SlideShare a Scribd company logo
Free Powerpoint Templates
Page 1
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
(Plant Structure and Function) : part 1
รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Free Powerpoint Templates
Page 2
ครูผู้สอน
• นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
– พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
– พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
– พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
Free Powerpoint Templates
Page 3
พืช (plant) :
Multicellular organism : tissue
eukaryotic cell : nucleus / membrane organelle
cell wall ; cellulose/hemicellulose/lignin
Chloroplast : chlorophyll a,b/carotenoid
Photosynthesis : autotroph/producer
Alternation of generation : Embryo development
Free Powerpoint Templates
Page 4
Free Powerpoint Templates
Page 5
Free Powerpoint Templates
Page 6
Free Powerpoint Templates
Page 7
Free Powerpoint Templates
Page 8
อาณาจักรพืช ได้แบ่งออกเป็น 10 ไฟลัม ดังนี้
พืช มีเนื้อเยื่อและเอมบริโอ
ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง มีเนื้อเยื่อลาเลียง
P. Hepatophyta
P. Anthocerophyta
P. Bryophyta
P. Lycophyta
P. Pterophyta
ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด
P. Cycadophyta
P. Ginkgophyta
P. Coniferophyta
P. Gnetophyta
P. Anthophyta
- Monocotyledon
- Dicotyledon
Free Powerpoint Templates
Page 9
Free Powerpoint Templates
Page 10
Sap/large
permeable
Middle lamella
Chlorophyll
photosynthesis
Free Powerpoint Templates
Page 11
Free Powerpoint Templates
Page 12
Free Powerpoint Templates
Page 13
Free Powerpoint Templates
Page 14
Free Powerpoint Templates
Page 15
Free Powerpoint Templates
Page 16
Free Powerpoint Templates
Page 17
Free Powerpoint Templates
Page 18
สรุปเน้นสอบ !!! เกี่ยวกับ plant cell
• Cell wall ประกอบด้วย
– Middle lamella: PECTIN (แนวเชื่อมต่อ 2 เซลล์พืช : BETWEEN CELL WALL 2 plant cell)
– Primary cell WALL : CELLULOSE (BETA-GLUCOSE / NETWORK) : LIVING CELL (ALL)
– SECONDARY CELL WALL : LIGNIN SUBERIN (REGID / INNER) : DEAD CELL (SOME)
กระบวนการสร้าง cell wall
Phragmoplast ➔cell plate ➔middle lamella➔1cell wall (all) ➔2cellwall (some)
การติดต่อสื่อสารระหว่าง plant cell ที่อยู่ติดกัน : permeability
1. Plasmodesmata : cytoplasmic connecting channel
2. Pit : fully permeable of water (apoplast) แบ่งเป็น 3 แบบ
2.1 Primarypit : primary cell wall (all living)
2.2 Simple pit : secondary cell wall (รอยเว้าเรียบไม่มีขอบ : sclerenchyma)
2.3 Bordered pit : secondary cell wall (รอยเว้ามีขอบยกนูน : xylem)
Free Powerpoint Templates
Page 19
phragmoplast
Free Powerpoint Templates
Page 20
ทิศทางการสร้าง cell wall
Free Powerpoint Templates
Page 21
Free Powerpoint Templates
Page 22
Free Powerpoint Templates
Page 23
Permeability
apoplast
Cytoplasmic steaming
Free Powerpoint Templates
Page 24
Free Powerpoint Templates
Page 25
Free Powerpoint Templates
Page 26
Pit VS Pith
Free Powerpoint Templates
Page 27
Free Powerpoint Templates
Page 28
Free Powerpoint Templates
Page 29
Free Powerpoint Templates
Page 30
Free Powerpoint Templates
Page 31
เนื้อเยื่อพืช (Plant Tissues)
ประเภทของเนื้อเยื่อ มีความแตกต่างตามเกณฑ์ที่ใช้จาแนก
I. จาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด
1. Dermal tissue : epidermis, cork [protoderm]
2. Ground tissue : parenchyma, collenchyma, sclerenchyma ,endodermis ,
pericycle (พบเฉพาะในโครงสร้างภายในรากเท่านั้น)[groud meristem]
3. Vascular tissue : xylem, phloem [procambium]
II. จาแนกตามการเจริญเติบโต ได้ 2 ชนิด
1. Primary tissue : เนื้อเยื่อที่อยู่ในprimary growth : แนวความสูง
2. Secondary tissue : เนื้อเยื่อที่อยู่ในsecondary growth : แนวความกว้าง
III. จาแนกตามความสามารถในการแบ่งตัวได้ 2 ชนิด
1. Meristematic tissue (เนื้อเยื่อเจริญ): apical / intercalary / lateral
2. Permanent tissue (เนื้อเยื่อถาวร): simple / complex (xylem, phloem)
Primary meristem
Free Powerpoint Templates
Page 32
Plant tissue
meristem permanent
apical intercalary lateral
root shoot cambium
Vascular cambium
Cork cambium
simple complex
epidermis
cork
parenchyma
collenchyma
sclerenchyma
endodermis
pericycle
xylem
phloem
tracheid
vessel
Xy paren
Xy fiber
Sieve tube
companion
Phlo paren
Phlo fiber
root
Free Powerpoint Templates
Page 33
เนื้อเยื่อเจริญของพืช
(Meristematic tissue of Plant)
Free Powerpoint Templates
Page 34
wood
Inner bark
Free Powerpoint Templates
Page 35
Free Powerpoint Templates
Page 36
Free Powerpoint Templates
Page 37
Summer wood
spring wood
Free Powerpoint Templates
Page 38
Plant tissue Primary meristem
protoderm
procambium
Ground meristem
Vascular tissue
XylemDermal tissue
ground tissue
phloem
epidermis
cork
endodermis
pericycle
root
parenchyma
collenchyma
sclerenchyma
Plant tissue
Primary growth
secondary growth
meristem
apical
intercalary
epidermis
1 xylem / 1 phloem
meristem Vascular cambium
Cork cam
(phellogen)Cork (phellem)
2 xylem / 2 phloem
Free Powerpoint Templates
Page 39
Free Powerpoint Templates
Page 40
Free Powerpoint Templates
Page 41
Free Powerpoint Templates
Page 42
Simple permanent tissue
epidermis
Cork
(phellem)
parenchyma
collenchyma
sclerenchyma
endodermis
pericycle
root
Root hair trichome Gland cell
Guard cell Subsidiary cell
Cork cambium
(phellogen)
1 growth
2 growth
Cork paren
(phelloderm)
Periderm
(outer bark)
Chlorenchyma
AerenchymaMost,storage
Mesophyll (palisade / spongy)
Hydrophyte (floating)
Living : strength
dead : strength
angularlarmella larcunar
fiber scleried
Casparial strip
Passage cell
Radial wall/transverse wall
symplast (ยอมให้ผ่านเข้าท่อลาเลียงด้านใน)
apoplast
Lateral (2) root : dicot (tap/1 root)
3 ประเภท
2 ประเภท
หน้าที่พิเศษ
Free Powerpoint Templates
Page 43
Free Powerpoint Templates
Page 44
periderm
Free Powerpoint Templates
Page 45
Free Powerpoint Templates
Page 46
Free Powerpoint Templates
Page 47
Free Powerpoint Templates
Page 48
Free Powerpoint Templates
Page 49
Free Powerpoint Templates
Page 50
Free Powerpoint Templates
Page 51
โครงสร้างรากและลาต้น ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
1. Cortex (ชั้นนอก)
2. Stele (ชั้นใน) : Pith (แกนกลางด้านในสุดของรากและลาต้นบางชนิด)
โดยราก cortex จะกว้าง stele จะแคบ ตรงข้ามกับลาต้นที่ cortex จะแคบ stele จะกว้าง
รากและลาต้นของพืชดอก
cortex
stele
cortex
stele
Free Powerpoint Templates
Page 52
Free Powerpoint Templates
Page 53
ชั้นในสุดของ cortex
ชั้นนอกสุดของ stele
เน้นสอบ ! ราก cortex กว้าง stele แคบ (ลาต้น ≠)
Free Powerpoint Templates
Page 54
Free Powerpoint Templates
Page 55
Free Powerpoint Templates
Page 56
Free Powerpoint Templates
Page 57
Free Powerpoint Templates
Page 58
Complex permanent tissue
xylem
phloem
tracheid
vessel
Xylem parenchyma
Xylem fiber
Sieve tube
companion
Phloem parenchyma
Phloem fiber
ตายแล้ว ท่อเรียวยาว แหลมหัวท้าย พบทุกชนิด
ตายแล้ว ท่ออวบสั้น ปลายเปิ ดต่อเนื่อง พบเฉพาะพืชดอก
มีชีวิต สะสมสารและลาเลียงรัศมี (xylem ray)
ตายแล้ว เส้นใยให้ความแข็งแรงโครงสร้าง
มีชีวิต ไม่มีนิวเคลียส ลาเลียงซูโครส (อาหาร)
มีชีวิต นิวเคลียสใหญ่ แนบติดซีฟทิวป์ ช่วยทางาน
มีชีวิต สะสมสารและลาเลียงรัศมี (phloem ray)
ตายแล้ว เส้นใยให้ความแข็งแรงโครงสร้าง
Free Powerpoint Templates
Page 59
Free Powerpoint Templates
Page 60
Free Powerpoint Templates
Page 61
Free Powerpoint Templates
Page 62
1. Dermal tissue (เนื้อเยื่อบุผิว)
2. Vascular tissue (เนื้อเยื่อลาเลียง)
3. Ground tissue (เนื้อเยื่อพื้นฐาน)
เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบ ได้แก่
Free Powerpoint Templates
Page 63
Free Powerpoint Templates
Page 64
Free Powerpoint Templates
Page 65
Free Powerpoint Templates
Page 66
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 67
Free Powerpoint Templates
Page 68
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 69
Free Powerpoint Templates
Page 70
Free Powerpoint Templates
Page 71
Free Powerpoint Templates
Page 72
Free Powerpoint Templates
Page 73
Free Powerpoint Templates
Page 74
Free Powerpoint Templates
Page 75
Free Powerpoint Templates
Page 76
Free Powerpoint Templates
Page 77
Free Powerpoint Templates
Page 78
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 79
cutin
Stem/leaf
Free Powerpoint Templates
Page 80
Free Powerpoint Templates
Page 81
Free Powerpoint Templates
Page 82
Free Powerpoint Templates
Page 83
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 84
Outer bark
periderm
inner bark
Sap wood
heart wood
Phellem/phellogen/
phelloderm
Cork parenchyma
Free Powerpoint Templates
Page 85
Free Powerpoint Templates
Page 86
Free Powerpoint Templates
Page 87
Free Powerpoint Templates
Page 88
Free Powerpoint Templates
Page 89
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 90
Free Powerpoint Templates
Page 91
Free Powerpoint Templates
Page 92
chlorenchyma
Free Powerpoint Templates
Page 93
Free Powerpoint Templates
Page 94
Free Powerpoint Templates
Page 95
hydrophyte
Free Powerpoint Templates
Page 96
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 97
Free Powerpoint Templates
Page 98
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Parenchyma
Collenchyma
Free Powerpoint Templates
Page 99
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 100
Free Powerpoint Templates
Page 101
Free Powerpoint Templates
Page 102
Free Powerpoint Templates
Page 103
Free Powerpoint Templates
Page 104
Free Powerpoint Templates
Page 105
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
: symplast
Free Powerpoint Templates
Page 106
Passage cell
Free Powerpoint Templates
Page 107
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 108
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 109
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 110
vessel
Free Powerpoint Templates
Page 111
Free Powerpoint Templates
Page 112
Free Powerpoint Templates
Page 113
Free Powerpoint Templates
Page 114
Free Powerpoint Templates
Page 115
Free Powerpoint Templates
Page 116
Free Powerpoint Templates
Page 117
Free Powerpoint Templates
Page 118
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 119
Free Powerpoint Templates
Page 120
Free Powerpoint Templates
Page 121
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 122
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 123
Free Powerpoint Templates
Page 124
Free Powerpoint Templates
Page 125
Types of Vascular Bundles in Plants
Free Powerpoint Templates
Page 126
Free Powerpoint Templates
Page 127
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 128
Free Powerpoint Templates
Page 129
Free Powerpoint Templates
Page 130
Free Powerpoint Templates
Page 131
Free Powerpoint Templates
Page 132
Free Powerpoint Templates
Page 133
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 134
Free Powerpoint Templates
Page 135
Free Powerpoint Templates
Page 136
Free Powerpoint Templates
Page 137
Free Powerpoint Templates
Page 138
Free Powerpoint Templates
Page 139
Free Powerpoint Templates
Page 140
Free Powerpoint Templates
Page 141
ลาต้น (stem)
ส่วนประกอบสาคัญ
Node มี bud : กิ่ง ดอก ใบ ผล
internode: intercalary meristem
Function
Shoot apex
transportation พิเศษ***
Internal structure
supporting
Shoot apical meristem
(region of cell division)
Leaf primordial
Young leaf
Bud primordial
(axillary bud)
Young stem
X-section stem
Primary growth secondary growth
epidermis
Cortex
(paren/collen/scleren)
Stele
(vascular bundle)
Pith
(pith cavity)
dicot
monocot
Cork (พืชตระกูลปาล์ม)
Cork cambium
(พืชตระกูลปาล์ม)
vascular cambium
(พืชตระกูลปาล์ม/หมากผู้หมากเมีย)
Summer wood
(late wood)
spring wood
(early wood)
Primary
meristem
protoderm
procambium
Ground meristem
Free Powerpoint Templates
Page 142
สรุป : การจาแนกชนิดของลาต้น โดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ ดังนี้
1. ลาต้นเหนือดิน (aerial stem/terrestrial stem) : Tree / Shrub / Herb ***หน้าที่พิเศษ
1.1 Creeping stem (ขนานผิวดิน/น้า : ผักบุ้ง ผักกระเฉด ฟักทอง สตรอเบอรี่ หญ้า)
1.2 climbing stem (ไต่ขึ้นที่สูงตามหลักหรือตาต้นพืชชนิดอื่น)
- twining stem (เถาวัลย์ บอระเพ็ด) - stem tendril (องุ่น บวบ กระทกรก พวงชมพู)
- root climber (พลู พลูด่าง พริกไทย) - stem spine/stem thorn (เฟื่องฟ้า ไมยราบ)
1.3 cladophyll/phylloclade/cladode (กระบองเพชร พญาไร้ใบ หน่อไม้ฝรั่ง โปร่งฟ้า)
1.4 Bulbil/crown/slip (หอม กระเทียม สับปะรด)
2. ลาต้นใต้ดิน (underground stem)
2.1 Rhizome * ขิง ข่า ขมิ้น กล้วย พุทธรักษา
2.2 Tuber * มันฝรั่ง
2.3 Bulb * หอม กระเทียม
2.4 Corm * เผือก แห้วจีน
Free Powerpoint Templates
Page 143
Free Powerpoint Templates
Page 144
Free Powerpoint Templates
Page 145
Free Powerpoint Templates
Page 146
Free Powerpoint Templates
Page 147
Free Powerpoint Templates
Page 148
Free Powerpoint Templates
Page 149
Shoot Development
Free Powerpoint Templates
Page 150
Free Powerpoint Templates
Page 151
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 152
กลุ่มของมัดท่อลาเลียง (vascular bundle) จะกระจายทุกส่วนของลาต้น แต่มักอยู่รอบนอกมาก
ว่ารอบในและมัดท่อลาเลียงไม่มีเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างหรือแคมเบียมคั่นอยู่ พืชพวกนี้จึงเจริญเติบโต
ด้านข้างจากัด แต่มักจะสูงขึ้นได้มาก เนื่องจากพืชใบเลี้ยเดี่ยวมีเนื้อเยื่อเจริญบริเวณข้อทาให้ปล้องยืด
ยาวขึ้น ในพืชบางชนิดส่วนของพืชจะสลายไปกลายเป็นช่องกลวงอยู่กลางลาต้น เรียกว่า
“ ช่องพิธ ( Pith Cavity ) ” เช่น ในลาต้นของไผ่ หญ้า เป็นต้น
โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
Free Powerpoint Templates
Page 153
Free Powerpoint Templates
Page 154
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Lenticel Cork
Free Powerpoint Templates
Page 155
Free Powerpoint Templates
Page 156
การเจริญระยะทุติยภูมิ (Secondary growth) หรือ การเจริญด้านข้าง
(lateral growth) ของลาต้น แสดงวงปี (Annual ring)
1
2 3
Pith
Annual ring
(2 xylem)
Free Powerpoint Templates
Page 157
Free Powerpoint Templates
Page 158
Free Powerpoint Templates
Page 159
Free Powerpoint Templates
Page 160
Free Powerpoint Templates
Page 161
Free Powerpoint Templates
Page 162
ต้นหมากผู้หมากเมีย
ว่านหางจระเข้
เข็มกุดั่นศรนารายณ์
จันทร ์แดง
Free Powerpoint Templates
Page 163
Free Powerpoint Templates
Page 164
โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
Free Powerpoint Templates
Page 165
Free Powerpoint Templates
Page 166
Free Powerpoint Templates
Page 167
Free Powerpoint Templates
Page 168
โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ : เมื่อตัดลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ที่ยังอ่อนอยู่ตามขวาง แล้วนามาศึกษาจะพบลักษณะ
การเรียงตัวของลาต้นและรากคล้ายกันและลาต้นมีการเรียงตัว ดังนี้
1) เอพิเดอร์มิส ( Epidermis ) อยู่ชั้นนอกสุด ปกติเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวไม่มีคลอโรฟิลล์ อาจ
เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนหนาม หรือเซลล์คุม ( Guard Cell ) ผิวด้านนอกของเอพิดอร์มิสมักมีสารพวกคิว
ทิน เคลือบอยู่เพื่อป้องกันการระเหยของน้า
Free Powerpoint Templates
Page 169
2) คอร์เทกซ์ ( Cortex ) มีอาณาเขตแคบกว่าในรากเซลล์ ส่วนนี้ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรงคิมาเรียงตัวกัน
หลายชั้นเซลล์พวกนี้มักมีสีเขียวและสังเคราะห์ด้วยแสงได้ด้วยนอกจากนี้ยังช่วยสะสมน้าและอาหารให้แก่
พืช เซลล์ชั้นคอร์เทกซ์ที่อยู่ติดกับเอพิเดอร์มิสเป็นเซลล์เล็กๆ2-3 แถว คือ เซลล์พวกคอลเลงคิมาและมีเซลล์
สเกลอเรงคิมาแทรกอยู่ช่วยให้ลาต้นแข็งแรงขึ้นการแตกกิ่งของพืชจะแตกในชั้นนี้เรียกว่า“ เอกโซจีนัสบราน
ชิ่ง ( Exogenous branching )” ซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งเป็นเอนโดจีนัสบรานชิ่ง ชั้นในของคอร์เทกซ์ คือ เอนโด
เดอร์มิสเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวในลาต้น
พืชส่วนใหญ่มักเห็นชั้นเอนโดเดอร์มิสได้ไม่ชัดเจนหรือไม่เห็นเลยซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งมีและเห็น
ชัดเจน เซลล์ที่ทาหน้าที่ในการหลั่งสาร( Secretory Cell ) เช่น เรซิน ( Resin ) น้ายาง ( Latex ) ก็อยู่ในชั้นนี้
โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
Free Powerpoint Templates
Page 170
คอร ์เทกซ ์( Cortex )
Free Powerpoint Templates
Page 171
3) สตีล ( Stele ) ในลาต้นฃั้นสองของสตีลจะแคบมากและแบ่งออกจากชั้นของคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจน
นัก และแตกต่างจากในราก ประกอบด้วย
3.1 มัดท่อลาเลียง อยู่เป็นกลุ่มๆ ด้านในเป็นไซเลม ด้านนอกเป็นโฟลเอ็มเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน
โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
Free Powerpoint Templates
Page 172
3.2 วาสคิวลาร์เรย์ (vascular ray) เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมา (parenchyma) ที่อยู่ระหว่างมัดท่อลาเลียง
เชื่อมต่อระหว่างคอร์เทกซ์และพิธ
โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
Free Powerpoint Templates
Page 173
3.3 พิธ (Pith) อยู่ชั้นในสุดเป็นไส้ในของลาต้นประกอบด้วยเนื้อเยื่อพาเรงคิมา ทาหน้าที่สะสมแป้ง
หรือสารต่างๆ เช่น ผลึกแทนนิน (Tannin) พิธที่แทรกอยู่ในมัดท่อลาเลียงจะดูดคล้ายรัศมี เรียกว่า พิธ
เรย์ ( Pith Ray ) ทาหน้าที่สะสมอาหาร ช่วยลาเลียงน้า เกลือแร่ และอาหารไปทางด้านข้างของลาต้น
โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
Free Powerpoint Templates
Page 174
ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว : ส่วนใหญ่มีการเจริญเติบโตขั้นต้น ( Primary Growth ) เท่านั้น มีชั้น
ต่างๆเช่นเดียวกับพืชใบเลี้ยงคู่ต่างกันที่มัดท่อลาเลียงรวมกันเป็นกลุ่มๆประกอบด้วยเซลล์ค่อนข้างกลม
ขนาดใหญ่ 2 เซลล์ ซึ่งได้แก่ไซเลมและเซลล์เล็กๆ ด้านบนคือโฟลเอ็ม ส่วนทางด้านล่างของไซเลมเป็น
ช่องกลมๆ เช่นกันคือช่องอากาศมัดท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีบันเดิลชีท ( Bundle Sheath )
ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อพวกพาเรงคิมาที่มีแป้งสะสมหรืออาจเป็นเนื้อเยื่อสเกลอเรงคิมามาหุ้มล้อมรอบเอาไว้
โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
Free Powerpoint Templates
Page 175
Free Powerpoint Templates
Page 176
ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่กับลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
1. มีข้อและปล้องเห็นได้ชัดเจน
2. ไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา
3.มัดท่อน้าท่ออาหารกระจายไปทั่วลาต้น
4. ส่วนมากไม่มีแคมเบียม
5. ส่วนมากไม่มีการเจริญขั้นที่สอง
6. ส่วนมากไม่มีวงปี
7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการในการทางาน
1. เห็นได้ไม่ชัดเจนนัก
2. มีกิ่งก้านสาขามาก
3. มัดท่อน้าท่ออาหารเรียงตัวเป็นวงรอบลาต้น
4. ส่วนมากมีแคมเบียม นอกจากพืชล้มลุกบางชนิดไม่มี
5. ส่วนมากมีการเจริญขั้นที่สองและเจริญไปเรื่อยๆ
สัมพันธ์กับความสูง
6. ส่วนมากมีวงปี
7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการทางานสั้น แต่จะมีการ
สร้างขึ้นมาทดแทนอยู่เรื่อยๆ โดยแคมเบียม
Free Powerpoint Templates
Page 177
Free Powerpoint Templates
Page 178
Free Powerpoint Templates
Page 179
Free Powerpoint Templates
Page 180
Free Powerpoint Templates
Page 181
Free Powerpoint Templates
Page 182
Free Powerpoint Templates
Page 183
Free Powerpoint Templates
Page 184
Free Powerpoint Templates
Page 185
ชนิดของลาต้น (type of stem)
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
1) ต้นไม้ยืนต้น (tree)เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักต้นเดียว จากนั้นจึงแตกกิ่งก้านสาขาบริเวณยอด
ลักษณะเนื้อแข็ง ลาต้นมีขนาดใหญ่ อายุยืนหลายปี
Free Powerpoint Templates
Page 186
ชนิดของลาต้น (type of stem)
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
2) ต้นไม้พุ่ม (shrub) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักหลายต้น มักมีเนื้อไม้แข็งแต่มีขนาดเล็กว่าไม้ยืนต้น แตก
กิ่งก้านสาขาใกล้บริเวณผิวดิน
Free Powerpoint Templates
Page 187
ชนิดของลาต้น (type of stem)
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
3) ต้นไม้ล้มลุก (herb) เป็นต้นไม้ที่มีเนื้อไม้อ่อนหรือไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใหญ่มีอายุปีเดียว บางชนิดอาจ
อยู่ได้สองปี เมื่อครบวัฏจักรชีวิตจะตายไป ไม้ล้มลุกบางชนิดที่มีลาต้นอยู่ใต้ดิน เมื่อส่วนที่อยู่เหนือดินตาย
ส่วนที่อยู่ใต้ดินจะพักตัวอยู่และงอกในฤดูถัดไป
Free Powerpoint Templates
Page 188
ชนิดของลาต้น (type of stem)
จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้
1) ลาต้นที่มีเนื้อไม้ (woody stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม
Free Powerpoint Templates
Page 189
ชนิดของลาต้น (type of stem)
จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้
2) ลาต้นที่ไม่มีเนื้อไม้ (herbaceous stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภท ไม้ล้มลุก
Free Powerpoint Templates
Page 190
Free Powerpoint Templates
Page 191
Free Powerpoint Templates
Page 192
ลาต้นเลื้อยขนานไปกับผิวดิน หรือผิวน้า (Prostrate หรือ Creeping stem)
ส่วนใหญ่ของพืชพวกนี้มีลาต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้ จึงต้องเลื้อยขนานไปกับผิวดิน เช่น ผักบุ้ง หญ้า แตงโม
บัวบก ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็นต้นบริเวณข้อมีรากแตกเป็นแขนงออกมาแล้วปักลงดินเพื่อยึดลา
ต้นให้ติดแน่นกับที่มีการแตกแขนงลาต้นออกจากตาบริเวณที่เป็นข้อ ทาให้มีลาต้นแตกแขนงออกไป ซึ่งเป็นการ
แพร่พันธุ์วิธีหนึ่ง แขนงที่แตกออกมาเลื้อยขนานไปกับผิวดินหรือน้านี้เรียกว่า สโตลอน (Stolon) หรือรันเนอร์
(Runner) ที่ตรงกับภาษาไทยว่า ไหล
Free Powerpoint Templates
Page 193
ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber)
1) ใช้ลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้น
ไป (Twining stem หรือ Twiner) การพัน
อาจเวียนซ้าย หรือเวียนขวา เช่น ต้นถั่ว
ฝอยทอง เถาวัลย์ชนิดต่าง ๆ ผักบุ้งฝรั่ง
บอระเพ็ด
พืชพวกนี้มีลำต้นอ่อนเช่นเดียวกับพวกแรก แต่ไต่ขึ้นสูงโดยขึ้นไปตำมหลักหรือต้นไม้ที่อยู่
ติดกันวิธีกำรไต่ขึ้นสูงนั้นมีอยู่หลำยวิธีคือ
แสดงลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไปพวกเถาวัลย์
Free Powerpoint Templates
Page 194
Free Powerpoint Templates
Page 195
Free Powerpoint Templates
Page 196
ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber)
2) ลาต้นเปลี่ยนเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ
Tendril climber) มือเกาะจะบิดเป็นเกลียวคล้ายสปริง
เพื่อให้มีการยืดหยุ่น เมื่อลมพัดผ่านมือเกาะจะยืดหดได้
ตัวอย่างเช่น ต้นบวบ น้าเต้า ฟักทอง องุ่น แตงกวา
พวงชมพู กะทกรก ลิ้นมังกร เสาวรส โคกกระออม เป็นต้น
(บางครั้ง Tendril อาจเกิดจากใบที่เปลี่ยนแปลงไปจะทราบ
จากการสังเกต เช่น ใบถั่วลันเตา ตาลึง มะระ บริเวณปลาย
ใบเปลี่ยนไปเป็นมือเกาะ) แสดงลาต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลง
ไปเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ
Tendril climber) ของต้นพวงชมพู
Free Powerpoint Templates
Page 197
Free Powerpoint Templates
Page 198
ลาต้นใช้รากพัน (Root climber)
เป็นลาต้นที่ไต่ขึ้นสูงโดยงอกรากออกมาบริเวณข้อ
ยึดกับหลักหรือต้นไม้ต้นอื่น ตัวอย่างเช่น ต้นพลู พลูด่าง
พริกไทย รากพืชเหล่านี้หากยึดติดกับต้นไม้จะไม่แทง
รากเข้าไปในลาต้นของพืชที่เกาะ ไม่เหมือนพวกกาฝาก
หรือฝอยทองซึ่งเป็นพืชปรสิตที่แทงรากเข้าไปในมัดท่อ
ลาเลียงของพืชที่เกาะ
แสดงใช้รากพัน (Root climber) ของต้นพลูด่าง
Free Powerpoint Templates
Page 199
ลาต้นเปลี่ยนเป็นหนาม (Stem spine หรือ Stem thorn)
หรือขอเกี่ยว (Hook) บางทีเรียกลาต้นชนิดนี้
ว่า สแครมเบลอร์ (Scrambler) เพื่อใช้ในการไต่ขึ้น
ที่สูง และยังทาหน้าที่ป้องกันอันตรายอีกด้วย เช่น
หนามของต้นเฟื่องฟ้าหรือตรุษจีน มะนาว มะกรูด
และส้มชนิดต่าง ๆ หนามเหล่านี้จะแตกออกมาจาก
ตาที่อยู่บริเวณซอกใบ หนามบางชนิดเปลี่ยนแปลง
มาจากใบ หนามบางชนิดไม่ใช่ทั้งลาต้น ใบและกิ่ง
ที่เปลี่ยนแปลงไป แต่เกิดจากผิวนอกของลาต้นงอก
ออกมาเป็นหนาม เช่น หนามกุหลาบส่วนต้น
กระดังงา และการเวก มีขอเกี่ยวที่เปลี่ยนแปลงมา
จากลาต้นแล้วยังมีดอกออกมาจากขอเกี่ยวได้ด้วย
Free Powerpoint Templates
Page 200
Free Powerpoint Templates
Page 201
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบ (Cladophyll หรือ Phylloclade หรือ Cladode)
ลาต้นที่เปลี่ยนไปอาจแผ่แบนคล้ายใบหรือเป็นเส้นเล็กยาวและยังมีสีเขียว
ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นใบ เช่น สนทะเล หรือ สนประดิพัทธ์ ที่มีสีเขียวต่อกันเป็น
ท่อน ๆ นั้นเป็นส่วนของลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไป ส่วนใบที่แท้จริงเป็นแผ่นเล็ก ๆ ติด
อยู่รอบ ๆ ข้อ เรียกว่า ใบเกล็ด (Scale leaf) เช่นเดียวกับต้นโปร่งฟ้า (Asparcus) ที่
เห็นเป็นเส้นฝอยแผ่กระจายอยู่เป็นแผงและมีสีเขียวนั้นเป็นลาต้น ส่วนใบเป็นใบ
เกล็ดเล็กๆ ติดอยู่ตรงข้อ
นอกจากนั้นยังมีลาต้นอวบน้า(Succulent) เป็นลาต้นของพืชที่อยู่ในที่แห้ง
แล้งกันดารน้า จึงมีการสะสมน้าไว้ในลาต้น เช่น ต้นกระบองเพชร สลัดได และ
พญาไร้ใบ ลาต้นบางชนิดอาจเกิดจากตาหรือหน่อเล็กๆ ที่อยู่เป็นยอดอ่อนหรือใบ
เล็ก ๆประมาณ 2-3 ใบที่แตกออกบริเวณซอกใบกับลาต้น หรือแตกออกจากยอดลา
ต้นแทนดอก เมื่อหลุดออกจากต้นเดิมร่วงลงดินสามารถเจริญไปเป็นต้นใหม่ได้
ตัวอย่างเช่นหอม กระเทียม ตะเกียงสับปะรด ศรนารายณ์ เป็นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 202
Free Powerpoint Templates
Page 203
Free Powerpoint Templates
Page 204
Free Powerpoint Templates
Page 205
Free Powerpoint Templates
Page 206Phylloclade
Free Powerpoint Templates
Page 207
แง่งหรือเหง้า (Rhizome)
ลาต้นใต้ดินจะอยู่ขนานกับผิวดินเห็นข้อปล้องได้ชัดเจน
ตามข้อมีใบสีน้าตาลที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีลักษณะเป็นเกล็ด
เรียกว่าใบเกล็ด หุ้มตาเอาไว้ มีรากงอกออกจากเหง้า หรือ
แง่งนั้น ๆ ตาอาจแตกแขนงเป็นใบอยู่เหนือดิน หรือเป็นลา
ต้นอยู่ใต้ดินก็ได้ เช่น หญ้าแห้วหมู ขิง ข่า ขมิ้น มันฝรั่ง
ว่านสะระแหน่ หญ้าแพรก พุทธรักษา กล้วย เป็นต้น
แสดงลาต้นใต้ดินชนิด แง่งหรือเหง้า
(Rhizome) ของต้นว่านมหาปราบ
Free Powerpoint Templates
Page 208
Free Powerpoint Templates
Page 209
ทูเบอร์ (Tuber)
เป็นลาต้นใต้ดินที่งอกออกมาจากปลายไรโซมมี
ปล้องเพียง 3-4 ปล้อง ตามข้อไม่มีใบเกล็ดและราก
สะสมอาหารเอาไว้มากในลาต้นส่วนใต้ดิน จึงดูอ้วน
ใหญ่กว่าหัวชนิดไรโซม แต่บริเวณที่เป็นตาจะบุ๋มลงไป
ตัวอย่างเช่น มันฝรั่ง เหนือดินมีลาต้น และใต้ดินมีไร
โซม ซึ่งบริเวณปลายพองออกเป็นทูเบอร์ ดังในรูปที่ชี้
ว่าเป็น “Eye” นั้นคือตานั่นเองถ้ามีความชื้นพอเพียง
ต้นใหม่จะงอกออกมาจากบริเวณตา ซึ่งผิดกับหัวมัน
เทศซึ่งเป็นรากไม่สามารถงอกต้นใหม่จากบริเวณหัวที่
มีรอยบุ๋มได้ เพราะไม่ใช่ตา ตัวอย่างอื่น ๆ ของหัวชนิดทู
เบอร์ ได้แก่ หญ้าแห้วหมู หัวมันมือเสือ มันกลอย
Free Powerpoint Templates
Page 210
Free Powerpoint Templates
Page 211
หัวกลีบ หรือบัลบ์ (Bulb)
เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง อาจมีส่วนพ้นดินขึ้นมาบ้างก็ได้ ลา
ต้นมีขนาดเล็กที่มีปล้องที่สั้นมากบริเวณปล้องมีใบเกล็ดที่ซ้อนกัน
หลายชั้นจนเห็นเป็นหัว เช่น หัวหอม หัวกระเทียม อาหารสะสมอยู่
ในใบเกล็ดในลาต้นไม่มีอาหารสะสมบริเวณส่วนล่างของลาต้นมี
รากเส้นเล็ก ๆ แตกออกมาหลายเส้นเมื่อนาหัวหอมมาผ่าตามยาวจะ
พบใบเกล็ดเป็นชั้น ๆ ชั้นนอกสุดเป็นแผ่นบาง ๆ เนื่องจากไม่มี
อาหารสะสม ชั้นถัดเข้าไปมีอาหารสะสม จึงมีความหนากว่าแผ่น
นอกชั้นในสุดของลาต้นเป็นส่วนยอดถ้าเอาหัวชนิดนี้ไปปลูกส่วน
ยอดจะงอกออกมาเป็นใบสีเขียว
แสดงลาต้นใต้ดิน ชนิดหัวกลีบหรือบัลบ์ (Bulb)
ของต้นแสนพันล้อม
Free Powerpoint Templates
Page 212
Free Powerpoint Templates
Page 213
Free Powerpoint Templates
Page 214
คอร์ม (Corm)
ลักษณะของลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง
เช่นเดียวกับหัวกลีบ ลักษณะที่แตกต่างกันคือ
เก็บอาหารไว้ในลาต้นแทนที่จะเก็บไว้ในใบเกล็ด
ลาต้นจึงมีลักษณะอวบใหญ่ ทางด้านล่างของลา
ต้นมีรากเส้นเล็ก ๆ หลาย ๆ เส้นที่ข้อมีใบเกล็ด
บาง ๆ หุ้ม ตาแตกออกมาจากข้อเป็นใบชูขึ้นสูง
หรืออาจเป็นลาต้นใต้ดินต่อไป ตัวอย่างเช่น
เผือก ซ่อนกลิ่นฝรั่ง และแห้ว เป็นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 215
Free Powerpoint Templates
Page 216
“THE END”
THANK YOU
FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
Wichai Likitponrak
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
Wichai Likitponrak
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
09nattakarn
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
saruta38605
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
Wichai Likitponrak
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
Nichaphat Sanguthai
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
Sircom Smarnbua
 
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไขการสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
Isaree Kowin
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไขการสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Lesson2plant1bykruwichai62

  • 1. Free Powerpoint Templates Page 1 บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก (Plant Structure and Function) : part 1 รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2. Free Powerpoint Templates Page 2 ครูผู้สอน • นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา : – พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล – พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช – พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต – พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช – พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3. Free Powerpoint Templates Page 3 พืช (plant) : Multicellular organism : tissue eukaryotic cell : nucleus / membrane organelle cell wall ; cellulose/hemicellulose/lignin Chloroplast : chlorophyll a,b/carotenoid Photosynthesis : autotroph/producer Alternation of generation : Embryo development
  • 8. Free Powerpoint Templates Page 8 อาณาจักรพืช ได้แบ่งออกเป็น 10 ไฟลัม ดังนี้ พืช มีเนื้อเยื่อและเอมบริโอ ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง มีเนื้อเยื่อลาเลียง P. Hepatophyta P. Anthocerophyta P. Bryophyta P. Lycophyta P. Pterophyta ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด P. Cycadophyta P. Ginkgophyta P. Coniferophyta P. Gnetophyta P. Anthophyta - Monocotyledon - Dicotyledon
  • 10. Free Powerpoint Templates Page 10 Sap/large permeable Middle lamella Chlorophyll photosynthesis
  • 18. Free Powerpoint Templates Page 18 สรุปเน้นสอบ !!! เกี่ยวกับ plant cell • Cell wall ประกอบด้วย – Middle lamella: PECTIN (แนวเชื่อมต่อ 2 เซลล์พืช : BETWEEN CELL WALL 2 plant cell) – Primary cell WALL : CELLULOSE (BETA-GLUCOSE / NETWORK) : LIVING CELL (ALL) – SECONDARY CELL WALL : LIGNIN SUBERIN (REGID / INNER) : DEAD CELL (SOME) กระบวนการสร้าง cell wall Phragmoplast ➔cell plate ➔middle lamella➔1cell wall (all) ➔2cellwall (some) การติดต่อสื่อสารระหว่าง plant cell ที่อยู่ติดกัน : permeability 1. Plasmodesmata : cytoplasmic connecting channel 2. Pit : fully permeable of water (apoplast) แบ่งเป็น 3 แบบ 2.1 Primarypit : primary cell wall (all living) 2.2 Simple pit : secondary cell wall (รอยเว้าเรียบไม่มีขอบ : sclerenchyma) 2.3 Bordered pit : secondary cell wall (รอยเว้ามีขอบยกนูน : xylem)
  • 20. Free Powerpoint Templates Page 20 ทิศทางการสร้าง cell wall
  • 23. Free Powerpoint Templates Page 23 Permeability apoplast Cytoplasmic steaming
  • 31. Free Powerpoint Templates Page 31 เนื้อเยื่อพืช (Plant Tissues) ประเภทของเนื้อเยื่อ มีความแตกต่างตามเกณฑ์ที่ใช้จาแนก I. จาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด 1. Dermal tissue : epidermis, cork [protoderm] 2. Ground tissue : parenchyma, collenchyma, sclerenchyma ,endodermis , pericycle (พบเฉพาะในโครงสร้างภายในรากเท่านั้น)[groud meristem] 3. Vascular tissue : xylem, phloem [procambium] II. จาแนกตามการเจริญเติบโต ได้ 2 ชนิด 1. Primary tissue : เนื้อเยื่อที่อยู่ในprimary growth : แนวความสูง 2. Secondary tissue : เนื้อเยื่อที่อยู่ในsecondary growth : แนวความกว้าง III. จาแนกตามความสามารถในการแบ่งตัวได้ 2 ชนิด 1. Meristematic tissue (เนื้อเยื่อเจริญ): apical / intercalary / lateral 2. Permanent tissue (เนื้อเยื่อถาวร): simple / complex (xylem, phloem) Primary meristem
  • 32. Free Powerpoint Templates Page 32 Plant tissue meristem permanent apical intercalary lateral root shoot cambium Vascular cambium Cork cambium simple complex epidermis cork parenchyma collenchyma sclerenchyma endodermis pericycle xylem phloem tracheid vessel Xy paren Xy fiber Sieve tube companion Phlo paren Phlo fiber root
  • 33. Free Powerpoint Templates Page 33 เนื้อเยื่อเจริญของพืช (Meristematic tissue of Plant)
  • 34. Free Powerpoint Templates Page 34 wood Inner bark
  • 37. Free Powerpoint Templates Page 37 Summer wood spring wood
  • 38. Free Powerpoint Templates Page 38 Plant tissue Primary meristem protoderm procambium Ground meristem Vascular tissue XylemDermal tissue ground tissue phloem epidermis cork endodermis pericycle root parenchyma collenchyma sclerenchyma Plant tissue Primary growth secondary growth meristem apical intercalary epidermis 1 xylem / 1 phloem meristem Vascular cambium Cork cam (phellogen)Cork (phellem) 2 xylem / 2 phloem
  • 42. Free Powerpoint Templates Page 42 Simple permanent tissue epidermis Cork (phellem) parenchyma collenchyma sclerenchyma endodermis pericycle root Root hair trichome Gland cell Guard cell Subsidiary cell Cork cambium (phellogen) 1 growth 2 growth Cork paren (phelloderm) Periderm (outer bark) Chlorenchyma AerenchymaMost,storage Mesophyll (palisade / spongy) Hydrophyte (floating) Living : strength dead : strength angularlarmella larcunar fiber scleried Casparial strip Passage cell Radial wall/transverse wall symplast (ยอมให้ผ่านเข้าท่อลาเลียงด้านใน) apoplast Lateral (2) root : dicot (tap/1 root) 3 ประเภท 2 ประเภท หน้าที่พิเศษ
  • 51. Free Powerpoint Templates Page 51 โครงสร้างรากและลาต้น ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1. Cortex (ชั้นนอก) 2. Stele (ชั้นใน) : Pith (แกนกลางด้านในสุดของรากและลาต้นบางชนิด) โดยราก cortex จะกว้าง stele จะแคบ ตรงข้ามกับลาต้นที่ cortex จะแคบ stele จะกว้าง รากและลาต้นของพืชดอก cortex stele cortex stele
  • 53. Free Powerpoint Templates Page 53 ชั้นในสุดของ cortex ชั้นนอกสุดของ stele เน้นสอบ ! ราก cortex กว้าง stele แคบ (ลาต้น ≠)
  • 58. Free Powerpoint Templates Page 58 Complex permanent tissue xylem phloem tracheid vessel Xylem parenchyma Xylem fiber Sieve tube companion Phloem parenchyma Phloem fiber ตายแล้ว ท่อเรียวยาว แหลมหัวท้าย พบทุกชนิด ตายแล้ว ท่ออวบสั้น ปลายเปิ ดต่อเนื่อง พบเฉพาะพืชดอก มีชีวิต สะสมสารและลาเลียงรัศมี (xylem ray) ตายแล้ว เส้นใยให้ความแข็งแรงโครงสร้าง มีชีวิต ไม่มีนิวเคลียส ลาเลียงซูโครส (อาหาร) มีชีวิต นิวเคลียสใหญ่ แนบติดซีฟทิวป์ ช่วยทางาน มีชีวิต สะสมสารและลาเลียงรัศมี (phloem ray) ตายแล้ว เส้นใยให้ความแข็งแรงโครงสร้าง
  • 62. Free Powerpoint Templates Page 62 1. Dermal tissue (เนื้อเยื่อบุผิว) 2. Vascular tissue (เนื้อเยื่อลาเลียง) 3. Ground tissue (เนื้อเยื่อพื้นฐาน) เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบ ได้แก่
  • 66. Free Powerpoint Templates Page 66 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 68. Free Powerpoint Templates Page 68 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 78. Free Powerpoint Templates Page 78 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 79. Free Powerpoint Templates Page 79 cutin Stem/leaf
  • 83. Free Powerpoint Templates Page 83 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 84. Free Powerpoint Templates Page 84 Outer bark periderm inner bark Sap wood heart wood Phellem/phellogen/ phelloderm Cork parenchyma
  • 89. Free Powerpoint Templates Page 89 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 96. Free Powerpoint Templates Page 96 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 98. Free Powerpoint Templates Page 98 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Parenchyma Collenchyma
  • 99. Free Powerpoint Templates Page 99 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 105. Free Powerpoint Templates Page 105 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก : symplast
  • 106. Free Powerpoint Templates Page 106 Passage cell
  • 107. Free Powerpoint Templates Page 107 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 108. Free Powerpoint Templates Page 108 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 109. Free Powerpoint Templates Page 109 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 118. Free Powerpoint Templates Page 118 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 121. Free Powerpoint Templates Page 121 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 122. Free Powerpoint Templates Page 122 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 125. Free Powerpoint Templates Page 125 Types of Vascular Bundles in Plants
  • 127. Free Powerpoint Templates Page 127 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 133. Free Powerpoint Templates Page 133 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 141. Free Powerpoint Templates Page 141 ลาต้น (stem) ส่วนประกอบสาคัญ Node มี bud : กิ่ง ดอก ใบ ผล internode: intercalary meristem Function Shoot apex transportation พิเศษ*** Internal structure supporting Shoot apical meristem (region of cell division) Leaf primordial Young leaf Bud primordial (axillary bud) Young stem X-section stem Primary growth secondary growth epidermis Cortex (paren/collen/scleren) Stele (vascular bundle) Pith (pith cavity) dicot monocot Cork (พืชตระกูลปาล์ม) Cork cambium (พืชตระกูลปาล์ม) vascular cambium (พืชตระกูลปาล์ม/หมากผู้หมากเมีย) Summer wood (late wood) spring wood (early wood) Primary meristem protoderm procambium Ground meristem
  • 142. Free Powerpoint Templates Page 142 สรุป : การจาแนกชนิดของลาต้น โดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ ดังนี้ 1. ลาต้นเหนือดิน (aerial stem/terrestrial stem) : Tree / Shrub / Herb ***หน้าที่พิเศษ 1.1 Creeping stem (ขนานผิวดิน/น้า : ผักบุ้ง ผักกระเฉด ฟักทอง สตรอเบอรี่ หญ้า) 1.2 climbing stem (ไต่ขึ้นที่สูงตามหลักหรือตาต้นพืชชนิดอื่น) - twining stem (เถาวัลย์ บอระเพ็ด) - stem tendril (องุ่น บวบ กระทกรก พวงชมพู) - root climber (พลู พลูด่าง พริกไทย) - stem spine/stem thorn (เฟื่องฟ้า ไมยราบ) 1.3 cladophyll/phylloclade/cladode (กระบองเพชร พญาไร้ใบ หน่อไม้ฝรั่ง โปร่งฟ้า) 1.4 Bulbil/crown/slip (หอม กระเทียม สับปะรด) 2. ลาต้นใต้ดิน (underground stem) 2.1 Rhizome * ขิง ข่า ขมิ้น กล้วย พุทธรักษา 2.2 Tuber * มันฝรั่ง 2.3 Bulb * หอม กระเทียม 2.4 Corm * เผือก แห้วจีน
  • 149. Free Powerpoint Templates Page 149 Shoot Development
  • 151. Free Powerpoint Templates Page 151 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 152. Free Powerpoint Templates Page 152 กลุ่มของมัดท่อลาเลียง (vascular bundle) จะกระจายทุกส่วนของลาต้น แต่มักอยู่รอบนอกมาก ว่ารอบในและมัดท่อลาเลียงไม่มีเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างหรือแคมเบียมคั่นอยู่ พืชพวกนี้จึงเจริญเติบโต ด้านข้างจากัด แต่มักจะสูงขึ้นได้มาก เนื่องจากพืชใบเลี้ยเดี่ยวมีเนื้อเยื่อเจริญบริเวณข้อทาให้ปล้องยืด ยาวขึ้น ในพืชบางชนิดส่วนของพืชจะสลายไปกลายเป็นช่องกลวงอยู่กลางลาต้น เรียกว่า “ ช่องพิธ ( Pith Cavity ) ” เช่น ในลาต้นของไผ่ หญ้า เป็นต้น โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
  • 154. Free Powerpoint Templates Page 154 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Lenticel Cork
  • 156. Free Powerpoint Templates Page 156 การเจริญระยะทุติยภูมิ (Secondary growth) หรือ การเจริญด้านข้าง (lateral growth) ของลาต้น แสดงวงปี (Annual ring) 1 2 3 Pith Annual ring (2 xylem)
  • 162. Free Powerpoint Templates Page 162 ต้นหมากผู้หมากเมีย ว่านหางจระเข้ เข็มกุดั่นศรนารายณ์ จันทร ์แดง
  • 164. Free Powerpoint Templates Page 164 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
  • 168. Free Powerpoint Templates Page 168 โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem) ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ : เมื่อตัดลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ที่ยังอ่อนอยู่ตามขวาง แล้วนามาศึกษาจะพบลักษณะ การเรียงตัวของลาต้นและรากคล้ายกันและลาต้นมีการเรียงตัว ดังนี้ 1) เอพิเดอร์มิส ( Epidermis ) อยู่ชั้นนอกสุด ปกติเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวไม่มีคลอโรฟิลล์ อาจ เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนหนาม หรือเซลล์คุม ( Guard Cell ) ผิวด้านนอกของเอพิดอร์มิสมักมีสารพวกคิว ทิน เคลือบอยู่เพื่อป้องกันการระเหยของน้า
  • 169. Free Powerpoint Templates Page 169 2) คอร์เทกซ์ ( Cortex ) มีอาณาเขตแคบกว่าในรากเซลล์ ส่วนนี้ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรงคิมาเรียงตัวกัน หลายชั้นเซลล์พวกนี้มักมีสีเขียวและสังเคราะห์ด้วยแสงได้ด้วยนอกจากนี้ยังช่วยสะสมน้าและอาหารให้แก่ พืช เซลล์ชั้นคอร์เทกซ์ที่อยู่ติดกับเอพิเดอร์มิสเป็นเซลล์เล็กๆ2-3 แถว คือ เซลล์พวกคอลเลงคิมาและมีเซลล์ สเกลอเรงคิมาแทรกอยู่ช่วยให้ลาต้นแข็งแรงขึ้นการแตกกิ่งของพืชจะแตกในชั้นนี้เรียกว่า“ เอกโซจีนัสบราน ชิ่ง ( Exogenous branching )” ซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งเป็นเอนโดจีนัสบรานชิ่ง ชั้นในของคอร์เทกซ์ คือ เอนโด เดอร์มิสเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวในลาต้น พืชส่วนใหญ่มักเห็นชั้นเอนโดเดอร์มิสได้ไม่ชัดเจนหรือไม่เห็นเลยซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งมีและเห็น ชัดเจน เซลล์ที่ทาหน้าที่ในการหลั่งสาร( Secretory Cell ) เช่น เรซิน ( Resin ) น้ายาง ( Latex ) ก็อยู่ในชั้นนี้ โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
  • 170. Free Powerpoint Templates Page 170 คอร ์เทกซ ์( Cortex )
  • 171. Free Powerpoint Templates Page 171 3) สตีล ( Stele ) ในลาต้นฃั้นสองของสตีลจะแคบมากและแบ่งออกจากชั้นของคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจน นัก และแตกต่างจากในราก ประกอบด้วย 3.1 มัดท่อลาเลียง อยู่เป็นกลุ่มๆ ด้านในเป็นไซเลม ด้านนอกเป็นโฟลเอ็มเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
  • 172. Free Powerpoint Templates Page 172 3.2 วาสคิวลาร์เรย์ (vascular ray) เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมา (parenchyma) ที่อยู่ระหว่างมัดท่อลาเลียง เชื่อมต่อระหว่างคอร์เทกซ์และพิธ โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
  • 173. Free Powerpoint Templates Page 173 3.3 พิธ (Pith) อยู่ชั้นในสุดเป็นไส้ในของลาต้นประกอบด้วยเนื้อเยื่อพาเรงคิมา ทาหน้าที่สะสมแป้ง หรือสารต่างๆ เช่น ผลึกแทนนิน (Tannin) พิธที่แทรกอยู่ในมัดท่อลาเลียงจะดูดคล้ายรัศมี เรียกว่า พิธ เรย์ ( Pith Ray ) ทาหน้าที่สะสมอาหาร ช่วยลาเลียงน้า เกลือแร่ และอาหารไปทางด้านข้างของลาต้น โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
  • 174. Free Powerpoint Templates Page 174 ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว : ส่วนใหญ่มีการเจริญเติบโตขั้นต้น ( Primary Growth ) เท่านั้น มีชั้น ต่างๆเช่นเดียวกับพืชใบเลี้ยงคู่ต่างกันที่มัดท่อลาเลียงรวมกันเป็นกลุ่มๆประกอบด้วยเซลล์ค่อนข้างกลม ขนาดใหญ่ 2 เซลล์ ซึ่งได้แก่ไซเลมและเซลล์เล็กๆ ด้านบนคือโฟลเอ็ม ส่วนทางด้านล่างของไซเลมเป็น ช่องกลมๆ เช่นกันคือช่องอากาศมัดท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีบันเดิลชีท ( Bundle Sheath ) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อพวกพาเรงคิมาที่มีแป้งสะสมหรืออาจเป็นเนื้อเยื่อสเกลอเรงคิมามาหุ้มล้อมรอบเอาไว้ โครงสร้างภายในลาต้น (internal structure of stem)
  • 176. Free Powerpoint Templates Page 176 ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่กับลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ 1. มีข้อและปล้องเห็นได้ชัดเจน 2. ไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา 3.มัดท่อน้าท่ออาหารกระจายไปทั่วลาต้น 4. ส่วนมากไม่มีแคมเบียม 5. ส่วนมากไม่มีการเจริญขั้นที่สอง 6. ส่วนมากไม่มีวงปี 7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการในการทางาน 1. เห็นได้ไม่ชัดเจนนัก 2. มีกิ่งก้านสาขามาก 3. มัดท่อน้าท่ออาหารเรียงตัวเป็นวงรอบลาต้น 4. ส่วนมากมีแคมเบียม นอกจากพืชล้มลุกบางชนิดไม่มี 5. ส่วนมากมีการเจริญขั้นที่สองและเจริญไปเรื่อยๆ สัมพันธ์กับความสูง 6. ส่วนมากมีวงปี 7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการทางานสั้น แต่จะมีการ สร้างขึ้นมาทดแทนอยู่เรื่อยๆ โดยแคมเบียม
  • 185. Free Powerpoint Templates Page 185 ชนิดของลาต้น (type of stem) สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 1) ต้นไม้ยืนต้น (tree)เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักต้นเดียว จากนั้นจึงแตกกิ่งก้านสาขาบริเวณยอด ลักษณะเนื้อแข็ง ลาต้นมีขนาดใหญ่ อายุยืนหลายปี
  • 186. Free Powerpoint Templates Page 186 ชนิดของลาต้น (type of stem) สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 2) ต้นไม้พุ่ม (shrub) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักหลายต้น มักมีเนื้อไม้แข็งแต่มีขนาดเล็กว่าไม้ยืนต้น แตก กิ่งก้านสาขาใกล้บริเวณผิวดิน
  • 187. Free Powerpoint Templates Page 187 ชนิดของลาต้น (type of stem) สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 3) ต้นไม้ล้มลุก (herb) เป็นต้นไม้ที่มีเนื้อไม้อ่อนหรือไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใหญ่มีอายุปีเดียว บางชนิดอาจ อยู่ได้สองปี เมื่อครบวัฏจักรชีวิตจะตายไป ไม้ล้มลุกบางชนิดที่มีลาต้นอยู่ใต้ดิน เมื่อส่วนที่อยู่เหนือดินตาย ส่วนที่อยู่ใต้ดินจะพักตัวอยู่และงอกในฤดูถัดไป
  • 188. Free Powerpoint Templates Page 188 ชนิดของลาต้น (type of stem) จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้ 1) ลาต้นที่มีเนื้อไม้ (woody stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม
  • 189. Free Powerpoint Templates Page 189 ชนิดของลาต้น (type of stem) จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้ 2) ลาต้นที่ไม่มีเนื้อไม้ (herbaceous stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภท ไม้ล้มลุก
  • 192. Free Powerpoint Templates Page 192 ลาต้นเลื้อยขนานไปกับผิวดิน หรือผิวน้า (Prostrate หรือ Creeping stem) ส่วนใหญ่ของพืชพวกนี้มีลาต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้ จึงต้องเลื้อยขนานไปกับผิวดิน เช่น ผักบุ้ง หญ้า แตงโม บัวบก ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็นต้นบริเวณข้อมีรากแตกเป็นแขนงออกมาแล้วปักลงดินเพื่อยึดลา ต้นให้ติดแน่นกับที่มีการแตกแขนงลาต้นออกจากตาบริเวณที่เป็นข้อ ทาให้มีลาต้นแตกแขนงออกไป ซึ่งเป็นการ แพร่พันธุ์วิธีหนึ่ง แขนงที่แตกออกมาเลื้อยขนานไปกับผิวดินหรือน้านี้เรียกว่า สโตลอน (Stolon) หรือรันเนอร์ (Runner) ที่ตรงกับภาษาไทยว่า ไหล
  • 193. Free Powerpoint Templates Page 193 ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber) 1) ใช้ลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้น ไป (Twining stem หรือ Twiner) การพัน อาจเวียนซ้าย หรือเวียนขวา เช่น ต้นถั่ว ฝอยทอง เถาวัลย์ชนิดต่าง ๆ ผักบุ้งฝรั่ง บอระเพ็ด พืชพวกนี้มีลำต้นอ่อนเช่นเดียวกับพวกแรก แต่ไต่ขึ้นสูงโดยขึ้นไปตำมหลักหรือต้นไม้ที่อยู่ ติดกันวิธีกำรไต่ขึ้นสูงนั้นมีอยู่หลำยวิธีคือ แสดงลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไปพวกเถาวัลย์
  • 196. Free Powerpoint Templates Page 196 ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber) 2) ลาต้นเปลี่ยนเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ Tendril climber) มือเกาะจะบิดเป็นเกลียวคล้ายสปริง เพื่อให้มีการยืดหยุ่น เมื่อลมพัดผ่านมือเกาะจะยืดหดได้ ตัวอย่างเช่น ต้นบวบ น้าเต้า ฟักทอง องุ่น แตงกวา พวงชมพู กะทกรก ลิ้นมังกร เสาวรส โคกกระออม เป็นต้น (บางครั้ง Tendril อาจเกิดจากใบที่เปลี่ยนแปลงไปจะทราบ จากการสังเกต เช่น ใบถั่วลันเตา ตาลึง มะระ บริเวณปลาย ใบเปลี่ยนไปเป็นมือเกาะ) แสดงลาต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลง ไปเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ Tendril climber) ของต้นพวงชมพู
  • 198. Free Powerpoint Templates Page 198 ลาต้นใช้รากพัน (Root climber) เป็นลาต้นที่ไต่ขึ้นสูงโดยงอกรากออกมาบริเวณข้อ ยึดกับหลักหรือต้นไม้ต้นอื่น ตัวอย่างเช่น ต้นพลู พลูด่าง พริกไทย รากพืชเหล่านี้หากยึดติดกับต้นไม้จะไม่แทง รากเข้าไปในลาต้นของพืชที่เกาะ ไม่เหมือนพวกกาฝาก หรือฝอยทองซึ่งเป็นพืชปรสิตที่แทงรากเข้าไปในมัดท่อ ลาเลียงของพืชที่เกาะ แสดงใช้รากพัน (Root climber) ของต้นพลูด่าง
  • 199. Free Powerpoint Templates Page 199 ลาต้นเปลี่ยนเป็นหนาม (Stem spine หรือ Stem thorn) หรือขอเกี่ยว (Hook) บางทีเรียกลาต้นชนิดนี้ ว่า สแครมเบลอร์ (Scrambler) เพื่อใช้ในการไต่ขึ้น ที่สูง และยังทาหน้าที่ป้องกันอันตรายอีกด้วย เช่น หนามของต้นเฟื่องฟ้าหรือตรุษจีน มะนาว มะกรูด และส้มชนิดต่าง ๆ หนามเหล่านี้จะแตกออกมาจาก ตาที่อยู่บริเวณซอกใบ หนามบางชนิดเปลี่ยนแปลง มาจากใบ หนามบางชนิดไม่ใช่ทั้งลาต้น ใบและกิ่ง ที่เปลี่ยนแปลงไป แต่เกิดจากผิวนอกของลาต้นงอก ออกมาเป็นหนาม เช่น หนามกุหลาบส่วนต้น กระดังงา และการเวก มีขอเกี่ยวที่เปลี่ยนแปลงมา จากลาต้นแล้วยังมีดอกออกมาจากขอเกี่ยวได้ด้วย
  • 201. Free Powerpoint Templates Page 201 ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบ (Cladophyll หรือ Phylloclade หรือ Cladode) ลาต้นที่เปลี่ยนไปอาจแผ่แบนคล้ายใบหรือเป็นเส้นเล็กยาวและยังมีสีเขียว ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นใบ เช่น สนทะเล หรือ สนประดิพัทธ์ ที่มีสีเขียวต่อกันเป็น ท่อน ๆ นั้นเป็นส่วนของลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไป ส่วนใบที่แท้จริงเป็นแผ่นเล็ก ๆ ติด อยู่รอบ ๆ ข้อ เรียกว่า ใบเกล็ด (Scale leaf) เช่นเดียวกับต้นโปร่งฟ้า (Asparcus) ที่ เห็นเป็นเส้นฝอยแผ่กระจายอยู่เป็นแผงและมีสีเขียวนั้นเป็นลาต้น ส่วนใบเป็นใบ เกล็ดเล็กๆ ติดอยู่ตรงข้อ นอกจากนั้นยังมีลาต้นอวบน้า(Succulent) เป็นลาต้นของพืชที่อยู่ในที่แห้ง แล้งกันดารน้า จึงมีการสะสมน้าไว้ในลาต้น เช่น ต้นกระบองเพชร สลัดได และ พญาไร้ใบ ลาต้นบางชนิดอาจเกิดจากตาหรือหน่อเล็กๆ ที่อยู่เป็นยอดอ่อนหรือใบ เล็ก ๆประมาณ 2-3 ใบที่แตกออกบริเวณซอกใบกับลาต้น หรือแตกออกจากยอดลา ต้นแทนดอก เมื่อหลุดออกจากต้นเดิมร่วงลงดินสามารถเจริญไปเป็นต้นใหม่ได้ ตัวอย่างเช่นหอม กระเทียม ตะเกียงสับปะรด ศรนารายณ์ เป็นต้น
  • 207. Free Powerpoint Templates Page 207 แง่งหรือเหง้า (Rhizome) ลาต้นใต้ดินจะอยู่ขนานกับผิวดินเห็นข้อปล้องได้ชัดเจน ตามข้อมีใบสีน้าตาลที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีลักษณะเป็นเกล็ด เรียกว่าใบเกล็ด หุ้มตาเอาไว้ มีรากงอกออกจากเหง้า หรือ แง่งนั้น ๆ ตาอาจแตกแขนงเป็นใบอยู่เหนือดิน หรือเป็นลา ต้นอยู่ใต้ดินก็ได้ เช่น หญ้าแห้วหมู ขิง ข่า ขมิ้น มันฝรั่ง ว่านสะระแหน่ หญ้าแพรก พุทธรักษา กล้วย เป็นต้น แสดงลาต้นใต้ดินชนิด แง่งหรือเหง้า (Rhizome) ของต้นว่านมหาปราบ
  • 209. Free Powerpoint Templates Page 209 ทูเบอร์ (Tuber) เป็นลาต้นใต้ดินที่งอกออกมาจากปลายไรโซมมี ปล้องเพียง 3-4 ปล้อง ตามข้อไม่มีใบเกล็ดและราก สะสมอาหารเอาไว้มากในลาต้นส่วนใต้ดิน จึงดูอ้วน ใหญ่กว่าหัวชนิดไรโซม แต่บริเวณที่เป็นตาจะบุ๋มลงไป ตัวอย่างเช่น มันฝรั่ง เหนือดินมีลาต้น และใต้ดินมีไร โซม ซึ่งบริเวณปลายพองออกเป็นทูเบอร์ ดังในรูปที่ชี้ ว่าเป็น “Eye” นั้นคือตานั่นเองถ้ามีความชื้นพอเพียง ต้นใหม่จะงอกออกมาจากบริเวณตา ซึ่งผิดกับหัวมัน เทศซึ่งเป็นรากไม่สามารถงอกต้นใหม่จากบริเวณหัวที่ มีรอยบุ๋มได้ เพราะไม่ใช่ตา ตัวอย่างอื่น ๆ ของหัวชนิดทู เบอร์ ได้แก่ หญ้าแห้วหมู หัวมันมือเสือ มันกลอย
  • 211. Free Powerpoint Templates Page 211 หัวกลีบ หรือบัลบ์ (Bulb) เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง อาจมีส่วนพ้นดินขึ้นมาบ้างก็ได้ ลา ต้นมีขนาดเล็กที่มีปล้องที่สั้นมากบริเวณปล้องมีใบเกล็ดที่ซ้อนกัน หลายชั้นจนเห็นเป็นหัว เช่น หัวหอม หัวกระเทียม อาหารสะสมอยู่ ในใบเกล็ดในลาต้นไม่มีอาหารสะสมบริเวณส่วนล่างของลาต้นมี รากเส้นเล็ก ๆ แตกออกมาหลายเส้นเมื่อนาหัวหอมมาผ่าตามยาวจะ พบใบเกล็ดเป็นชั้น ๆ ชั้นนอกสุดเป็นแผ่นบาง ๆ เนื่องจากไม่มี อาหารสะสม ชั้นถัดเข้าไปมีอาหารสะสม จึงมีความหนากว่าแผ่น นอกชั้นในสุดของลาต้นเป็นส่วนยอดถ้าเอาหัวชนิดนี้ไปปลูกส่วน ยอดจะงอกออกมาเป็นใบสีเขียว แสดงลาต้นใต้ดิน ชนิดหัวกลีบหรือบัลบ์ (Bulb) ของต้นแสนพันล้อม
  • 214. Free Powerpoint Templates Page 214 คอร์ม (Corm) ลักษณะของลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง เช่นเดียวกับหัวกลีบ ลักษณะที่แตกต่างกันคือ เก็บอาหารไว้ในลาต้นแทนที่จะเก็บไว้ในใบเกล็ด ลาต้นจึงมีลักษณะอวบใหญ่ ทางด้านล่างของลา ต้นมีรากเส้นเล็ก ๆ หลาย ๆ เส้นที่ข้อมีใบเกล็ด บาง ๆ หุ้ม ตาแตกออกมาจากข้อเป็นใบชูขึ้นสูง หรืออาจเป็นลาต้นใต้ดินต่อไป ตัวอย่างเช่น เผือก ซ่อนกลิ่นฝรั่ง และแห้ว เป็นต้น
  • 216. Free Powerpoint Templates Page 216 “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!