SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
LOGO

1
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการจัดการทรัพยากรน้้า
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการจัดการทรัพยากรที่ดิน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการจัดการทรัพยากรประมง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

2
ปัญหาเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาที่มีความสาคัญที่มักจะ
เกิดควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและความเจริญก้าวหน้า ซึ่งเป็นปัญหาร่วมกันของทุก
ประเทศ กล่าวคือ การพัฒนายิ่งรุดหน้าปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและภาวะมลพิษก็ยิ่งก่อ
ตัวและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่งที่กาลังประสบกับปัญหา
ดังกล่าวอยู่ในขณะนี้ ทั้งนี้เพราะการพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมาได้ให้ความสาคัญกับ
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยการนาเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ แต่
ไม่ได้มีการวางแผนการจัดการที่เหมาะสมรองรับปัญหาที่จะเกิดขึ้น

3
ท า ให้ ทรั พยากร ธร รม ชา ติ แ ละสิ่ ง แ วด ล้ อ มที่ เหลื อ อ ยู่ มี สภ า พ
เสื่อมโทรมลง และปัญหาต่างๆ ด้านสิ่งแวดล้อมก็เพิ่มขึ้น ปัญหาเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อ
ความเป็ น อยู่ ข องประชาชนและระบบนิ เ วศ จึ ง ทรงให้ มี ก ารด าเนิ น โครงการอั น
เนื่องมาจากพระราชดาริ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นวิธีการที่จะทานุบารุงและปรับปรุงสภาพ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ดีขึ้นในด้านต่าง ๆ โดยในด้านการแก้ไขปัญหา
ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มนั้ น ทรงเน้ น งานการอนุ รั ก ษ์ แ ละฟื้ น ฟู ส ภาพ
สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของปัญหาน้าเน่าเสีย

4
พระราชดาริ พระราชกรณียกิจ และโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สาคัญได้แก่
หลักการ น้าดีไล่น้าเสีย หลักการบัดบัดน้าเสียด้วยผักตบชวา ทฤษฎี
การบาบัดน้าเสียด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ากับระบบการเติม
อากาศ ทฤษฎีการบาบัดน้าเสียด้วยระบบบ่อบาบัดและวัชพืชบาบัด และ
"กังหันน้าชัยพัฒนา" ซึ่งมีสาระโดยสรุปดังนี้คือ

5
ได้ทรงนาหลักการบาบัดน้าเสียโดยการทาให้เจือจาง
ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ "น้าดีไล่น้า
เสีย" โดยใช้หลักการตามธรรมชาติแห่งแรงโน้มถ่วงของโลก เป็น
การใช้น้าคุณภาพดีมาช่วยบรรเทาน้าเน่าเสีย ดังพระราชดารัส
เกี่ยวกับการใช้พื้นที่ในอาเภอธัญบุรี เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๕๓๒
"…แต่ ๓,๐๐๐ ไร่นั่นมันอยู่สูง จะนาน้าโสโครกจากที่นี่ไปที่
โน้นต้องสูบไปไม่ไหว แต่ว่าจะทาเป็นบึงใหญ่ที่จะเก็บน้าได้
สาหรับเวลาหน้าน้ามีน้าเก็บเอาไว้ หน้าแล้ง
ก็ปล่อยลงมา ส่วนหนึ่งอาจปล่อยลงมาสาหรับล้างกรุงเทพ ได้
เจือจางน้าโสโครกในคลองต่างๆ…"

6
อีกทั้งได้พระราชทานแนวพระราชดาริโดยรับน้าจากแม่น้าเจ้าพระยา ส่งเข้าไปตามคลอง
ต่างๆ เช่น คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ และคลองบางลาภู เป็นต้น โดย
กระแสน้าจะไหลแผ่กระจายขยายไปตามคลองซอยที่เชื่อมกับแม่น้าเจ้าพระยาอีกด้านหนึ่ง ดังนั้นเมื่อทา
การปล่อยน้าให้ไหลเวียนจากปากคลองไปปลายคลองได้อย่างเหมาะสม ก็ย่อมจะช่วยเจือจางน้าเน่าเสีย
ได้มากโดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง
7
ผัก ตบชวา พระบาทสมเด็จ พระ
เจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยใน
การปรับปรุงคุณภาพของแหล่งน้า
ที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว เช่ น บึ ง และหนอง
ต่างๆ เพื่อทาเป็นแหล่งบาบัดน้า
เสีย โดยหนึ่งในจานวนนั้นได้แก่
โ ค ร ง ก า ร บึ ง มั ก ก ะ สั น
อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ มี
ห ลั ก ก า ร บ า บั ด น้ า เ สี ย
ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาโดยการ
กรองน้าเสียด้วยผักตบชวา

8
บึงมักกะสัน เป็นบึงขนาดใหญ่ที่อยู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร รวมพื้นที่บึงประมาณ 92 ไร่ เป็นแหล่ง
น้าอยู่ในเขตโรงงานรถไฟมักกะสันของการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ขุดขึ้น ในปี
พ.ศ. 2474 เพื่อใช้เป็นแหล่งระบายน้าและรองรับน้าเสีย รวมทั้งน้ามันเครื่องจากโรงงานรถไฟมักกะสัน ทาให้บึง
มักกะสันตื้นเขิน จากการตกตะกอนของสารแขวนลอย กอปรกับรอบบึงมักกะสันมีชุมชนแออัด 3 ชุมชน รวม
7 2 9
ค รั ว เ รื อ น
ซึ่ ง ส่ ว น ใ ห ญ่
ต่ า งก็ ถ่ า ยสิ่ ง ปฏิ กู ล และขยะมู ล ฝอยลงสู่ บึ ง มั ก กะสั น จนเกิ ด ปั ญ หาภาวะสิ่ ง แวดล้ อ มเสื่ อ มโทรมและ
น้าเน่าเสียกลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค
9
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ทรงตระหนักถึงภาวะมลพิษนี้ จึงได้พระราชทานพระราชดาริ
เมื่อวันที่ 15 เมษายน และวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2528
ให้หน่วยงานต่าง ๆ ร่วมกันปรับปรุงบึงมักกะสันเพื่อใช้เป็น
สถานที่กักเก็บน้า ช่วยในการระบายน้าในหน้าฝนและบรรเทา
สภาพน้าเสียในคลองสามเสน โดยพระราชทานคาแนะนา
ใ ห้ ใ ช้ ผั ก ต บ ช ว า ก ร อ ง น้ า เ สี ย เ พ ร า ะ ผั ก ต บ ช ว า
มีคุณสมบัติทาหน้าที่เป็นตัวกรอง ซึ่งเรียกว่า เครื่องกรองน้า
ธรรมชาติ คือใช้ผักตบชวา ซึ่งเป็นวัชพืชที่มีอยู่มาก มาทา
หน้าที่ดูดซับความโสโครก และสารพิษจากแหล่งน้าเน่าเสีย
และในเวลาเดียวกัน ก็ต้องหมั่นนาผักตบชวาออกจากบึงทุกๆ
10 สัปดาห์ เพื่อไม่ให้ผักตบชวามีการเจริญพันธุ์จนบดบัง
แสงแดดที่จะส่องลงไปในบึง

10
แต่หลังจากที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทย มีการก่อสร้างทางด่วนมหานครขั้น 2 ระยะที่ 1 โดยมีแนวผ่านบึงมักกะสันและ
มีตอม่อโครงสร้างอยู่กลางบึง ทาให้น้าในบึงไม่ถูกแสงแดด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดาริให้ใช้ เครื่องพ่น
อากาศเข้าช่วย เมื่อมูลนิธิชัยพัฒนาและกรุงเทพมหานครรับสนองพระราชดาริ ทาให้บึงมักกะสัน สามารถฟอกน้าในคลองสามเสนให้สะอาด
ขึ้น วันละ 260,000 ลูกบาศก์เมตร ด้วยการใช้เครื่องเติมอากาศแบบทุ่นลอยผสมกับการใช้ผักตบชวา สามารถบาบัดน้าเสียได้เพิ่มจากเดิม
10 เท่า โดยมูลนิธิชัยพัฒนาเป็นผู้จัดหา และติดตั้งเครื่องเติมอากาศ ขนาด 11 KW จานวน 10 เครื่อง และกรุงเทพมหานครเป็น
ผู้ดาเนินการขุดลอกบึง พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องสูบน้าและปลูกผักตบชวา สาหรับน้าที่ใสสะอาดขึ้นนี้ให้ระบายออกสู่คลองธรรมชาติตามเดิ ม
แล้วรับน้าเสียจานวนใหม่มาดาเนินการผ่านกรรมวิธีเป็นวงจรเช่นนี้ตลอดไปในอนาคต

11
เมื่อการกาจัดน้าเน่าเสียด้วยผักตบชวาในบึงมักกะสัน
แห่งนี้ได้ผลดี ก็จะได้นาไปใช้เป็นแบบอย่างในการแก้ไขปัญหาน้าเน่า
เสียที่แหล่งน้า หรือลาคลองอื่นต่อไป ซึ่งในขณะนี้กรุงเทพมหานคร
และการรถไฟแห่งประเทศไทย ร่วมเป็นหน่วยงานหลักในการใช้
ประโยชน์ และดูแลรักษาบึงแห่งนี้ให้คงมีสภาพที่ดีสืบไป
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปรียบเทียบว่า "บึงมักกะสัน" เป็น
เสมือนดั่ง
"ไตธรรมชาติ" ของกรุงเทพมหานคร ที่เป็นแหล่งเก็บกักและระบายน้า
ในฤดูฝน สาหรับผักตบชวาและพืชน้าอื่นๆ ก็จะกลายเป็นผลพลอยได้
ที่นามาทาเป็นปุ๋ย เชื้อเพลิง และสิ่งของเครื่องใช้ที่สานจากผักตบชวา
อีกทั้งยังมีพืชน้าบางชนิดที่นามาเป็นอาหารได้ เช่น ผักบุ้ง รวมถึง
สามารถเลี้ยงปลาในบึงเพื่อให้เป็นอาหารของประชาชนที่พักอาศัยอยู่
โดยรอบได้อีกทางหนึ่งด้วย

12
ด้วยทรงห่วงใยในปัญหาน้าเน่าเสียที่เกิดขึ้นในหนองหนองหาน จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นแหล่งรับน้าเสีย
จากครัวเรือนในเขตเทศบาลเมืองสกลนคร ที่มีสภาพเกินขีดความสามารถในการรองรับของเสีย พระบาสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานแนวพระราชดาริ ทฤษฎีการบาบัดน้าเสีย
ด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ากับระบบการเติมอากาศ ณ บริเวณหนองสนม-หนองหาน จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็น
การผสมผสานระหว่างวิธีธรรมชาติกับเทคโนโลยีแบบประหยัด โดยมีกรมประมงร่วมกับกรมชลประทานดาเนิน
การศึกษาและก่อสร้างระบบบาบัดน้าเสียในบริเวณดังกล่าว โดยมีระบบบาบัดด้วยพืชน้าซึ่งเป็นวิธีการบาบัดน้าเสียด้วย
วิธีธรรมชาติในพื้นที่ ๘๔.๕ ไร่ และได้มีการก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗

13
ระบบผสมผสานระหว่ า งพื ช น้ ากั บ การเติ ม อากาศ
(Consternated Wetland and Air Transfer for
Waste Water Treatment )

เ ป็ น ร ะ บ บ บ า บั ด น้ า เ สี ย อี ก ร ะ บ บ ห นึ่ ง
ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดาริ
ให้เร่งดาเนินการแก้ไขเรื่องปัญหาน้าเน่าเสียที่ปล่อยลงหนอง
หานและหนองสนม อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

14
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวฯ ได้พระราชทานพระราชดาริโดยให้ทาโครงการบาบัดน้าเสียโดย
่ั
วิธีธรรมชาติผสมผสานกับเทคโนโลยีแบบประหยัดประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. บ่อดักสารแขวนลอย การเร่งการตกตะกอนและการลดสารพิษ โดยใช้ กังหันน้าชัยพัฒนา เติมก๊าซออกซิเจนเข้าไปใน
น้าเสี ย ในขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ย
ของส่วนแรก เพื่อเร่งการย่อยสลายสารอินทรีย์
ที่ละลายอยู่ใน น้านั้นให้กลายเป็นตะกอนจุลินทรีย์
(sludge) ที่ตกตะกอนได้รวดเร็ว แล้วปล่อยน้าเสีย
ที่ตกตะกอนดังกล่าวแล้วนั้นเข้าสู่บ่อผักตบชวา
เพื่อให้ผักตบชวาดูดซับสารพิษต่าง ๆ ที่เหลืออยู่ไว้
ต่อจากนั้น จึงส่งน้าเสียนั้นกลับเข้าสู่บ่อตกตะกอน
อีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้ได้น้าที่ใสสะอาดยิ่งขึ้น

15
2. บ่อปลูกต้นกกอียิปต์ การบาบัดน้าเสีย
ด้วยกกอียิปต์ โดยการปล่อยน้าเสียเข้าไปบนลาน
ก้อนกรวดเสียก่อน เพื่อให้ก้อนกรวดทาหน้าที่
TEXT
TEXT
กรองสารแขวนลอยออกจากน้าเสีย พร้อมกับ
ช่วยเติมก๊าซ ออกซิเจน ซึ่งจะช่วยให้เกิดจุลินทรียเ์ กาะตาม
ก้อนกรวดมากขึ้น อันจะนาไปสู่การย่อยสลายสารอินทรีย์ที่
มีอยู่ในน้าเสียได้มากขึ้น แล้วจึงปล่อยน้าเสียผ่านตะแกรง
ดักเศษขยะที่ติดตั้งไว้ทางด้านท้ายของลานนั้นออกไปยังบ่อ
ที่ปลูก
กกอียิปต์ไว้ เพื่อกาจัดสารอินทรีย์ ในน้าเสีย
อีกต่อหนึ่ง จากนั้นจึงปล่อยให้ไหลเข้าสู่บ่อตกตะกอนตาม
ธรรมชาติ

TEXT

TET

16
3. บ่อกังหันน้าชัยพัฒนาและแผงท่อเติมอากาศ
การปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดียิ่งขึ้นโดยใช้กังหันน้าชัยพัฒนาเติมอากาศเข้าไปเป็นขั้นสุดท้าย
พร้อมกับปลูก ผักตบชวากั้นเป็นคอกเรียงสลับกันเป็นแถว ๆ ไว้เพื่อดูดซับสารพิษอีกครังหนึ่ง
้
และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าด้วย

17
โครงการวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบล
แหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึง
ปัญหาภาวะมลพิษที่มีผลต่อการดารงชีพของประชาชน อันเนื่องมาจากชุมชนเมืองต่างๆ ยังขาด
ระบบบาบัดน้าเสียและการกาจัดขยะมูลฝอยที่ดีและมีประสิทธิภาพ จึงทรงให้มีการดาเนินการ
ตามโครงการดังกล่าวขึ้นในพื้นที่ ๑,๑๓๕ ไร่ โดยเป็นโครงการศึกษาวิจัยวิธีการบาบัดน้าเสีย
กาจัดขยะมูลฝอยและการรักษาสภาพป่าชายเลนด้วยวิธีธรรมชาติ

18
การบาบัดน้าเสียด้วยระบบบ่อบาบัดและวัชพืชบาบัดที่แหลมผักเบี้ย
(Lagoon Treatment and Grass Filtration)

โครงการวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อม แหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เป็นโครงการ
ศึกษาวิจัยวิธีการบาบัดน้าเสีย กาจัดขยะมูล ฝอยและการรักษาสภาพป่ าชายเลนด้วยวิธีธรรมชาติ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการนี้ประกอบด้วย มูลนิธิชัยพัฒนา สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ
ประสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (สานักงาน กปร) กรมชลประทาน กรมป่าไม้ กรมประมง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันราชภัฏเพชรบุรี และเทศบาลเมืองเพชรบุรี
ร่วมกันดาเนินงาน

พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงองค์ มี ค วามคิ ด ในการก าจั ด สิ่ ง ที่ เ ป็ น พิ ษ พวกโลหะหนั ก
ออกจากน้าและนาน้าเสียที่บาบัดแล้วมาใช้ในทางเกษตรน้าที่เหลือก็ปล่อยลงทะเล ดังพระราชดารัสว่า “….ทางใต้ของ
ประเทศออสเตรเลียมีโครงการนาน้าเสียไปใส่คลองแล้วระบายไปตามท่อลงบ่อใหญ่ที่อยู่ใกล้ทะเล ซึ่งมีพื้นที่หลายร้อยไร่
แล้วบาบัดน้าเสียให้หายสกปรกแล้วจึงปล่อยลงสู่ทะเล…."
19
จากนั้นจึงส่งเจ้าหน้าที่ของสานักงาน กปร และกรมชลประทาน เดินทางไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับการบาบัดน้าเสียและการกาจัด
ขยะมูลฝอยที่ประเทศออสเตรเลีย โดยศึกษารูปแบบและวิธีการมาปรับปรุงใช้ให้เหมาะสมกับประเทศไทยต่อไป

20
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี พ ระบรมราชวิ นิ จ ฉั ย
เห็นด้วยกับคณะทางานที่จะบาบัดน้าเสียที่ตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม
จั ง ห วั ด เ พ ช ร บุ รี โ ด ย ก า ร ส ร้ า ง ท่ อ ร ะ บ า ย น้ า ร ว บ ร ว ม น้ า เ สี ย
มารวมที่ค ลองยาว ที่จุดนี้ ทาหน้ าที่เป็น บ่ อดักขยะ แยกถุง พลาสติ ก เศษผ้ า
ใบตอง เศษไม้ และตกตะกอนสารแขวนลอยขนาดใหญ่ เพื่อลดความสกปรกและ
ลดการทางานของเครื่องปั้มน้าเสีย แล้วสูบน้าเสียจากคลองยาวมาบาบัดที่แหลม
ผักเบี้ย โดยใช้ระบบบาบัดน้าเสียที่หนองหานและหนองสนม จังหวัดสกลนคร

21
กรณีตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีปัญหาด้านน้าเสีย ขยะมูลฝอย และการรักษาสภาพป่าชายเลน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดาริ เพื่อแก้ไขด้วยวิธีธรรมชาติ ดังปรากฏในบางตอนของพระราชดารัสว่า "….โครงการที่จะ
ทานี้ไม่ยากนัก คือว่าก็มาเอาสิ่งเป็นพิษออก พวกโลหะหนักต่าง ๆ เอาออก ซึ่งมีวิธีทา ต่อจากนั้นก็มาฟอกใส่อากาศ บางทีก็อาจไม่ต้องใ ส่อากาศ
แล้วก็มาเฉลี่ยใส่ในบึงหรือเอาน้าไปใส่ในทุ่งหญ้า แล้วก็เปลี่ยนสภาพของทุ่งหญ้าเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ส่วนหนึ่งเป็นที่สาหรับปลูกพืช ปลูกต้นไม้…."
และ "….แล้วก็ต้องทาการเรียกว่า การกรองน้าทาให้น้านั้นไม่ให้โสโครก แล้วก็ปล่อยลงมาที่เป็นที่ทาการเพาะปลูก หรือทุ่งหญ้า หลังจากนั้น น้าที่
เหลือก็ลงทะเล โดยที่ไม่ทาให้น้านั้นเสีย…."

22
LOGO

ระบบบาบัดน้าเสียแหลมผักเบีย แบ่งออกเป็นระบบบาบัดหลักและระบบบาบัดรอง
้
ระบบบาบัดหลัก
น้าเสียที่ส่งมาตามท่อจะไหลเข้าสู่บ่อ ตกตะกอน (sedimentation pond) ของระบบบาบัดหลักเป็นลาดับแรก
ต่อจากนั้นจึงผ่านเข้าไปยังบ่อบาบัด (oxidation pond) ที่ 1-3 ตามลาดับ แล้วไหลล้นเข้าสู่บ่อปรับคุณภาพ
(polishing pond) ในลาดับสุดท้ายของระบบบาบัดหลัก ก่อนที่จะระบายลงสู่
ป่าชายเลนต่อไป

23
ระบบบาบัดรอง
ดาเนินการพร้อมกันกับระบบบาบัดหลัก ประกอบด้วยระบบย่อย 3 ระบบ ได้แก่ ระบบบึงชีวภาพ (constructed
wetland) ระบบกรองน้าเสียด้วยหญ้า (grass filtration) และระบบกรองน้าเสียด้วย
ป่าชายเลน (white and red mangrove filtration)
1 . ร ะ บ บ บึ ง ชี ว ภ า พ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น บ่ อ ดิ น ตื้ น ๆ
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 25 เมตร ยาว 300 เมตร จานวน 4
บ่อ สาหรับขังน้าเสียและปลูกพืชที่มีรากพุ่ม เช่น กกพันธุ์ต่าง ๆ
และอ้อ เป็นต้น เพื่อดูดซับสารพิษและสารอินทรีย์ออกจากน้า
เสียในขณะที่ น้านั้นไหลล้นผ่านพืชไปยังท้ายบึงอย่างต่อเนื่อง
พร้อมกันนั้น จุลินทรีย์ก็จะย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้าเสียไปด้วย
น้าที่ไหลล้นออกไป จากบึงจึงเป็นน้าดีที่ใช้ประโยชน์ได้

24
2. ระบบกรองน้าเสียด้วยหญ้า ประกอบด้วยแปลงหญ้าที่มีขนาด
และลักษณะเหมือนกันกับบึงชีวภาพ จานวน 4 แปลง เพื่อทา
หน้าที่กรองน้าเสียที่ไหลล้นเข้าไปเป็นระยะ ๆ (bat flow) หญ้า
ที่ปลูกได้แก่ หญ้าเนเปีย หญ้าแฝก หญ้านวลน้อย และหญ้าขน
แกะ
3. ระบบกรองน้ าเสี ย ด้ ว ยป่ า ชายเลน ประกอบด้ ว ย
ป่ า ชายเลนประเภทโกงกางคละเคล้ า และผสมผสาน
กันกับแสมขาวในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ เพื่อทาหน้าที่กรองน้า
เสียที่ไหลล้นเข้าไป น้าที่ไหลล้นผ่านป่าชายเลนออกไปจึงได้รับ
การบาบัดจนกลายเป็นน้าดีที่ใช้ประโยชน์ได้

25
ในปัจจุบัน สภาพมลภาวะทางน้ามีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น
จึงจาเป็นต้องใช้เครื่องกลเติมอากาศเพิ่มออกซิเจนเพื่อการบาบัดน้าเสียพระบาทสมเด็จ
พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงสนพระราชหฤทั ย เกี่ ย วกั บ อุ ป กรณ์ ก ารเติ ม อากาศ และทรงค้ น คิ ด ทฤษฎี บ าบั ด น้ าเสี ย
ด้วยวิธีการเติมอากาศ โดยใช้วิธีทาให้อากาศสามารถละลายลงไปในน้าเพื่อเร่งการเจริญเติบโตและการเพาะตัวอย่างรวดเร็ว
ของแบคทีเรียจนมีจานวนมากพอที่จะทาลายสิ่งสกปรกในน้าให้หมดสิ้นไปโดยเร็ว ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ "กังหันน้าชัยพัฒนา" ซึ่งเป็นรูปแบบสิ่งประดิษฐ์ที่เรียบง่าย ประหยัด เพื่อใช้ในการบาบัดน้าเสียที่เกิดจากแหล่ง
ชุ ม ช น แ ล ะ แ ห ล่ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ไ ด้ มี ก า ร น า ไ ป ใ ช้ ง า น
ทั่วประเทศ
26
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงตระหนั ก ถึ ง ความรุ น แรงของปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น และทรงห่ ว งใยต่ อ
พสกนิกรที่ต้องเผชิญในเรื่องดังกล่าวเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2531 ได้พระราชทานพระราชดาริในการแก้ไขปัญหาน้าเสีย
ด้วยการใช้เครื่องกลเติมอากาศ โดยพระราชทานรูปแบบสิ่งประดิษฐ์ที่เรียบง่าย แต่มีประสิทธิภาพสูงในการบาบัดน้าเสีย
ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ กังหันน้าชัยพัฒนา และนามาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพน้าตามสถานที่ต่างๆ ทั่วทุกภูมิภาค

27
การเติมอากาศลงในน้าเสีย มี 2 วิธีวิธีหนึ่ง ใช้อากาศอัดเข้าไปตามท่อเป่าลงไปใต้ผิวน้าแบบกระจายฟองและ
อี ก วิ ธี ห นึ่ ง น่ า จ ะ ก ร ะ ท า ไ ด้ โ ด ย กั ง หั น วิ ด น้ า วิ ด ตั ก ขึ้ น ไ ป บ น ผิ ว น้ า แ ล้ ว ป ล่ อ ย ใ ห้ ต ก ล ง ไ ป ยั ง
ผิวน้าตามเดิม โดยที่กังหันน้าดังกล่าวจะหมุนช้า ด้วยกาลังของมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาดเล็กไม่เกิน 2 แรงม้า หรืออาจจะใช้พลัง
น้ า ไ ห ล ก็ ไ ด้ จึ ง ส ม ค ว ร พิ จ า ร ณ า ส ร้ า ง ต้ น แ บ บ แ ล้ ว น า ไ ป ติ ด ตั้ ง ท ด ล อ ง ใ ช้ บ า บั ด น้ า เ สี ย
ที่ภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และวัดบวรนิเวศวิหาร

28
กังหันน้าชัยพัฒนา เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้าหมุนช้าแบบทุ่นลอย

29
การศึกษา วิจัย และพัฒนา
กรมชลประทานรับสนองพระราชดาริในการศึกษาและสร้างต้นแบบ โดยดัดแปลงเครื่องสูบน้าพลังน้าจาก
" กั ง หั น น้ า สู บ น้ า ทุ่ น ล อ ย " เ ป ลี่ ย น เ ป็ น " กั ง หั น น้ า ชั ย พั ฒ น า " แ ล ะ ไ ด้ น า ไ ป ติ ด ตั้ ง ใ ช้
ในกิจกรรมบาบัดน้าเสียที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2532 และที่วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันที่ 3
พฤษภาคม 2532 เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาระบบบาบัดน้าเสีย เป็นระยะเวลา 4-5 ปี
คุณสมบัติ

กังหันน้าชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้าหมุนช้าแบบทุ่นลอย (Chaipattana Low Speed
Surface Aerator) ซึ่งเป็น Model RX-2 หมายถึง Royal Experiment แบบที่ 2 มีคุณสมบัติ
ในการถ่ายเทออกซิเจนได้สูงถึง 1.2 กิโลกรัมของออกซิเจน/แรงม้า/ชั่วโมง สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมปรับปรุงคุณภาพ
น้าได้อย่างอเนกประสงค์ ติดตั้งง่าย เหมาะสาหรับใช้ในแหล่งน้าธรรมชาติ ได้แก่ สระน้า หนองน้า คลอง บึง ลาห้วย
ฯลฯ ที่มีความลึกมากกว่า 1.00 เมตร และมีความกว้างมากกว่า 3.00 เมตร

30
เป็ นที่ น่า ปี ติ ยิ นดี เ ป็ นล้ นพ้ นแก่ป วงพสกนิกรไทยทั้ งมวล เมื่ อ
เครื่องกลเติมอากาศ "กังหันน้าชัยพัฒนา" ได้รับการพิจารณา
และทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิ บัตรในพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 2
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 นับเป็นสิ่งประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศ
เครื่องที่ 9 ของโลกที่ได้รับสิทธิบัตรและเป็นครั้งแรกที่ได้มีการรับ
จดทะเบียนและออกสิทธิบัตรถวายแด่พระมหากษัตริย์ด้วย จึง
นั บ ได้ ว่ า สิ ท ธิ บั ต รเครื่ อ งกลเติ ม อากาศในพระปรมาภิ ไ ธย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้นเป็น

" สิ ท ธิ บั ต ร ใ น พ ร ะ ป ร ม า ภิ ไ ธ ย ข อ ง
พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ พ ร ะ อ ง ค์ แ ร ก ใ น
ประวัติศาสตร์ชาติไทยและเป็นครั้งแรกของ
โลก"

31
ทรงมีพระราชดาริให้ทาการศึกษา ทดลองวิจัย
ดูว่า จะใช้ปลาบางชนิดกาจัดน้าเสียได้หรือไม่ ปลาเหล่านี้
น่าจะเข้าไปกินสารอินทรียในบริเวณแหล่งน้าเสีย ซึ่งปรากฏ
์
ว่าปลาบางสกุลมีอวัยวะพิเศษในการหายใจ เช่น ปลากระดี่
ปลาสลิด เหมาะแก่การเลี้ยงในน้าเสีย และชอบกิน
สารอินทรีย์ จึงช่วยลดมลภาวะในแหล่งน้า วิธีการนี้สามารถ
นามาใช้ประโยชน์ในการกาจัดน้าเสียได้
ซึ่งจะมีต้นทุนต่า และสามารถเพิ่มผลผลิตสัตว์น้าได้อีกทาง
หนึ่ง
32
ประเภทหญ้าเลี้ยงสัตว์ยังจะได้รับผลประโยชน์ในการนาไปใช้ในการจักสาน ทาดอกไม้ประดิษฐ์ น้าเสีย
จากชุมชน เป็นปัญหาหลักประการหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก น้าเสียเหล่านี้สามารถแก้ไขและ/
หรือปรับปรุงสภาพให้ดีขึ้นด้วยการนาไปทาการบาบัดเพื่อให้มีคุณภาพ
ที่ดีขึ้น เทคโนโลยีที่ใช้ในการบาบัดน้าเสียมีอยู่หลากหลายวิธีการ แต่เทคโนโลยีที่สร้างขึ้นเหล่านี้มักจะต้องใช้การลงทุนที่
ค่อนข้างสูงทั้งในด้านเครื่องจักรกลและพลังงาน รวมทั้งความยุ่งยาก ในการบารุงรักษา สาหรับเทคโนโลยีการบาบัดน้า
เสียตามแนวพระราชดารินั้น พระองค์ทรงต้องการให้เป็นเทคโนโลยีที่ง่าย สะดวก และเป็นวิธีการที่อาศัยธรรมชาติให้
ช่วยเหลือธรรมชาติด้วยกันเอง โดยการอาศัยพืชช่วยในการกรองหรือฟอกน้าให้สะอาดขึ้น อันเป็นผลมาจากพืชจะดูดซับ
ธาตุอาหารที่มีอยู่ในน้าเสียนาไปใช้ในการเจริญเติบโต และการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ที่อยู่ในดินช่วยประกอบ
กัน นอกจากนี้การใช้พืชกรองน้าเสียประดิษฐ์เยื่อกระดาษ เชื้อเพลิงเขียว และป้องกันการ ชะล้างพังทลายของดินอีก
ทางหนึ่งด้วย และเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการดาเนินการบาบัดน้าเสีย ที่ต้องลงทุนสูงอย่างในปัจจุบัน เทคโนโลยี
ตามแนวพระราชดารินี้ได้รับการศึกษาวิจัยและพัฒนาโดยโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริ ซึ่งได้ทาการพัฒนาใช้พืชทั่วไป 3 ชนิด คือ ธูปฤๅษี กกกลม (จันทบูรณ์) และหญ้าแฝกอินเดีย
เป็นพืชที่หาได้ง่ายโดยทั่วไปและมีแพร่หลายอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียได้อีกด้วย

33
วัตถุประสงค์
1) เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และเผยแพร่ เ ทคโนโลยี
การบาบัดน้าเสียด้วยระบบพืชกรองน้าเสีย
ให้ กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ และประชาชนผู้ ที่
สนใจนาไปใช้ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและ
แพร่หลาย
2) เพื่อลดปัญหาสิ่ง แวดล้อมด้านน้ าเสีย ชุ มชน
ด้ วยเทคโนโลยี การบ าบั ดน้ าเสี ย ด้ วยการใช้
ระบบพืชกรองน้าเสีย
3) เพื่อพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีการบาบัดน้าเสีย
ด้ ว ย ร ะ บ บ พื ช ก ร อ ง น้ า เ สี ย
ให้ ส ามารถน าไปปฏิ บั ติ โ ดยประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ย
และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
34
ขั้นที่ 1 การสร้างบ่อดักตะกอน
ลักษณะเทคโนโลยีระบบบาบัดน้าเสียด้วยหญ้ากรองน้าเสีย
รู ป แบบเทคโนโลยี บ าบั ด น้าเสี ย ด้ ว ยระบบพื ชกรองน้าเสี ย ที่ ไ ด้ ท าการศึ ก ษาวิ จั ย และ
พัฒนาขึ้น ยึดหลักการตามแนวพระราชดาริโดยการทาแปลงและ/หรือบ่อเพื่อกักเก็บน้าเสีย
ที่ได้จากชุมชน และปลูกพืชที่ผ่านการคัดเลือกว่าเหมาะสม 3 ชนิด คือธูปฤๅษี กกกลม
และหญ้าแฝกอินโดนีเซีย ช่วยในการบาบัดน้าเสียอาศัยการกรองน้าเสียขณะที่ไหลผ่าน
แปลงหญ้าและการปลดปล่อยก๊าซออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์แสงให้กับน้าเสียนั้น
ร่วมกับการใช้ดินผสมทรายช่วยในการกรองน้าเสีย และการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดย
จุ
ลิ
น
ท
รี
ย์
ในดิ น เพื่ อ ให้ ก ารบ าบั ด น้ าเสี ย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ส าหรั บ เทคโนโลยี
ที่พัฒนาขึ้นจะมีลักษณะการให้น้าเสียหรือระบายน้าเสียเข้าสู่ระบบ คือ ระบบที่ให้น้าเสียขัง
ไ ว้ 5 วั น แ ล ะ ป ล่ อ ย ทิ้ ง ไ ว้ ใ ห้ แ ห้ ง 2 วั น เ พื่ อ ใ ห้ จุ ลิ น ท รี ย์ ใ น ดิ น
มีโอกาสได้พักตัว และระบายน้าที่ผ่านการบาบัดออกจากระบบโดยปล่อยระบายน้าทาง
ระบบท่อใต้ดินสู่แหล่งน้าธรรมชาติ เมื่ออายุของหญ้าครบระยะเวลาที่ใช้ในการบาบัดจะตัด
หญ้านั้นออกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบาบัดให้กับระบบ หญ้าที่ตัดออกเหล่านี้สามารถ
น า ไ ป ใ ช้ เ ลี้ ย ง สั ต ว์ ไ ด้
ซึ่งรูปแบบโดยสังเขปของเทคโนโลยีการบาบัดน้าเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้าเสียและ
ลักษณะพืชที่ใช้ในการบาบัดน้าเสียดังแสดงในภาพที่ 1 และ 2

35
ขั้นที่ 2 การก่อสร้างแปลงพืชกรองน้าเสีย

36
ขั้นที่ 3 การเตรียมต้นพันธุและการปลูกพืช
์

การเตรี ย มท่ อ นพั น ธุ์ พื ช การจั ด เตรี ย มท่ อ นพั น ธุ์ พื ช ที่ จ ะใช้ ป ลู ก ในแปลงระบบพื ช กรองน้ าเสี ย ด าเนิ น การไปพร้ อ มกั บ การก่ อ สร้ า งระบบฯ
ซึ่งแหล่งของท่อนพันธุ์พืชจาพวกธูปฤๅษีสามารถหาได้จากพื้นที่ชุ่มน้าธรรมชาติทั่วไป เช่น พื้นที่ที่มีการขุดดินออกและปล่อยให้รกร้า งมีน้าท่วมขัง คูระบายน้าข้างถนน
และหนองน้าเป็นต้น ซึ่งในการจัดเตรียมท่อนพันธุ์พืชนั้น สามารถกระทาได้เป็นลาดับดังนี้
1) เตรียมพื้นที่สาหรับการเพาะชาและอนุบาลท่อนพันธุ์พืช ซึ่งอาจใช้แปลงขนาดเล็กๆ หรือใช้ถุงพลาสติกสีดาขนาด 8 นิ้ว
พร้อมทั้งใส่ดินที่ค่อนข้างเหลวลงไป
2) ถอนหรือขุดต้นพืชที่จะใช้ชาท่อนพันธุ์จากแหล่งพันธุ์ที่จัดหาไว้
3) ตัดแต่งต้นและรากต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์ให้มีความยาวประมาณ 1 ฟุต (ภาพที่ 7)
4) นาไปปักชาลงในแปลงหรือถุงเพาะชาที่จัดเตรียมไว้
5) ดูแลรักษาด้วยการให้น้าเสียเป็นเวลา 3 สัปดาห์ เพื่อให้ต้นพืชปรับสภาพตนเองก่อนการนาไปปลูก
37
เทคโนโลยีการบาบัดน้าเสียด้วยระบบพื้นที่ชุ่มน้าเทียม เป็น
กระบวนการที่อาศัยพืชช่วยในการดูสารอาหารจากการย่อยสลายสารอินทรีย์
ของจุลินทรียในดิน เพื่อนาไปใช้ในการสร้างความเจริญเติบโตของต้นพืช เมื่อ
์
พืชเจริญเติบโตเต็มที่การดูดสารอาหารก็จะลดลงตามระยะเวลา และชนิดของ
พืชนั้นๆ ดังนั้นการเจริญเติบโตของพืชและชนิดของพืช จึงมีผลโดยตรงต่อ
ประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียของระบบ รวมถึงความเหมาะสมในการ
นาไปใช้ประโยชน์ของพืชแต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป คือ ธูปฤๅษี เวลา 90
วัน กกกลมและแฝกอินโดสีเซีย เวลา 45 วัน ดังนั้นเมื่อถึงระยะเวลาจึงต้อง
ท า ก า ร ตั ด อ อ ก ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ไ ป
ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียของระบบพืชกรองน้า
เสีย นอกจากนี้ทุก 1 ปี ต้องทาการถอนต้นพืชที่หนาแน่นบางส่วนออกจาก
ระบบ เพื่อให้เกิดช่องว่างมากขึ้น ทาให้แสงอาทิตย์สามารถส่องผ่านลงไปใน
น้าได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบให้ดีขึ้น

38
ความเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยี
ในการนาเทคโนโลยีการบาบัดน้าเสียด้วยระบบพืชกรองน้าเสียสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั่วไป
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบและจานวนหน่วยของระบบเพื่อใช้ในการรองรับจานวนประชากรในชุมชน หากมี
ประชากรน้อยกว่าหรือมากกว่าสามารถทาได้โดยการขยายหรือลดขนาดความกว้างของแปลงได้ สาหรับระยะ
ความยาวของแปลงจะต้องมีขนาดความยาวอย่างน้อย 50 เมตร เนื่องจากเป็นระยะทางที่มีประสิทธิภาพในการ
บาบัดน้าเสียได้ดี

39
LOGO

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้
่

40
41
ทรัพยากรป่าไม้ คืออะไร ?

ป่าไม้เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มนุษย์ได้บริโภคใช้สอย ได้ประกอบอาชีพด้านการทาไม้ เก็บของ
ป่า การอุตสาหกรรมไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปที่ใช้วัตถุดิบจากไม้ และของป่า แต่สภาพ
ปัจจุบันมีแรงผลักดันให้เกิดการบุกรุกทาลายป่าไม้ เพื่อบุกเบิกพื้นที่ทาการเกษตร ลักลอบตัดไม้ป้อน
โรงงานอุตสาหกรรม และเผ่าถ่าน นอกจากนี้ การเร่งการดาเนินงานบางโครงการ เช่น การก่อสร้าง
ถนน สร้างเขื่อน ฯลฯ ทาให้มีการตัดไม้ โดยไม่คานึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้จึงมีเนื้อที่
ลดลงตามลาดับ และบางแห่งอยู่ในสภาพเสื่อมโทรมอย่างมาก
42
การจัดการทรัพยากรป่าไม้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมุ่งเน้นการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้เป็นแนวทางหลักในการ
จัดการทรัพยากรป่าไม้
ด้วยทรงตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาภัยแล้ง น้าท่วมฉับพลัน
และการพังทลายของดินอย่ารุนแรง จึงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาป่าให้อยู่ใน
สภาพสมบูรณ์ดังเดิม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นว่าการจัดการทรัพยากรป่าไม้ มีความเกี่ยวโยงกับ
การอนุรักษ์ทรัพยากรแหล่งน้า จึงทรงเน้นการอนุรักษ์และพัฒนาป่าต้นน้าเป็นพิเศษ
43
จากแนวพระราชดาริของพระองค์ก่อให้เกิดโครงการพัฒนา
และบารุงป่าไม้จานวนมากมายทั่วประเทศ โดยเฉพาะป่าไม้ที่เป็นต้นน้าลาธารให้คงสภาพอยู่เดิม
เพื่อป้องกันอุทกภัยต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น ในขณะเดียวกัน ก็ถนอมน้าไว้ใช้สาหรับหล่อเลี้ยงแม่น้าลาธารด้วย

44
พระราชกรณียกิจที่ส้าคัญที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้
ในด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าที่เสื่อมโทรม มีตัวอย่าง คือ

45
๑) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อนเนืองมาจากพระราชดาริ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
ั ่
เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับรูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาพื้นที่ต้นน้าลาธาร
เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจรวมทั้งรูปแบบการพัฒนาต่าง ๆ
ที่ทาให้เกษตรกรพึ่งตนเองได้ โดยไม่ต้องทาลายสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

46
๒) โครงการพัฒนาพื้นที่ห้วยลานอันเนื่องมาจากพระราชดาริ อ. สันกาแพง จ.
เชียงใหม่
เพื่อบารุงฟื้นฟูป่าไม้ที่เป็นต้นน้าลาธารให้คงสภาพอยู่เดิม
อันจะเป็นประโยชน์ในการป้องกันอุทกภัย และรักษาสภาพแหล่งต้นน้าลาธาร

47
๓) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จ. เพชรบุรี
ได้ประสบผลสาเร็จอย่างสูงในด้านการลดปัญหาการบุกรุกทาลายป่า การป้องกันไฟป่า
และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติด้วยการแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาแหล่งน้า
เพื่อการปลูกป่าที่เรียบง่าย ประหยัด เหมาะสมกับราษฎรที่สามารถนาไปปฏิบัติได้ด้วย
ตนเอง โดยการปลูกป่าทดแทนให้ได้ประโยชน์อเนกประสงค์

48
๔) โครงการป่าสาธิตส่วนพระองค์ พระตาหนักสวนจิตรลดา เพื่ออนุรักษ์ รวบรวมและ
ขยายพันธุ์พฤกษชาติรวมทั้งพืชสมุนไพร เพื่อรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของ
ทรัพยากรป่าไม้
๕) โครงการชุมชนพัฒนาป่าชายเลนิ ต.หัวเขา อ.สิงหนคร จ.สงขลา
มีวัตถุประสงค์ที่จะทาการพัฒนาชุมชนให้มีความสานึกในความรู้ความเข้าใจในการใช้
ทรัพยากรชายฝั่ง เป็นการพัฒนาและฟื้นฟูป่าชายเลนในอีกมิติหนึ่งของการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติที่อาศัยความเกี่ยวพันและเกื้อกูลซึ่งกันและกันของมนุษย์กับ
ธรรมชาติ
49
๖) โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนยะหริ่ง อ. ยะหริ่ง จ. ปัตตานี
มีเป้าหมายมุ่งเน้นให้เกิดประสิทธิภาพในด้านการจัดการและสงวนรักษาทรัพยากรป่าชาย
เลน มีเจตนารมย์ที่จะให้ทุกฝ่ายมีความรู้ ความเข้าใจของสมดุลระบบนิเวศชายฝั่ง และ
สร้างความร่วมมือรวมพลังกันระหว่างชุมชนและนักวิชาการที่จะปกปักรักษาและพัฒนา
ป่าชายเลนให้สามารถใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน

50
๗) ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธริ อ. สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส
มีวัตถุประสงค์เพื่อทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของป่าพรุ
อันจะทาให้การพัฒนาพื้นที่พรุเป็นไปอย่างสอดคล้องผสมผสานกันทั้งในเรื่องการอนุรักษ์
และการพัฒนาพื้นที่เขตต่างๆ ในป่าพรุได้ดาเนินการไปพร้อมกันอย่างได้ผลดียิ่ง ทาให้
ป่าพรุได้รับการใช้ประโยชน์อย่างอเนกประสงค์ ควบคู่กับการสร้างสมดุลของระบบนิเวศ

51
52
การจัดการทรัพยากรที่ดิน

53
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับ
การจัดการทรัพยากรที่ดิน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีแนวพระราชดาริเพื่อแก้ไขปัญหาใน
เรื่องของทรัพยากรที่ดิน ทั้งในแง่ของปัญหาดินที่เสื่อมโทรม ขาดคุณภาพ
และการขาดแคลนที่ดินทากินสาหรับเกษตรกร แนวพระราชดาริและพระ
ราชกรณียกิจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรที่ดินสามารถแบ่งได้เป็น ๓
ด้านหลัก ได้แก่

54
๑) การจัดและพัฒนาที่ดิน
"…มีความเดือดร้อนอย่างยิ่งว่าประชาชนในเมืองไทยจะไร้ที่ดิน และถ้าไร้ที่ดินแล้วก็จะ
ทางานเป็นทาสเขา ซึ่งเราไม่ปรารถนาที่จะให้ประชาชนเป็นทาสคนอื่น แต่ถ้าเราสามารถที่จะ
ขจัดปัญหานี้ โดยเอาที่ดินจาแนกจัดสรรอย่างยุติธรรม อย่างมีการจัดตั้งจะเรียกว่านิคมหรือจะ
เรียกว่าหมู่หรือกลุ่ม หรือสหกรณ์ก็ตาม ก็จะทาให้คนที่มีชีวิตแร้นแค้นสามารถที่จะพัฒนาตัวเอง
ขึ้นมาได้…“ (สานักงาน กปร., ๒๕๓๑: ๙๔-๕)
พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

55
๒) การพัฒนาและอนุรักษ์ที่ดิน
พระราชดาริและพระราชกรณียกิจในการดาเนินงาน
ด้านการพัฒนาและอนุรักษ์ดินที่สาคัญ สามารถแบ่งได้เป็น ๓ ส่วน คือ
ก) แบบจาลองการพัฒนาพื้นที่ที่มีสภาพขาดความอุดมสมบูรณ์
ข) การแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวด้วยวิธี "การแกล้งดิน"
ค) "หญ้าแฝก" กับการอนุรักษ์ดินและฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมสภาพ

56
๓)การดาเนินการเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดิน “ป่าเตรียมสงวน”
การที่ให้เรียกว่า "ป่าเตรียมสงวน" นั้น ก็เพื่อป้องกันมิให้มีผู้บุกรุกเข้ามา
จับจองที่ดินในป่า แต่หากเรียกว่า "ป่าสงวน" แล้ว ผู้ที่อาศัยอยู่ในป่ามาเป็น
เวลานานแล้วจะถูกกล่าวหาว่าบุกรุกป่าสงวนและถูกไล่ที่ ซึ่งจะเป็นปัญหาต่อ
ทางราชการมากขึ้น โดยในส่วนของราษฎรที่อาศัยอยู่ในป่ามาเป็นเวลานาน
แล้วก็ให้ดาเนินการให้ได้รับเอกสารสิทธิ์ที่เรียกว่า สทก. เช่นเดียวกัน
แนวทางนี้จะทาให้ได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจขณะเดียวกันจะช่วยลดความ
ขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรและปัญหาทางสังคม ซึ่งถือได้ว่าเป็นแนวทางการ
จัดการทรัพยากรที่ดิน ป่าไม้ และน้า ไปพร้อมกันอย่างชาญฉลาด
57
58
พระราชกรณียกิจในด้านการจัดการทรัพยากรประมง
แนวพระราชดาริและพระราชกรณียกิจในด้านการจัดการทรัพยากรประมง
มีดังต่อไปนี้
๑) โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
๒) งานศึกษาวิจัยด้านการจัดการทรัพยากรประมงน้าจืด
๓) งานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง
๔) การจัดการทรัพยากรประมงที่เกี่ยวกับการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง

59
๑) โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา

มีบ่อเพาะเลี้ยงปลานิล และมีพันธุ์ปลาพระราชทาน มีบ่อเพาะพันธุ์จานวน ๖ บ่อ
สามารถผลิตลูกปลานิลพระราชทานในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ จานวน ๔๒,๔๘๕ ตัว (สานักพระราชวัง,
๒๕๓๙: ๒๕)
60
๒) งานศึกษาวิจัยด้านการจัดการทรัพยากรประมงน้้าจืด

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงห่วงใยถึงการทาประมงของราษฎรและทรง
ตระหนักถึงความจาเป็นในการจัดการทรัพยากรประมง จึงโปรดให้มีกิจกรรมการทดลองวิจัย
ทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ
61
๓) งานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง

โครงการส่งเสริมการเลี้ยงปลาในศูนย์ศึกษาการพัฒนาปลวกแดง จังหวัดระยอง ชลบุรี (ทบวงมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๐: ๑๐๑-๒) ด้วยการสงวนพันธุ์และเพาะพันธุ์สัตว์น้า
พร้อมเร่งรัดปล่อยพันธุ์ปลาชนิดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปลาโตเร็วที่เหมาะสมในแต่ละท้องที่
ลงในแหล่งน้า
62
๔) การจัดการทรัพยากรประมง
ที่เกี่ยวกับการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง

ทรงมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาการศึกษาวิจัยตามแนวพระราชดาริเพื่อ
หาแนวทางการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดาอย่างยั่งยืน รวมทั้งการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชายฝั่ง
แบบอเนกประสงค์และเกื้อกูลกัน ณ "ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน" จังหวัดจันทบุรี
63
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวกับ
่
การจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร

64
แนวพระราชด้าริเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
มุ่งที่จะพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรภายใต้ข้อจ้ากัดของ
สภาพภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งตัวเกษตรกรเองด้วย การ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ ที่ดิน แหล่งน้้า ฯลฯ มุ่ง
ให้อยู่ในสภาพที่จะมีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้มากที่สุด

65
แนวพระราชด้าริที่ส้าคัญ คือ การที่ทรงเน้นในเรื่องของ การทดลอง
ค้นคว้า และวิจัยหาพันธุ์พืชใหม่ ๆ ทั้ง พืชเศรษฐกิจ และพืชเพื่อการ
ปรับปรุงบ้ารุงดิน รวมถึงพืชสมุนไพร ตลอดจนการศึกษาเกี่ยวกับการ
ป้องกันและก้าจัดโรคและแมลงศัตรูพืช

พระราชด้าริและพระราชกรณียกิจที่ส้าคัญและสมควรได้รับ
การกล่าวถึงเกี่ยวกับการผลิตทางการเกษตร ได้แก่

66
ทฤษฎีการพัฒนาการเกษตรแบบ “พึ่งตนเอง” และ “เศรษฐกิจพอเพียง”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด้าริในการจัดการ
ทรัพยากรระดับไร่นาเพื่อการพัฒนาการเกษตรแบบพึ่งตนเอง (Self
Reliance) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยทรงเน้นให้เกษตรกรสามารถ
พึ่งตนเองและช่วยเหลือตนเองเป็นหลักส้าคัญ และมีพระราชประสงค์เป็น
ประการแรก คือ การท้าให้เกษตรกร สามารถพึ่งตนเองได้ในด้านอาหาร
ก่อน เป็นอันดับแรก เช่น ข้าว พืชผัก ผลไม้ ฯลฯ

67
แนวพระราชด้าริที่ส้าคัญอีกประการหนึ่ง คือ การที่ทรงพยายามเน้นมิให้
เกษตรกรพึ่งพาอยู่กับพืชเกษตรแต่เพียงชนิดเดียว เพราะมีความเสี่ยงที่จะเกิด
ความเสียหายสูง เนื่องจากความแปรปรวนของราคา และความไม่แน่นอน ของ
ธรรมชาติ ทางออกก็คือ นอกจากจะปลูกพืชหลายชนิดแล้ว เกษตรกรควรจะต้องมี
รายได้เพิ่มขึ้นนอกเหนือไปจากภาคเกษตร เช่น การส่งเสริมอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ
ซึ่งด้าเนินงานสนับสนุนงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในปัจจุบัน (ส้านักงาน
กปร., ๒๕๔๒)

68
ทฤษฎีใหม่ : แนวทางการจัดการทีดินและน้้าเพือการเกษตรที่ยั่งยืน
่
่

พระราชดาริ "ทฤษฎีใหม่" เป็นแนวทางหรือหลักการในการจัดการทรัพยากรระดับไร่นาคือที่ดินและน้า เพื่อการเกษตรในที่ดิน
ขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการดาเนินการทฤษฎีใหม่ ได้พระราชทานขั้นตอนดาเนินงาน ดังนี้

69
ขั้นที่ ๑ ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น สถานะพื้นฐานของเกษตรกร คือ มีพื้นที่น้อย ค่อนข้างยากจน อยู่ในเขตเกษตรน้าฝนเป็นหลัก โดยใน
ขั้นที่ ๑ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสถียรภาพของการผลิต เสถียรภาพด้านอาหารประจาวัน ความมั่นคงของรายได้ ความมั่นคง
ของชีวิต และความมั่นคงของชุมชนชนบท เป็นเศรษฐกิจพึ่งตนเองมากขึ้น

70
ขั้นที่ ๒ ทฤษฎีใหม่ ข้ันกลาง เมือเกษตรกรเข้ าใจในหลักการและได้ ปฏิบัติในที่ดนของ
่
ิ
ตนจนได้ ผลแล้ ว ก็ต้องเริ่มขั้นทีสอง คือ ให้ เกษตรกรรวมพลังกันในรู ปกลุ่ม หรือ
่
สหกรณ์ ร่ วมแรง ร่ วมใจกันดาเนินการในด้ าน
(๑) การผลิต เกษตรกรจะต้ องร่ วมมือในการผลิตโดยเริ่มตั้งแต่ ขั้นเตรียมดิน การหา
พันธุ์พช ปุ๋ ย การหานา และอืน ๆ เพือการเพาะปลูก
ื
้
่
่
(๒) การตลาด เมือมีผลผลิตแล้ว จะต้ องเตรียมการต่ าง ๆ เพือการขายผลผลิตให้ ได้
่
่
ประโยชน์ สูงสุ ด เช่ น การเตรียมลานตากข้ าวร่ วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้ าว เตรียม
หาเครื่องสี ข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ ได้ ราคาดี และลดค่ าใช้ จ่ายลงด้ วย

71
(๓) ความเป็ นอยู่ ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้ องมีความเป็ นอยู่ทดพอสมควร โดยมี
ี่ ี
ปัจจัยพืนฐานในการดารงชีวิต เช่ น อาหารการกินต่ าง ๆ กะปิ นาปลา เสื้อผ้า ทีพอเพียง
้
้
่
(๔) สวัสดิการ แต่ ละชุ มชนควรมีสวัสดิการและบริการทีจาเป็ น เช่ น มีสถานีอนามัย
่
เมือยามป่ วยไข้ หรือมีกองทุนไว้ ให้ ก้ ยมเพือประโยชน์ ในกิจกรรมต่ าง ๆ
่
ูื ่
(๕) การศึกษา มีโรงเรียนและชุ มชนมีบทบาทในการส่ งเสริมการศึกษา เช่ น มีกองทุน
เพือการศึกษาเล่ าเรียนให้ แก่ เยาวชนของชุ มชนเอง
่
(๖) สั งคมและศาสนา ชุ มชนควรเป็ นศูนย์ กลางในการพัฒนาสั งคมและจิตใจ

72
ขั้นที่ ๓ ทฤษฎีใหม่ ข้ันก้าวหน้ า เมือดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ ว เกษตรกรจะ
่
มีรายได้ ดขึน ฐานะมันคงขึน เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้ าวหน้ าไปสู่
ี ้
่
้
ขั้นทีสามต่ อไป คือ ติดต่ อประสานงาน เพือจัดหาทุน หรือแหล่ งเงิน เช่ น ธนาคาร หรือ
่
่
บริษัทห้ างร้ านเอกชน มาช่ วยในการทาธุระกิจ การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้
ทั้งฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคารกับบริษัท จะได้ รับประโยชน์ ร่วมกัน กล่าวคือ
เกษตรกรขายข้ าวได้ ในราคาสู ง (ไม่ ถูกกดราคา)

73
74
เกษตรยั่งยืนและระบบเกษตรธรรมชาติ
ระบบเกษตรยังยืนควรมีลกษณะการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรที่
่
ั
เลียนแบบระบบนิเวศของป่ าธรรมชาติ คือมีความหลากหลายทางชีวภาพ มีกลไก
ควบคุมตัวเอง มีการพึงพาปัจจัยการผลิตจากภายนอกน้ อยทีสุดตามความจาเป็ น
่
่
สาหรับการป้ องกันและกาจัดศัตรู พชพยายามลดการใช้ สารเคมี โดยการใช้ วธีการ
ื
ิ
จัดการศัตรู พชแบบผสมผสาน กล่ าวคือควรให้ ความสาคัญกับระบบการปลูกพืชที่
ื
เกือกูลกันเพือสร้ างความสมดุลตามธรรมชาติในระบบการเกษตร (สุ พตรา, ๒๕๔๐:
้
่
ั
๗๖-๗)

75
ในปัจจุบัน มีการทดลองวีธการเกษตรยั่งยืนในพื้นที่ศูนย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จังหวัดเพชรบุรี ศูนย์ศึกษา
ี
การพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ เป็นต้น มีกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นไปตาม
แนวพระราชดาริและสอดคล้องกับหลักการของเกษตรยั่งยืน ที่สาคัญได้แก่ ระบบการปลูกพืชหมุนเวียน ระบบการเกษตรแบบ
ผสมผสาน ระบบวนเกษตร และระบบเกษตรธรรมชาติ

ในปัจจุบน มีการทดลองวิธีการเกษตรยังยืนในพืนทีศูนย์ สมเด็จพระ
ั
่
้ ่
ศรีนครินทราบรมราชชนนี จังหวัดเพชรบุรี ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้ อนฯ
ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาพิกลทองฯ ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาห้ วยฮ่ องไคร้ ฯ เป็ นต้ น มี
ุ
กิจกรรมต่ างๆ ทีเ่ ป็ นไปตามแนวพระราชดาริและสอดคล้ องกับหลักการของ
เกษตรยังยืน ทีสาคัญได้ แก่ ระบบการปลูกพืชหมุนเวียน ระบบการเกษตรแบบ
่
่
ผสมผสาน ระบบวนเกษตร และระบบเกษตรธรรมชาติ
76
ปัญหาเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

LOGO

การอนุรกษ์สิ่งแวดล้อม
ั
สาระสาคัญ
มนุษย์นาทรัพยากรมาคัดแปลงให้เกิดประโยชน์ แต่ทรัพยากรธรรมชาติก็มีข้อจากัดในด้าน
การเพิ่มจานวนให้ทันต่อความต้องการ ของมนุษย์ที่นับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ โดยการนาทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์

77
ความหมายของการอนุรกษ์สิ่งแวดล้อม
ั

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Conservation)
หมายถึงการใช้สิ่งแวดล้อม อย่างมีเหตุผล เพื่ออานวยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดไปแก่มนุษย์
โดยมีแนวความคิดที่จะอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดผลอยู่ 6 ประการคือ
1. ต้องมีความรู้ในการที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จะให้ผลแก่มนุษย์ทั้งที่ เป็นประโยชน์
และโทษ และคานึงถึงเรื่องความสูญเปล่าในการจะนาทรัพยากรธรรมชาติไปใช้
2. รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นและหายากด้วยความระมัดระวัง ตระหนักเสมอ ว่าการใช้
ทรัพยากรมากเกินไปจะเป็นการไม่ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม
ฉะนั้นต้องทาให้อยู่ในสภาพเพิมพูนทั้งด้านกายภาพและเศรษฐกิจ
่
3. รักษาทรัพยากรที่ทดแทนได้ให้มีสภาพเพิ่มพูนเท่ากับอัตราที่ต้องการใช้เป็น อย่าง น้อย

78
4. ประมาณอัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากรได้ พิจารณาความต้องการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสาคัญ
5. ปรับปรุงวิธีการใหม่ ๆ ในการผลิตและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและพยายามค้นคว้า
สิ่งใหม่ ๆ ทดแทนการใช้ทรัพยากรจากแหล่งธรรมชาติให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ของ
ประชากร
6. ให้การศึกษาแก่ประชาชนเพื่อเข้าใจถึงความสาคัญในการรักษาสมดุลธรรมชาติ ซึ่งมีผลต่อ
การทาให้สิ่งแวดล้อมอยูในสภาพทีดี โดยปรับความรู้ที่จะเผยแพร่ให้เหมาะแก่วัย คุณวุฒิ บุคคล
่
่
สถาน ที่หรือท้องถิน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน เพื่อให้ประชาชนเข้าใจในหลักการอนุรักษ์
่
สิ่งแวดล้อม อันจะเป็นหนทางนาไปสู่อนาคตที่คาดหวังว่ามนุษย์จะได้อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ดี ได้
79
หลักการและวิธการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ี
หลักการและวิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ มีดังนี้
1. การถนอมรักษา
2. การบูรณะฟื้นฟู
3. การนากลับมาใช้ใหม่ หรือที่เรียกว่า รีไซเคิล
4. การเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานสิ่ง แวดล้อม
5. การนาสิ่งอื่นมาใช้ทดแทนการ
6. การสารวจแหล่งทรัพยากรเพิ่มเติม
7. การประดิษฐ์ของเทียมขึ้นใช้

80
แนวทางอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจะได้ผลยั่งยืนข้อมูลนั้น ตลอดจนต้องใช้มาตรการทางกฎหมาย
ควบคุมแนวทางในการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนมี 3 แนวทางดังนี้
1.การให้การศึกษาคือการสอนให้เข้าใจถึงหลักการ วิธีการอนุรักษ์ มีจริยธรรมเกิดสานักและร่วมใน
การอนุรักษ์
2.การใช้เทคโนโลยีในการนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์
3.การใช้กฎหมายควบคุมเป็นวิธีการสุดท้ายในการดาเนินการ
81
การอนุรกษ์บรรยากาศ มหาสมุทรและระบบนิเวศบก
ั

82
83
84

More Related Content

What's hot

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
chemnpk
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
Itt Bandhudhara
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
chanok
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
Kwandjit Boonmak
 

What's hot (20)

ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
การนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้าการนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 

Similar to โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยการปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
Wasan Yodsanit
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
tongsuchart
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
tongsuchart
 
12 อาสา piyacheep
12 อาสา piyacheep12 อาสา piyacheep
12 อาสา piyacheep
Bowjungz Boice
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Panuchanat
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
Chanapun Kongsomnug
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
Chanapun Kongsomnug
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
poo_28088
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
Aungkana Na Na
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัส
bitzren
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
Yuan Yuan'
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
Yuan Yuan'
 

Similar to โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (20)

การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยการปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
 
12 อาสา piyacheep
12 อาสา piyacheep12 อาสา piyacheep
12 อาสา piyacheep
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
9789740335702
97897403357029789740335702
9789740335702
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัส
 
ความจริงที่ถูกสร้าง
ความจริงที่ถูกสร้างความจริงที่ถูกสร้าง
ความจริงที่ถูกสร้าง
 
ดอยคำ
ดอยคำดอยคำ
ดอยคำ
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 

More from คน ขี้เล่า

More from คน ขี้เล่า (20)

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
 
พรบ การศึกษา
พรบ การศึกษาพรบ การศึกษา
พรบ การศึกษา
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3
 
ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
30 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __230 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __2
 
30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม