด้วยการทำฝาย 2 แห่ง ที่ ไม่ได้ผลผลิตเท่าที่ควร การเลี้ยงสัตว์ก็มีต้นทุนสูงมาก แต่ปัญหาใหญ่ ห้วยสลัดได และห้วยโป่งลึก พร้อมทั้งทำระบบส่งน้ำจากฝายห้วย คือ ความเสี่ยงจากดินถล่ม เพราะการบุกรุกป่าขึ้นไปปลูกยางพารา สระหิน ห้วยสลัดไดและห้วยโป่งลึก และสร้างฝายอนุรักษ์ 205 ตัว ความต้องการของชุมชนนี้อยู่ที่การแก้ปัญหาการบุกรุกป่าอนุรักษ์ ตลอดลำห้วยสลัดได ทางทิศตะวันตกของหมู่บ้าน อนุรักษ์น้ำไม่ให้เน่าเสีย ทำฝายอนุรักษ์ รวมทั้ ง ต้ อ งจั ด การที่ อ ยู่ อ าศั ย บ้ า นเรื อ นให้ เ หมาะสม จั ด การ เพื่อชะลอน้ำและเพิ่มความชุ่มชื้นในป่า ความรู้เรื่องการเพิ่มผลผลิต ที่ทำกิน ปลูกพืชผสมผสาน ปลูกป่าเศรษฐกิจ ปราบโรคมาลาเรีย การป้องกันและปราบปรามแมลง ไฟฟ้าพลังน้ำ การกำจัดขยะอย่าง วางแผนครอบครัว เป็นระบบด้วยเตาเผาขยะ และถนนเข้าออกหมู่บ้าน ที่บ้านท่าตะเภา ต.หนองเสม็ด อ.เมือง จ.ตราด ซึ่งชุมชนมีความ แนวทางการพัฒนาที่ปิดทองฯ เสนอ คือ การปลูกพืชแก้ดินถล่ม เข้มแข็งดีมาก และมีทุนทางสังคมสูงกว่าที่อื่น ปัญหาที่มี คือ การ การปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ให้คนอยู่กับป่าอย่างยั่งยืน บริหารจัดการน้ำ ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ธาตุอาหารต่ำ ต้นทุนการผลิต รวมทั้ ง สำรวจการใช้ ที่ ดิ น ทำกิ น และชนิ ด พื ช เศรษฐกิ จ ในพื้ น ที่ ข้าวสูง และการบริหารจัดการการปลูกข้าว มีประชากรแฝงในพื้นที่ สร้างพื้นที่ตัวอย่างการพัฒนาตนเองและแผนการพัฒนาให้เกิดความ และสภาพแรงงานในพื้นที่ ยั่งยืน ที่บ้านท่าลอบ ต.โพธิ์ทะเล อ.ค่ายบางระจัน จ.สิงห์บุรี มีการ ประชุมทำความเข้าใจกับคณะทำงานปิดทองหลังพระฯ ระดับอำเภอ ตำบล หมู่บ้านและชาวบ้านแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างการทบทวนแผน พัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ บ้านกลาง ต.ปลาบ่า อ.ภูเรือ จ.เลย มีการตั้งคณะอนุกรรมการ ระดับอำเภอ/ท้องถิ่น และคณะทำงานสำรวจสภาพเศรษฐกิจและ สั ง คมแล้ ว 7 คณะ และดำเนิ น การสำรวจข้ อ มู ล มาตั้ ง แต่ เ ดื อ น สิงหาคม บ้ า นพญาพิ ภั ก ดิ์ ต.ยางฮอม อ.ขุ น ตาล และบ้ า นแม่ บ ง ต.โชคชัย อ.ดอยหลวง จ.เชียงราย มีการเตรียมมาตรการแก้ไข ปั ญ หาที่ จ ำเป็ น เร่ ง ด่ ว น (Quick hit) ที่ ต อบสนองความต้ อ งการ ของชาวบ้านทันที โดยบูรณาการแผนงานโครงการและงบประมาณ จากทุกภาคส่วน และจังหวัดมีการแต่งตั้งคณะทำงานระดับอำเภอ ทั้ง 2 แห่งแล้ว ส่วนทีบานห้วยเกรียบ และบ้านโป่งโก ต.ทองมงคล อ.บางสะพาน ่ ้ จ.ประจวบคีรีขันธ์ มีการลงพื้นที่ อธิบายทำความเข้าใจแบบสำรวจ แนวทางการพั ฒ นาจึ ง ต้ อ งแก้ ไ ขปั ญ หาดิ น เปรี้ ย ว วางแผน รายข้อ และปรับแก้ให้สอดคล้องกับภูมิสังคมของทั้งสองหมู่บ้านแล้ว พัฒนาระบบน้ำการเกษตร ทำการเกษตรผสมผสานตามแนวเกษตร และนายอำเภอบางสะพานมีการประสานกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ทฤษฎีใหม่ บริหารจัดการระบบน้ำเข้า ระบายออกร่วมกัน พัฒนาวิธี เพชรบุรี นำนักศึกษาลงพื้นที่สำรวจข้อมูล ร่วมกับคณะกรรมการฯ การผลิตข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่ สนับสนุนการอนุรักษ์ป่าชายเลน ระดับอำเภอ และชาวบ้าน สนับสนุนองค์ความรู้เพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้อื่น ๆ ทั้ง ในพื้นที่จังหวัดน่าน ที่บ้านโป่งคำ ต.ดู่พงษ์ อ.สันติสุข และบ้าน ด้านการเกษตรและการแปรรูปผลผลิต ห้วยคำ ต.ฝายแก้ว อ.ภูเพียง บ้านห้วยปุก ต.สะเนียน อ.เมือง และ ที่บ้านดอน หมู่ 7 ปิยะมิตร 3 ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง จ.ยะลา บ้านสะเกิน ต.ยอด อ.สองแคว ได้จัดทำแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ ชุ ม ชนที่ ส ามารถบริ ห ารจัดการน้ำทุกหยดได้อย่างมีประสิ ท ธิ ภ าพ ตามแนวพระราชดำริแล้วเสร็จทั้ง 4 หมู่บ้าน โดยมีคณะทำงานระดับ ด้วยการบริหารแบบ “เรนวอเตอร์ฮาร์เวสต์” คือ การเก็บน้ำฝนเพื่อนำ อำเภอที่จังหวัดแต่งตั้ง เป็นหลักในการทำงาน มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด น้ำจากฝายนำมาทำประปาภูเขา ปลูก เมื่อกระบวนการเข้าใจ และเข้าถึง ดำเนินการสำเร็จแล้ว อีกไม่ ผักน้ำเลี้ยงปลา จากนั้นต่อน้ำจากแปลงผักและบ่อเลี้ยงปลาลงมาใน นานจากนี้ไป กระบวนการ “พัฒนา” ในพื้นที่ขยายผล 18 หมู่บ้าน พื้นที่เกษตรต้นในพื้นที่ด้านล่าง น้ำจากลำธารเก็บเข้าสระน้ำและ 10 จั ง หวั ด ก็ จ ะเดิ น หน้ า เต็ ม ตั ว เพื่ อ สร้ า งประโยชน์ สุ ข ให้ กั บ เป็นแหล่งน้ำของศูนย์เรียนรู้ น้ำเสียเข้าบ่อเปิดกรองด้วยหญ้าแฝก ประชาชนในพืนที่ ดังพระราชปณิธานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ้ ่ ั ก่อนไหลลงลำธาร ผู้ทรงเป็น “ธงชัย” ในการทำงานของปิดทองหลังพระฯ 7
  • 8. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ บทความ ประชากร 220 ครัวเรือน มากกว่าพันคน ที่อาศัยอยู่ในบ้าน โป่ ง ลึ ก และบ้ า นบางกลอย ใน ต.ห้ ว ยแม่ เ พรี ย ง อ.แก่ ง กระจาน จ.เพชรบุรี ต้องดำรงชีพอยู่อย่างยากลำบาก ในแต่ละวันพวกเขาต้อง ใช้ชีวิตอย่างอดอยากขาดแคลน แม้จะมีแม่น้ำเพชรอันอุดมสมบูรณ์ เป็นสายเลือดหลักหล่อเลี้ยง ผืนดิน แต่ทั้งสองหมู่บ้านก็อยู่สูงเกินกว่าจะนำน้ำจากแม่น้ำเพชร ขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ พื้นที่ราบที่จะใช้เพาะปลูกได้ ก็มีน้อยเสียยิ่ง กว่าน้อย แม้แต่ยามที่ฝนดี ก็ได้ข้าวเพียง 25 ถังต่อไร่ ไม่พอเพียง ต่อการบริโภค ยิ่งไม่ต้องพูดถึงยามฝนแล้งเลย พัฒนาด้วยสามัคคี สู่ความยั่งยืนของแก่งกระจาน ประชากรเกือบทั้งหมดมีเชื้อสายกะเหรี่ยง ซึ่งร้อยละ 20 ของ ประชากรยังตกสำรวจ เพราะความห่างไกลทุรกันดารเสียจนกระทั่ง หมดสิทธิในการเป็นคนไทย เมื่อหน่วยงานของรัฐเข้ามาไม่ถึง ในทาง ตรงข้าม เมื่อยามเจ็บป่วย ชาวบ้านต้องเดินเท้าถึงสองวันเต็ม เพื่อเข้า มาหาหมอในเมือง โรคติดต่อที่คุกคามชาวบ้านอยู่ประจำ คือ มาลาเรีย ซึ่งเกิดจาก ชนกลุ่มน้อยที่อพยพหลบหนีการกวาดล้างของประเทศเพื่อนบ้านนำ เข้ามา พร้อมกับปัญหาการลักเล็กขโมยน้อย สถานะทางเศรษฐกิจของทั้งสองหมู่บ้าน ยากจนแทบไม่ต่างกัน ขณะที่บ้านโป่งลึก มีรายได้ปีละ 4,744,000 บาท หรือ 52,000 บาท/ ครอบครัว มีรายจ่าย 3,240,000 บาท หรือ 35,000 บาท/ครอบครัว มี เ งิ น ออมเพี ย ง 601,000 บาท หรื อ 610 บาท/ครอบครั ว บ้ า น บ้านบางกลอยและบ้านโป่งลึก เป็นหนึ่งในพื้นที่ขยายผลปิดทองหลังพระฯ ที่ในอีกไม่ช้าไม่นาน นี้ จะสามารถลืมตาอ้าปาก พึ่งพาตนเองได้อย่างแน่นอน ด้วยกำลังใจอันแรงกล้าและความมุ่งมั่นของพวกเขา นอกจากบ้านบางกลอยและบ้านโป่งลึกแล้ว พื้นที่บริเวณอ่างเก็บน้ำพุสวรรค์ ต.พุสวรรค์ ยังจะเป็นอีก หนึ่ ง พื้ น ที่ ใ น อ.แก่ ง กระจาน ที่ จ ะได้ รั บ การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ตามแนวทางของปิ ด ทองหลั ง พระฯ โดย สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จะเป็นหน่วยงานดูแลรับผิดชอบ นายพิพัฒพงศ์ อิศรเสนา ณ อยุธยา ผู้แทนพิเศษสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กล่าวว่า พื้นที่พุสวรรค์จะได้รับการพัฒนาให้เป็นชุมชมนำร่อง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว ในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา ปี 2554 และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา ในปี 2555 พิพัฒพงศ์ อิศรเสนา ณ อยุธยา 8
  • 9. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ บทความ มีรายได้วันละ 180 บาท รับจ้างปักผ้าได้วันละ 70 บาท แต่ก็ไม่ได้ทำ ทุกวัน รายได้พออยู่ได้ แต่ก็มีหนี้สิน เป็นหนี้ร้านค้ากับกองทุนหมู่บ้าน อยู่ราว 6,000 บาท และมีความหวังอยู่ว่า หากปิดทองฯ เข้ามาช่วย ให้มีน้ำใช้ในการทำเกษตร จะได้ผลผลิตดีขึ้น ใช้หนี้ใช้สินได้ ขณะที่น ายเบี ย ร์ พริ บ พรี พ ร อายุ 49 ปี มีหลายอาชีพ ทั้ง รับจ้างก่อสร้าง ทำนา ทำไร่พริก บอกว่า เคยมีหลายหน่วยงานเข้ามา แจกเมล็ดพันธุ์การเกษตร แต่ชาวบ้านก็ไม่รู้เรื่องว่าจะทำอย่างไรให้ ได้ผลผลิตที่ดี เพราะที่ผ่านมาก็เพาะปลูก เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่กันตามมี ลอย จีโบ้ง ดี ปลาดุก เบียร์ พริบพรีพร ตามเกิด เวลามีไก่ในหมู่บ้านตายไปทีละหลายสิบตัว ก็ไม่มีใครรู้ บางกลอยก็ มี ร ายได้ ทั้ ง ปี 4,787,000 บาท หรื อ 37,000 บาท/ สาเหตุ จึงอยากให้ปิดทองฯ เข้ามาให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรให้ได้ ครอบครัว รายจ่าย 3,970,000 บาท หรือ 30,000 บาท/ครอบครัว ผลผลิตที่ดีขึ้น และอยากให้ช่วยเรื่องถนนหนทาง เส้นทางคมนาคม มีเงินออม 12,200 บาท หรือ 130 บาท/ครอบครัว รายได้ส่วนใหญ่ ด้วย จะได้ทำมาค้าขาย เดินทางไปไหนมาไหนได้สะดวกขึ้น เพราะ มาจากการรับจ้างถึงร้อยละ 76 ส่วนรายได้จากการเกษตรในพื้นที่ ทุกวันนี้ หากจะไปแก่งกระจาน ขี่มอเตอร์ไซค์ไปทีก็ต้องใช้เวลาถึง มีเพียงร้อยละ 7 เท่านั้น รายได้ส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 48 จะถูกใช้จ่าย สองชั่วโมงครึ่ง เป็นค่าข้าวและอาหาร นายเคริ ก นาวะ อายุ 57 ปี บอกว่ า “เมื่ อ ก่ อ นฝนตกตาม แต่ทุกข์ที่สุดของพวกเขา คือ ภาวะหนี้สิน ที่มองไม่เห็นโอกาส ฤดูกาล ก็พอจะเพาะปลูกได้ แต่ทุกวันนี้ ฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาล เลยว่าจะชดใช้คืนให้หมดสิ้นได้อย่างไร เมื่อไม่มีน้ำ ชาวบ้านที่นี่ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวไร่ก็ไม่มีรายได้ น้ำกิน นายลอย จีโบ้ง ผู้ใหญ่บ้านบ้านโป่งลึก บอกว่า ชาวบ้านทุก น้ำใช้จึงเป็นเรื่องใหญ่ ถ้าปิดทองฯ ทำให้ชาวบ้านมีน้ำเพาะปลูกได้ คนเป็นหนี้นายทุนและหนี้กองทุนหมู่บ้าน หรือกองทุนเงินล้านของรัฐ ตลอดปี ก็เท่ากับช่วยแก้ปัญหาหลักของที่นี่ได้ ไม่เอาก็ไม่ได้ เมื่อรัฐให้มาแล้ว ชาวบ้านก็ไม่รู้ว่าจะลงทุนทำมาหากิน นอกจากน้ำเพื่อการเกษตรแล้ว ชาวบ้านส่วนหนึ่งที่ไม่มีที่ทำกิน อะไร จะเพาะปลูกก็ไม่มีน้ำ ขณะที่รายจ่ายของแต่ละครอบครัวอยู่ที่ ของตนเอง ก็อยากได้ที่ทำกินเพื่อที่จะได้ไม่ต้องไปทำงานรับจ้าง เช่น เดือนละกว่า 5,000 บาท แต่ไม่มีใครมีรายรับที่แน่นอน ไม่มีปัญญา นางสาวดี ปลาดุก อายุ 35 ปี “ถ้ามีที่ ก็อยากปลูกข้าว ปลูกกล้วย จะหาเงินจากที่ไหนมาคืนได้ ทุกวันนี้ลำบาก ปลูกอะไรเองไม่ได้ ต้องซื้อ บางวันไม่ได้ทำงานก็ไม่มี “ได้ไปดูงานปิดทองฯ ที่จังหวัดน่านมาแล้ว และกลับมาเล่าให้ รายได้ ถ้ามีที่ทำกิน ก็ไม่ต้องออกไปรับจ้างในตัวเมือง” ลูกบ้านฟังว่า ถ้าได้ปิดทองฯ เข้ามาช่วย ก็จะทำให้มีความเป็นอยู่ แม้แต่เจ้าหนี้อย่าง ลุ ง พื้ น สุ ก ใส เจ้าของร้านชำในหมู่บ้าน ที่ ดี ขึ้ น เหมื อ นคนที่ น่ า น แต่ ปิ ด ทองฯ ไม่ ไ ด้ เ ข้ า มาจ้ า งให้ พ วกเรา วัย 57 ปี ก็ยังบอกว่า “ชาวบ้านที่นี่มีปัญหาหนี้สินมากแทบทุกหลังคา ทำงานนะ พวกเราต้ อ งทำกั น เอง ซึ่ ง ชาวบ้ า นก็ ช อบใจ อยากให้ เรื อ น ก็ ต้ อ งมาซื้ อ ของเงิ น เชื่ อ ค้ า งเงิ น กั น เป็ น ปี เก็ บ ได้ บ้ า ง ปิดทองฯ เข้ามา” ไม่ได้บ้าง ติดหนี้ตั้งแต่ 3,000 บาท จนถึง 10,000 บาท ถ้าชาวบ้าน นางแสงสุนย์ นาวะ แม่ลกสาม วัย 27 ปี ก็บอกว่า อาชีพทำไร่พริก ี ู มีรายได้เพียงพอ ก็คงไม่ต้องเป็นหนี้ ชีวิตความเป็นอยู่จะดีขึ้นกว่า ไร่มะนาว ได้ผลผลิตไม่ดี เพราะไม่มีน้ำ ทุกวันนี้ต้องรับจ้างก่อสร้าง ทุกวันนี้” อ่างเก็บน้ำพุสวรรค์ เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี 2528 มีความจุ เก็บกักน้ำ 871,000 ลูกบาศก์เมตร ในปัจจุบันมีสภาพตื้นเขิน เน่าเหม็น จนไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ เป้าหมายของการพัฒนาจึงทำเพื่อกระตุ้นให้ชาวบ้านลุกขึ้นมาพัฒนาอ่างเก็บน้ำพุสวรรค์ร่วมกัน ให้สามารถ เก็บกักน้ำได้เต็มประสิทธิภาพ เพียงพอสำหรับการเพาะปลูกในฤดูแล้ง จากนั้นจะดำเนินการเพิ่มผลผลิต การเกษตรหลักในพื้นที่ คือ สับปะรด กล้วย มะนาว และถั่วฝักยาว แก้ไขปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ราคา ผลผลิตตกต่ำ และปัญหาสารเคมีตกค้างในน้ำ ดิน ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกร รวมทั้งแก้ปัญหา การบุกรุกพื้นที่อุทยานแห่งชาติ นายชูศิริ ไคยนันท์ หัวหน้าฝ่ายอสังหาริมทรัพย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กล่าว ว่า “โครงการนี้จะใช้เวลา 2 ปี พัฒนาให้ประชาชนกินดีอยู่ดี เพิ่มรายได้ ลดภาระหนี้สิน ลดการซื้ออาหาร ชูศิริ ไคยนันท์ จากภายนอก และลดการใช้สารเคมี โดย 3 เดือนแรกนี้ จะเป็นกระบวนการให้เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่เก็บข้อมูล พื้นฐาน เพื่อ “เข้าถึง” ชาวบ้าน ก่อนวางแผนพัฒนาร่วมกับชาวบ้านต่อไป” 9