SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
ปลาป่ นในอาหารปลานิลต่อการ
เจริญเติบโตและค่าโลหิตวิทยา
(Etfeet of Repiacement Fish Meal by Fermented
Soybean Meal in Dieto for Nile Tilapia
(Oreochromis niloticus))
ผู้วิจัย
นางสาวสุกัญญา โคตรธรรม
รหัสนักศึกษา 56102501107
สาขาวิชาการประมง
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
อาจารย์ทรงทรัพย์ อรุณกมล
บทนา
ปลานิล (Oreochromis nilotica) เป็นปลาน้าจืด ที่มีคุณค่าทาง
เศรษฐกิจ เกษตรกรนิยมเลี้ยงกันอย่างกว ้างขวาง ในการเลี้ยงปลานิล
อัตราการเจริญเติบโตได ้ดีนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด ้าน เช่น คุณภาพ
อัตราการปล่อยที่เหมาะสม วิธีการเลี้ยง และที่สาคัญคืออาหาร
โปรตีนเป็นแหล่งอาหารที่มีราคาสูง และจาเป็นมากต่อการ
ปลาทุกชนิด คือปลาป่ น เนื่องจากปลาป่ นมีโปรตีนสูง จึงถูกนามาใช ้
โปรตีนหลักในอาหาร ปลาป่ นที่มีคุณภาพดีมีราคาแพง จึงมีความ
การหาแหล่งโปรตีนอื่นๆ เพื่อทดแทนปลาป่ น โดยใช ้โปรตีนจากพืช
ถั่วเหลือง เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ ที่มีโปรตีนสูง ราคาถูก คุณภาพดี
รูปภาพที่ แสดงลักษณะรูปร่างของปลานิล, การเลี้ยงปลานิลในกระชัง, การเลี้ยง
กากถั่วเหลือง
เมล็ดถั่วเหลืองเป็นอาหารแหล่งโปรตีนจากพืช ที่นามาใช ้เป็นวัตถุดิบ
อาหารสัตว์ได ้ดี เพราะมีโปรตีนสูงถึง 38 % การใช ้เมล็ดถั่วเหลืองดิบเลี้ยงสัตว์
จะทาให ้สัตว์ได ้รับประโยชน์จากโปรตีนไม่เต็มที่ มีการเจริญเติบโตต่า เพราะ
เมล็ดถั่วเหลืองดิบมีสารยับยั้งการใช ้ประโยชน์จากโปรตีน (Trypsin Inhibitor)
เมล็ดถั่วเหลืองที่นามาเป็นอาหารสัตว์ มีอยู่ 2 ชนิด คือ
1. กากถั่วเหลืองที่มีเปลือกผสมอยู่ด ้วย หรือที่เรียกกันในทางการค ้าว่า
กากถั่วเหลือง 44% พบว่ามีโปรตีนสูงหรือต่ากว่า 44 % เล็กน้อย
2. กากถั่วเหลืองที่ไม่มีเปลือกผสมอยู่ มีแต่เนื้อในล ้วนๆ หรือที่เรียกกัน
ในทางการค ้าว่ากากถั่วเหลือง 49% พบว่ามีโปรตีนสูงถึง 51-55 %
กากถั่วเหลืองหมัก
กากถั่วเหลือง ที่ผ่านกระบวนการหมัก จะช่วยปรับปรุงองค์ประกอบ
ภายใน และส่วนประกอบโปรตีนของกากถั่วเหลืองที่สลับซับซ ้อน ให ้มีขนาด
โมเลกุลเล็กลงหรืออยู่ในรูปของกรดอะมิโน อิสระมากขึ้น ทาให ้ย่อยได ้ง่ายขึ้น
และสามารถนาไปใช ้ประโยชน์ได ้มากขึ้น ยังช่วยทาลายสารพิษและสารต ้าน
โภชนะที่มีอยู่ในกากถั่วเหลืองให ้สลายไป
รูปภาพแสดง เมล็ดถั่วเหลืองและกากถั่วเหลือง
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาการใช ้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองหมัก
ปลาป่ นต่างระดับ ในอาหารลูกปลานิล โดยพิจารณาจากค่า
เจริญเติบโต และค่าโลหิตวิทยา
ขอบเขตของการวิจัย
ในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อให ้ทราบถึงอัตราการ
ของลูกปลานิล ด ้วยอาหารผสมกากถั่วเหลืองหมัก
ปลาป่ น ในสูตรอาหาร 4 ระดับ คือ ให ้อาหารที่ผสมกากถั่ว
เหลืองหมักในสูตรอาหารทดแทนปลาป่ นในอัตรา 0 %, 25
50 % และ100% ตามลาดับ โดยใช ้ระยะเวลาในการเลี้ยง
มีการชั่งน้าหนัก วัดความยาว ของตัวปลา ทุก 7 วัน และ
ระดับภูมิคุมกันบางประการจากค่าโลหิตวิทยา ทุก 14 วัน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถใช ้แหล่งโปรตีนที่มีราคาถูกจากกากถั่ว
การวางแผนการวิจัย
การวางแผนการวิจัยแบบสุ่มตลอด (Completely randomize
design : CRD) เริ่มเลี้ยงปลานิลขนาด 3 นิ้ว น้าหนักประมาณ 30 กรัม
จานวน 180 ตัว แบ่งเป็น 4 หน่วยการทดลองๆ ละ 3 ซ้าๆละ 15 ตัว
เลี้ยงในตู้กระจกขนาด 30 × 60 × 47 เซนติเมตร (กว ้าง × ยาว × สูง)
ดังนี้
หน่วยการทดลองที่ 1 ให ้อาหารที่ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตรอาหาร
ทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 0 %
หน่วยการทดลองที่ 2 ให ้อาหารที่ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตรอาหาร
ทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 25 %หน่วยการทดลองที่ 3 ให ้อาหารที่
ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตรอาหารทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 50
%หน่วยการทดลองที่ 4 ให ้อาหารที่ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตร
อาหารทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 100 %
เลี้ยงปลานิลด ้วยสูตรอาหารที่ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตร
อาหารทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 0, 25, 50, และ100 % จนครบ 60
วัน ภายใต ้เงื่อนไขการเลี้ยงแบบเดียวกันจนสิ้นการทดลอง ชั่งน้าหนัก
อาหารที่ให ้ทุกวัน และชั่งน้าหนัก วัดความยาวปลานิล ทุก 7 วัน เก็บ
วิธีการทดลอง
1. เตรียมตู้กระจก ขนาด 30 × 60 × 47 เซนติเมตร (กว ้าง ×
ยาว × สูง) ล ้างทาความสะอาดตู้กระจก เติมน้าให ้มีปริมาณ ที่
เหมาะสมในการเลี้ยงปลานิล ติดตั้งระบบปั๊มลมให ้อากาศ
2. เตรียมอาหาร นากากถั่วเหลือง หมักด ้วยน้าสับปะรด
อัตราส่วน 1 : 1 ในถัง 6 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิห ้อง นากากถั่วเหลืองที่
ผ่านการหมัก ออกมาตากให ้แห ้ง นาวัตถุดิบอาหารไปบดให ้ละเอียด
แล ้วนาไปผสมในสูตรอาหารปลานิลของ พิสมัยและนันทิยา โดยใช ้
กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลาป่ น ในอัตรา 0, 25, 50 และ100 % นา
อาหารที่ผสมเข ้ากันแล ้ว อัดเม็ดด ้วยเครื่องอัดอาหารเม็ดลอยน้า ผึ่ง
ลมให ้แห ้ง
3. เตรียมลูกปลานิล ที่มีขนาดความยาวประมาณ 3 นิ้ว น้าหนัก
ประมาณ 30 กรัม ลงในตู้กระจก จานวน 12 ตู้ ตู้ละ 15 ตัว
4. ให ้อาหาร วันละ 3 ครั้ง โดยให ้อาหาร 5 % ต่อวัน
5. เปลี่ยนถ่ายน้า 50 % ทุก 3 วัน
6. เก็บข ้อมูล โดยการ ชั่งน้าหนักและวัดความยาวเพื่อหาอัตรา
การเจริญเติบโตของปลานิล ทุก 7 วัน เก็บเลือดปลานิลเพื่อศึกษา
ระบบภูมิคุมกันบางประการของปลานิล ทุก 14 วัน
ขอบคุณค่ะ
ขอขอบคุณอาจารย์ทรงทรัพย์ อรุรกมล
อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
และอาจารย์ทุกท่านที่ให้คาแนะนา

More Related Content

Similar to การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptx

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
0636830815
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
chompoo28
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
iooido
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
iooido
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
Wasan Yodsanit
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แผนงาน นสธ.
 
Astaxanthin from yeast affect on increasing the red color rate of male Guppy
Astaxanthin from yeast affect on increasing the red color rate of male GuppyAstaxanthin from yeast affect on increasing the red color rate of male Guppy
Astaxanthin from yeast affect on increasing the red color rate of male Guppy
guest7ee9c7
 

Similar to การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptx (20)

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
Kaset
KasetKaset
Kaset
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
 
22092010-2
22092010-222092010-2
22092010-2
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
Research method
Research methodResearch method
Research method
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดพฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
News4vol5
News4vol5News4vol5
News4vol5
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
 
Astaxanthin from yeast affect on increasing the red color rate of male Guppy
Astaxanthin from yeast affect on increasing the red color rate of male GuppyAstaxanthin from yeast affect on increasing the red color rate of male Guppy
Astaxanthin from yeast affect on increasing the red color rate of male Guppy
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
 
Cook 1
Cook 1Cook 1
Cook 1
 
2101643.ppt
2101643.ppt2101643.ppt
2101643.ppt
 

การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptx

  • 1. ปลาป่ นในอาหารปลานิลต่อการ เจริญเติบโตและค่าโลหิตวิทยา (Etfeet of Repiacement Fish Meal by Fermented Soybean Meal in Dieto for Nile Tilapia (Oreochromis niloticus)) ผู้วิจัย นางสาวสุกัญญา โคตรธรรม รหัสนักศึกษา 56102501107 สาขาวิชาการประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย อาจารย์ทรงทรัพย์ อรุณกมล
  • 2. บทนา ปลานิล (Oreochromis nilotica) เป็นปลาน้าจืด ที่มีคุณค่าทาง เศรษฐกิจ เกษตรกรนิยมเลี้ยงกันอย่างกว ้างขวาง ในการเลี้ยงปลานิล อัตราการเจริญเติบโตได ้ดีนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด ้าน เช่น คุณภาพ อัตราการปล่อยที่เหมาะสม วิธีการเลี้ยง และที่สาคัญคืออาหาร โปรตีนเป็นแหล่งอาหารที่มีราคาสูง และจาเป็นมากต่อการ ปลาทุกชนิด คือปลาป่ น เนื่องจากปลาป่ นมีโปรตีนสูง จึงถูกนามาใช ้ โปรตีนหลักในอาหาร ปลาป่ นที่มีคุณภาพดีมีราคาแพง จึงมีความ การหาแหล่งโปรตีนอื่นๆ เพื่อทดแทนปลาป่ น โดยใช ้โปรตีนจากพืช ถั่วเหลือง เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ ที่มีโปรตีนสูง ราคาถูก คุณภาพดี รูปภาพที่ แสดงลักษณะรูปร่างของปลานิล, การเลี้ยงปลานิลในกระชัง, การเลี้ยง
  • 3. กากถั่วเหลือง เมล็ดถั่วเหลืองเป็นอาหารแหล่งโปรตีนจากพืช ที่นามาใช ้เป็นวัตถุดิบ อาหารสัตว์ได ้ดี เพราะมีโปรตีนสูงถึง 38 % การใช ้เมล็ดถั่วเหลืองดิบเลี้ยงสัตว์ จะทาให ้สัตว์ได ้รับประโยชน์จากโปรตีนไม่เต็มที่ มีการเจริญเติบโตต่า เพราะ เมล็ดถั่วเหลืองดิบมีสารยับยั้งการใช ้ประโยชน์จากโปรตีน (Trypsin Inhibitor) เมล็ดถั่วเหลืองที่นามาเป็นอาหารสัตว์ มีอยู่ 2 ชนิด คือ 1. กากถั่วเหลืองที่มีเปลือกผสมอยู่ด ้วย หรือที่เรียกกันในทางการค ้าว่า กากถั่วเหลือง 44% พบว่ามีโปรตีนสูงหรือต่ากว่า 44 % เล็กน้อย 2. กากถั่วเหลืองที่ไม่มีเปลือกผสมอยู่ มีแต่เนื้อในล ้วนๆ หรือที่เรียกกัน ในทางการค ้าว่ากากถั่วเหลือง 49% พบว่ามีโปรตีนสูงถึง 51-55 % กากถั่วเหลืองหมัก กากถั่วเหลือง ที่ผ่านกระบวนการหมัก จะช่วยปรับปรุงองค์ประกอบ ภายใน และส่วนประกอบโปรตีนของกากถั่วเหลืองที่สลับซับซ ้อน ให ้มีขนาด โมเลกุลเล็กลงหรืออยู่ในรูปของกรดอะมิโน อิสระมากขึ้น ทาให ้ย่อยได ้ง่ายขึ้น และสามารถนาไปใช ้ประโยชน์ได ้มากขึ้น ยังช่วยทาลายสารพิษและสารต ้าน โภชนะที่มีอยู่ในกากถั่วเหลืองให ้สลายไป รูปภาพแสดง เมล็ดถั่วเหลืองและกากถั่วเหลือง
  • 4. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช ้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองหมัก ปลาป่ นต่างระดับ ในอาหารลูกปลานิล โดยพิจารณาจากค่า เจริญเติบโต และค่าโลหิตวิทยา ขอบเขตของการวิจัย ในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อให ้ทราบถึงอัตราการ ของลูกปลานิล ด ้วยอาหารผสมกากถั่วเหลืองหมัก ปลาป่ น ในสูตรอาหาร 4 ระดับ คือ ให ้อาหารที่ผสมกากถั่ว เหลืองหมักในสูตรอาหารทดแทนปลาป่ นในอัตรา 0 %, 25 50 % และ100% ตามลาดับ โดยใช ้ระยะเวลาในการเลี้ยง มีการชั่งน้าหนัก วัดความยาว ของตัวปลา ทุก 7 วัน และ ระดับภูมิคุมกันบางประการจากค่าโลหิตวิทยา ทุก 14 วัน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สามารถใช ้แหล่งโปรตีนที่มีราคาถูกจากกากถั่ว
  • 5. การวางแผนการวิจัย การวางแผนการวิจัยแบบสุ่มตลอด (Completely randomize design : CRD) เริ่มเลี้ยงปลานิลขนาด 3 นิ้ว น้าหนักประมาณ 30 กรัม จานวน 180 ตัว แบ่งเป็น 4 หน่วยการทดลองๆ ละ 3 ซ้าๆละ 15 ตัว เลี้ยงในตู้กระจกขนาด 30 × 60 × 47 เซนติเมตร (กว ้าง × ยาว × สูง) ดังนี้ หน่วยการทดลองที่ 1 ให ้อาหารที่ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตรอาหาร ทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 0 % หน่วยการทดลองที่ 2 ให ้อาหารที่ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตรอาหาร ทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 25 %หน่วยการทดลองที่ 3 ให ้อาหารที่ ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตรอาหารทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 50 %หน่วยการทดลองที่ 4 ให ้อาหารที่ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตร อาหารทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 100 % เลี้ยงปลานิลด ้วยสูตรอาหารที่ผสมกากถั่วเหลืองหมักในสูตร อาหารทดแทนปลาป่ นในอัตราส่วน 0, 25, 50, และ100 % จนครบ 60 วัน ภายใต ้เงื่อนไขการเลี้ยงแบบเดียวกันจนสิ้นการทดลอง ชั่งน้าหนัก อาหารที่ให ้ทุกวัน และชั่งน้าหนัก วัดความยาวปลานิล ทุก 7 วัน เก็บ
  • 6. วิธีการทดลอง 1. เตรียมตู้กระจก ขนาด 30 × 60 × 47 เซนติเมตร (กว ้าง × ยาว × สูง) ล ้างทาความสะอาดตู้กระจก เติมน้าให ้มีปริมาณ ที่ เหมาะสมในการเลี้ยงปลานิล ติดตั้งระบบปั๊มลมให ้อากาศ 2. เตรียมอาหาร นากากถั่วเหลือง หมักด ้วยน้าสับปะรด อัตราส่วน 1 : 1 ในถัง 6 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิห ้อง นากากถั่วเหลืองที่ ผ่านการหมัก ออกมาตากให ้แห ้ง นาวัตถุดิบอาหารไปบดให ้ละเอียด แล ้วนาไปผสมในสูตรอาหารปลานิลของ พิสมัยและนันทิยา โดยใช ้ กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลาป่ น ในอัตรา 0, 25, 50 และ100 % นา อาหารที่ผสมเข ้ากันแล ้ว อัดเม็ดด ้วยเครื่องอัดอาหารเม็ดลอยน้า ผึ่ง ลมให ้แห ้ง 3. เตรียมลูกปลานิล ที่มีขนาดความยาวประมาณ 3 นิ้ว น้าหนัก ประมาณ 30 กรัม ลงในตู้กระจก จานวน 12 ตู้ ตู้ละ 15 ตัว 4. ให ้อาหาร วันละ 3 ครั้ง โดยให ้อาหาร 5 % ต่อวัน 5. เปลี่ยนถ่ายน้า 50 % ทุก 3 วัน 6. เก็บข ้อมูล โดยการ ชั่งน้าหนักและวัดความยาวเพื่อหาอัตรา การเจริญเติบโตของปลานิล ทุก 7 วัน เก็บเลือดปลานิลเพื่อศึกษา ระบบภูมิคุมกันบางประการของปลานิล ทุก 14 วัน