SlideShare a Scribd company logo
รูปแบบการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง
ตามแบบจาลองจินตวิศวกรรมสาหรับห้องเรียนอัจฉริยะ
ภายใต้โครงการวิจัย
การพัฒนาสื่อการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง
ตามแบบจาลองจินตวิศวกรรมสาหรับห้องเรียนอัจฉริยะ
Outline
ตอนที่ 1 บทนา
ตอนที่ 2 รูปแบบ
ตอนที่ 3 แนวทางการนาไปใช้
ตอนที่ 1 บทนา
• การกาหนดนโยบายหลักในการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
(พ.ศ.2554-2561) ตั้งวิสัยทัศน์ที่จะให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คุณภาพ กาหนดยุทธศาสตร์ที่จะพัฒนาครูยุคใหม่ให้มีทักษะด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เข้าถึงสารสนเทศ เยาวชนและ
สังคมไทยจะได้เรียนรู้โดยอาศัยเทคโนโลยีสนเทศและการสื่อสาร
ตอนที่ 1 บทนา (ต่อ)
• ครู คือบุคคลสาคัญที่สุดที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
• ครูที่จะส่งเสริมเด็กให้เกิดการเรียนรู้ผ่านไอซีทีก็จะต้องได้รับ
การฝึกอบรมเพื่อให้มีทักษะในการส่งเสริมเด็ก
• การสร้างเครือข่ายครูไอทีเป็นสิ่งสาคัญในการพัฒนาครูสู่ยุค
ดิจิตอล
• กระบวนการพัฒนาครูที่มีการปฏิบัติดีเลิศจะได้ครูที่มี
ความตั้งใจ มีความพร้อมที่จะถ่ายทอด เสียสละ
มุ่งประโยชน์แก่เด็กและเยาวชนอย่างแท้จริง
ตอนที่ 1 บทนา (ต่อ)
• การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความคิดสร้างสรรค์
• มีแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ถูกต้อง
• แบบจาลองการเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรมเป็นแนวคิดในการนา
จินตนาการของผู้เรียนมาทาให้กลายเป็นจริง
• เมื่อสามารถสร้างสิ่งใดก็ตามที่เกิดจากจินตนาการขึ้นมาได้
ผู้เรียนก็จะรู้สึกมีพลังที่จะเรียนรู้ต่อไป
ตอนที่ 1 บทนา (ต่อ)
• คณะวิจัยที่ได้เสนอหัวข้อวิจัยและพัฒนาการพัฒนาสื่อการเรียนรู้แบบ
ปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงตามแบบจาลอง
จินตวิศวกรรมสาหรับห้องเรียนอัจฉริยะสาหรับครู
กระทรวงศึกษาธิการตามแบบจาลองจินตวิศวกรรม
อันจะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
อันจะส่งผลต่อการปฎิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและสังคมไทย
ตอนที่2
รูปแบบการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์
ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง
ตามแบบจาลองจินตวิศวกรรม
สาหรับห้องเรียนอัจฉริยะ
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ
• องค์ประกอบของรูปแบบ
1. ครู
2. นักเรียน
3. สภาพแวดล้อมห้องเรียนอัจฉริยะ
4. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
5. เทคโนโลยีเสมือนจริง
6. เนื้อหาสาระ
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ
1. คุณลักษณะของครู
•ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจ
•เป็นผู้อานวยความสะดวก ช่วยกระตุ้น
•เป็นผู้จัดเตรียมแหล่งให้คาปรึกษา
•เป็นผู้มีความรู้ในการใช้สื่อ
•ใช้วิธีการประเมินที่ครอบคลุม
•เป็นผู้คอยสรุป กระตุ้นให้ผู้เรียนอภิปราย
•สรุปแนวทางถูกที่ต้อง
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ (ต่อ)
2. คุณลักษณะของนักเรียน
•มีความสามารถในกระบวนการเรียนรู้
•มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้
•กล้าซักถาม กล้าแสดงความคิดเห็น
•มีความสามารถในการทางานเป็นกลุ่ม
•มีความสามารถในการสืบค้น
•มีทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
•สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงาน
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ (ต่อ)
3. คุณลักษณะของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ห้องเรียนอัจฉริยะ
•ส่งเสริมการทางานเป็นกลุ่ม
• สร้างบรรยากาศการเรียนยืดหยุ่น อิสระ
•สร้างโอกาสสนทนา นาเสนอ และแบ่งปันความคิด
•ส่งเสริมให้นักเรียนมีการสะท้อนความคิด
•เป็นสภาพการเรียนรู้ที่ได้ลงมือปฏิบัติจริง
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ (ต่อ)
4. คุณลักษณะของแหล่งการเรียนรู้
• เป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่หลากหลาย
•เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
• สามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก
• มีระบบส่งเสริมต่อการใช้เทคโนโลยีเสมือน
• นามาประยุกต์ในการรังสรรค์ชิ้นงานที่ต่อเติมความจริง
• มีความง่ายในการทาความเข้าในเนื้อหาของข้อมูล
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ (ต่อ)
5. คุณลักษณะของเทคโนโลยีเสมือนจริง
• มีความยืดหยุ่น
• มีปฏิสัมพันธ์
• เพิ่มประสิทธิภาพการเรียน
• สะดวกใช้ในการเรียนรู้
• สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
• ส่งเสริมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ (ต่อ)
6. คุณลักษณะของเนื้อหาสาระ
•ส่งเสริมให้กระบวนการคิดสร้างสรรค์
•ท้าทายให้นักเรียนต้องการเรียนรู้เพื่อแสวงหาความรู้
•สามารถนาเนื้อหา หรือทักษะของวิชาต่าง ๆ มาบูรณาการเพื่อให้เกิดการ
เรียนรู้อย่างสมบูรณ์
• สาระในเนื้อหาวิชาที่นาไปสู่ประสบการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
•มีความสอดคล้องกับโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กิจกรรมการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงตามแบบจาลองจินตวิศวกรรม
สาหรับห้องเรียนอัจฉริยะ (Interactive Imagineering)
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ (ต่อ)
1 ขั้นการเตรียมการก่อน
การเรียนการสอน
• ปฐมนิเทศ
• ฝึกปฏิบัติ
• ประเมินความคิดสร้างสรรค์ก่อน
เรียน
2 ขั้นการจัดกิจกรรม
• ขั้นจินตนาการ เพื่อสร้างแรงจูงใจ
• ขั้นออกแบบ อย่างมีส่วนร่วม
• ขั้นพัฒนา ลงมือปฎิบัติ
• ขั้นนาเสนอ อย่างสร้างสรรค์
• ขั้นปรับปรุง สะท้อนความคิด
• ขั้นประเมินผล ตามสภาพจริง
ตอนที่ 2 รูปแบบฯ (ต่อ)
• สภาพแวดล้อมการเรียนรู้
กระบวนการจัดการเรียนการสอนขั้นจินตนาการเป็นขั้นการสร้างแรงจูงใจ
แผนภูมิระดมสมอง/แผนผังความคิด
ครูนาเข้าสู่บทเรียน กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้กับ
นักเรียนทาให้เกิดความสนใจใฝ่รู้ก่อให้เกิดแรงบัลดาลใจ
 นักเรียนแบ่งกลุ่มโดยเฉลี่ยให้เท่าๆกันตามความสมัครใจ
 สังเกตเหตุการณ์จากสื่อที่ครูกาหนดให้
ครูให้นักเรียนร่วมกันระดมสมองจินตนาการ
ผลงาน
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
และวิเคราะห์ความเป็นไปได้
กระบวนการจัดการเรียนการสอนขั้นออกแบบอย่างมีส่วนร่วม
สร้างสถานการณ์ตามเนื้อหาและโจทย์ที่กาหนดเชื่อมโยงกับ
บทเรียน จากนั้นกาหนดเกณฑ์การพิจารณาชิ้นงาน
 นักเรียนร่วมกันออกแบบชิ้นงาน
 นาเสนอแบบร่างเพื่อร่วมกันพิจารณาโดยเลือกแบบร่างที่มี
ความสอดคล้องกับเกณฑ์การให้คะแนนตามกาหนด
ครูเตรียมความพร้อมสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
คอยส่งเสริมสนับสนุนให้คาปรึกษา อานวยความสะดวก
ในการออกแบบ
นักเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน ครู
หรือผู้เชี่ยวชาญผ่านแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ภายในห้องเรียน
อัจฉริยะเพื่อการออกแบบที่สมบูรณ์ให้ได้มากที่สุด
แบบร่างของชิ้นงาน
• กระบวนการจัดการเรียนการสอนขั้นพัฒนาลงมือปฎิบัติ
ชิ้นงานนวัตกรรม
 ครูเชื่อมโยงสถานการณ์และโจทย์ที่กาหนดกับเนื้อหา
บทเรียน และนาเข้าสู่การพัฒนาชิ้นงาน
 ให้นักเรียนนาแบบร่างที่ได้ออกแบบไว้มาาสร้างชิ้นงาน
นักเรียนร่วมกันพัฒนา สร้างสรรค์ชิ้นงาน
 ตรวจสอบความพร้อมของห้องเรียนอัจฉริยะ
 คอยส่งเสริมสนับสนุนให้คาปรึกษา อานวยความสะดวก
ในการพัฒนาชิ้นงาน
นักเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน ครู
ในการพัฒนาชิ้นงาน และทดสอบการทางาน
• กระบวนการจัดการเรียนการสอนนาเสนออย่างสร้างสรรค์
ข้อสรุปจากการเสนอแนะ
 ครูนาเข้าสู่ขั้นการนาเสนอชิ้นงาน
 แนะนาขั้นตอนการนาเสนอและเงื่อนไขของ
การนาเสนอ
นักเรียนร่วมกันเพื่อการแบ่งงานและหน้าที่ในการสร้าง
เนื้อหาและเทคนิคสาหรับการนาเสนอ
ครูจัดเตรียมแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ ตรวจสอบ
ความพร้อมของห้องเรียนอัจฉริยะให้พร้อมสาหรับ
การนาเสนอผลงานของนักเรียน
นักเรียนนาเสนอชิ้นงานอย่างสร้างสรรค์
ครูและเพื่อนนักเรียนร่วมกันซักถาม แสดงความคิดเห็น
ให้กับผู้ที่นาเสนอเพื่อนาไปสู่การปรับปรุงพัฒนาชิ้นงาน
• กระบวนการจัดการเรียนการสอนขั้นปรับปรุงสะท้อนความคิด
ชิ้นงานที่สมบูรณ์
ครูเชื่อมโยงสถานการณ์และโจทย์ที่กาหนดกับเนื้อหา
บทเรียน และนาเข้าสู่การปรับปรุงแก้ไขผลงานจาก
การนาเสนอในขั้นต้น
 นักเรียนต้องวางแผนและปรับปรุงแก้ไขผลงาน
 ได้ทบทวนและสะท้อนความคิด นาไปสู่การพัฒนา
ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
 ตรวจสอบความพร้อมของห้องเรียนอัจฉริยะ
 คอยส่งเสริมสนับสนุนให้คาปรึกษา อานวยความ
สะดวกในการปรับปรุงชิ้นงาน
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสะท้อนความคิดที่
ได้รับจากการลงมือปฏิบัติสร้างชิ้นงาน และจาก
ข้อเสนอแนะที่ได้รับหลังจากการนาเสนอ เพื่อนามาสู่การ
ปรับปรุงชิ้นงาน
• กระบวนการจัดการเรียนการสอนขั้นประเมินผลตามสภาพจริง
ชิ้นงานสมบูรณ์ที่ผ่านการ
ประเมิน
ครูนาเข้าสู่การประเมินผล และทบทวน ชี้แจง
เกณฑ์ การประเมินชิ้นงานตามที่ได้แจ้งไว้
นักเรียนพิจารณาชิ้นงานของเพื่อนทุกกลุ่มโดย
ใช้เกณฑ์ที่กาหนด
ครูให้นักเรียนนาชิ้นงานมาประเมินตามเกณฑ์
ให้นักเรียนประเมินผลการเรียนรู้และกระบวนการ
ทางานของตนเอง และเพื่อนสมาชิกในกลุ่ม
ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินชิ้นงาน และ
สรุปสิ่งที่นักเรียนได้จากการเรียนรู้
ตอนที่ 3
แนวทางการนา
รูปแบบการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์
ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง
ตามแบบจาลองจินตวิศวกรรม
สาหรับห้องเรียนอัจฉริยะ
ไปใช้
ตอนที่ 3 แนวทางการนาไปใช้
แนวทางการ
นาไปใช้
วิธีการ
บุคลาการทาง
การศึกษา
สถานศึกษา
เงื่อนไข
ตอนที่ 3 แนวทางการนาไปใช้ (ต่อ)
วิธีการ บุคคลากรทางการศึกษา
องค์ประกอบด้านครู
• จะต้องมีการเตรียมความพร้อมของครูให้เข้าใจว่าการเรียนรู้ ครูต้องเป็นผู้สร้างแรงจูงใจ และแรง
บันดาลใจ ให้นักเรียนรู้สึกท้าทายในการเรียนรู้
องค์ประกอบด้านนักเรียน
• จะต้องมีการเตรียมความพร้อมนักเรียนให้ผู้ที่กระตือรือร้นในการเรียนรู้ มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
ตลอดเวลา ไม่ใช่เป็นผู้รอรับความรู้จากครูอย่างเดียว
องค์ประกอบด้านเทคโนโลยีเสมือนจริง
• จะต้องมีการเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยีเสมือนจริงที่มีลักษณะมียืดหยุ่นสาหรับการเรียนรู้
ตอนที่ 3 แนวทางการนาไปใช้ (ต่อ)
วิธีการ บุคคลากรทางการศึกษา
องค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อมห้องเรียนอัจฉริยะ
• จะต้องมีการเตรียมความพร้อมให้สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ตามลักษณะของห้องเรียนอัจฉริยะ มีลักษณะตามมิติทั้ง 5 ด้าน
ของห้องเรียนอัจฉริยะ (S M A R T) ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง
องค์ประกอบด้านแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
• จะต้องมีการเตรียมระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่พร้อมใช้งาน และมีอุปกรณ์ในการเข้าถึงสื่อเทคโนโลยีเสมือนจริงที่
เพียงพอ
องค์ประกอบด้านเนื้อหาสาระ
• จะต้องมีการเตรียมเนื้อหาและสาระที่มีลักษณะที่สามารถนาเนื้อหา หรือทักษะความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเพื่อก่อให้เกิดการ
ตกผลึกความรู้
ตอนที่ 3 แนวทางการนาไปใช้ (ต่อ)
วิธีการ สถานศึกษา
สถานศึกษาที่จะนารูปแบบการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยี
เสมือนจริงตามแบบจาลองจินตวิศวกรรมสาหรับห้องเรียนอัจฉริยะ ไปใช ้
• ควรมีการประชุม ครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงให้บุคคลที่
เกี่ยวข้องให้เห็นความสาคัญของการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยี
เสมือนจริงตามแบบจาลองจินตวิศวกรรม
• ต้องส่งเสริมให้นักเรียนมีการพัฒนา เพื่อให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องมีเจตคติที่ดี
ต่อรูปแบบฯโดยไม่พิจารณาความสาเร็จทางการเรียนของนักเรียนจาก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างเดียว
ตอนที่ 3 แนวทางการนาไปใช้ (ต่อ)
เงื่อนไข
• เมื่อสถานศึกษาที่นาไปใช้ควรจัดเตรียมองค์ประกอบของการเรียนรู้ฯ ให้มีคุณลักษณะของแต่ละ
องค์ประกอบตามที่กาหนด และดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอนของกระบวนการของการ
เรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงตามแบบจาลองจินตวิศวกรรม
• จุดประสงค์หลักคือ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณาญาณ การแก้ปัญหา การ
สื่อสารและการร่วมมือกัน แต่สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้นั่นคือ คุณธรรม จริยธรรม ดังนั้นครูผู้สอนจึง
ควรคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้อง ในแต่ละขั้นทั้ง 6 ขั้น
แบบจาลองสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
คณะวิจัย

More Related Content

What's hot

ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
Kruple Ratchanon
 
ภาษาไทดำ บทเรียนมัลติมีเดีย : Multimedia Lesson on Tai Dam Language.
ภาษาไทดำ บทเรียนมัลติมีเดีย : Multimedia Lesson on Tai Dam Language.ภาษาไทดำ บทเรียนมัลติมีเดีย : Multimedia Lesson on Tai Dam Language.
ภาษาไทดำ บทเรียนมัลติมีเดีย : Multimedia Lesson on Tai Dam Language.
k.lek Boo
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
Surapong Klamboot
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2Napatrapee Puttarat
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
Watcharapol Wiboolyasarin
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5miiztake
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
kingkarn somchit
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Sitipun
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
Santichon Islamic School
 
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสองเนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
Sasiprapha Srisaeng
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
jinjuthabam
 

What's hot (20)

ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 
ภาษาไทดำ บทเรียนมัลติมีเดีย : Multimedia Lesson on Tai Dam Language.
ภาษาไทดำ บทเรียนมัลติมีเดีย : Multimedia Lesson on Tai Dam Language.ภาษาไทดำ บทเรียนมัลติมีเดีย : Multimedia Lesson on Tai Dam Language.
ภาษาไทดำ บทเรียนมัลติมีเดีย : Multimedia Lesson on Tai Dam Language.
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสองเนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 

Similar to การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
issaraka
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
Kobwit Piriyawat
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Surapon Boonlue
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
mew46716
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rathapon Silachan
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
Wichit Thepprasit
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
Ptato Ok
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
lalidawan
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
suwanna champasak
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sea111
 
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
Naruepon Seenoilkhaw
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 

Similar to การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering) (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

More from Prachyanun Nilsook

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Prachyanun Nilsook
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
Prachyanun Nilsook
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
Prachyanun Nilsook
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
Prachyanun Nilsook
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
Prachyanun Nilsook
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
Prachyanun Nilsook
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
Prachyanun Nilsook
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
Prachyanun Nilsook
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
Prachyanun Nilsook
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
Prachyanun Nilsook
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
Prachyanun Nilsook
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
Prachyanun Nilsook
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
Prachyanun Nilsook
 

More from Prachyanun Nilsook (20)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)