SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ
ผอ.สานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
ekkachais@hotmail.com
www.kpi.ac.th
 Sirimavo Bandaranaike อดีตนายกฯหญิง 3 สมัย ของ
ประเทศศรีลังกา และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของโลก
 Indira Gandhi อดีตนายกฯหญิง 2 สมัย ของอินเดีย
 Golda Meir อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของ อิสราเอล
 Elisabeth Domitien อดีตนายกฯ ของ อัฟริกันกลาง
 Margaret Thatcher อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของอังกฤษ
 Maria de Lourdes Pintasilgoอดีตนายกฯหญิงของโปรตุเกส
 Mary Eugenia Charlesอดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของโดมินิกัน
 Gro Harlem Brundtlandอดีตนายกฯหญิง ๓ สมัยของนอร์เวย์
 Milka Planinc อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของยูโกสโลวาเกีย
Edith Cresson อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศฝรั่งเศส
Hanna Suchocka อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศโปแลนด์
Kim Campbell อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศแคนาดา
Tansu iller อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศตุรกี
Sylvie Kinigi อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศบุรุนดี
Agathe Uwilingiyimana อดีตนายกฯหญิง ของประเทศรวันดา
Chandrika Kumaratungaอดีตนายกฯหญิงของประเทศศรีลังกา
Reneta Indzhova อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศบัลกาเรีย
Claudette Werleigh อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศเฮติ
Mari Kiviniemi อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศฟินแลนด์
Julia Gillard นายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศออสเตรเลีย
Helen Elizabeth Clark อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงของนิวซีแลนด์
Mame Madior Boye อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของเซเนกัล
Chang Sang อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศเกาหลีใต้
Maria das Neves Ceita Baptista de Sousa อดีตนายกฯหญิงซาตูเม
Anneli Tuulikki อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงฟินแลนด์
Beatriz Merino Lucero อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงเปรู
Lusa Dias Diogo อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงของโมซัมบิก
Radmila Sekerinska อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง๒ สมัยของมาเซโดเนีย
Yuliya Tymoshenko อดีตนายกฯหญิิง ๒ สมัยของยูเครน
Nyam-Osoriyn Tuyaa อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของมองโกเลีย
Angela Merkel นายกรัฐมนตรี หญิงของเยอรมัน
Portia Simpson-Miller อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงของจาไมก้า
Han Myung Sook อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงของเกาหลี
Zinaida Greceanii อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงของมอลโดวา
Michle Pierre-Louis อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของเฮติ
Jhanna Sigurdard๓ttir นายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศไอซแลนด์
Jadranka Kosor นายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศโครเอเชีย
Cocile Manorohanta อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงของมาดากัสการ์
Roza Otunbayeva อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของประเทศเคอกีร์สถาน
Kamla Persad-Bissessar นายกฯหญิง ของตรินิแดด และโตเบโก
Sheikh Hasina Wajed อดีตนายกฯหญิง 2 สมัย ของบังกลาเทศ
Janet Jagan อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของกิยานา
Jenny Shipley อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของนิวซีแลนด์
Irena Degutiene อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง 2 สมัย ของลิธัวเนีย
Benazir Bhutto อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของปากีสถาน
Kazimiera Prunskiene อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของลิธัวเนีย
Khaleda Zia อดีตนายกรัฐมนตรีหญิง ของบังกลาเทศ
Iveta Radicov นายกรัฐมนตรีหญิง ของสโลวะเกีย
Rosario Fernandez Figueroa นายกรัฐมนตรีหญิงของเปรู
Ciss Mariam Ka๏dama Sidib นายกรัฐมนตรีหญิง ของมาลี
นางสาวยิ่งลักษณ์นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรก ของประเทศไทย
 วัย 50 ปี ชนะเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี
ของสาธารณรัฐคอสตาริก้า
 เป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของ
คอสตาริก้า
 เป็นประธานาธิบดีหญิงคนที่ห้าของกลุ่ม
ประเทศละตินอเมริกา
 ประเทศที่มีประธานาธิบดีหญิงมาก่อน
หน้านี้แล้ว คือ นิคารากัว ปานามา ชิลี
และอาร์เจนติน่า และทั้งหมดนี้มาจากการ
เลือกตั้งทั้งสิ้น
Kamla Persad-Bissessar
ประธานาธิบดีของตรีนิเดด
Tarja Katrija Halonen
ประธานาธิบดีหญิงคนแรกของ
ประเทศฟินแลนด์
ประธานาธิบดีหญิงคนแรกของโลก(ค.ศ. 2000)ของประเทศฟินแลนด์
ดินแดนแห่งสันติภาพ
มีบุคลิกเหมือนแม่บ้านวัยกลางคนทั่วไป แต่ความคิดต่างจากคนอื่น
สมัยวัยรุ่นเป็นคนที่มีความก้าวหน้ากว่าคนอื่น
การทางานที่ขยันขันแข็งและเด็ดขาด ส่งผลให้เธอมีชื่อเสียงโด่งดังไป
ทั่วโลก ใฝ่ฝันอยากเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่เด็กคนใกล้ชิดพากัน
หัวเราะเยาะเพราะคิดว่าเป็นเรื่องเพ้อฝัน แต่ด้วยความมุ้งมั่นกับการ
เรียนและตั้งใจแสวงหาความรู้มากกว่ารุ่นเดียวกันหลายเท่า ทาให้เธอ
ประสบความสาเร็จมีความมุ่งมั่นในอุดมการณ์
Julia Eileen Gillard
นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรก
ของออสเตรเลีย
Johanna Sigurdardottir
นายกรัฐมนตรีประเทศไอซ์แลนด์
Dalia Grybauskaite
ประธานาธิบดีของลีทัวเนีย
Global Peace Index
1 Iceland
2 New Zealand
3 Japan
4 Denmark
5 Czech Republic
6 Austria
7 Finland
8 Canada
9 Norway
10 Slovenia
1
Corruption Perceptions
Index 2010
1 Denmark
2 New Zealand
3 Singapore
4 Finland
5 Sweden
6 Canada
7 Netherland
8 Australia
9 Switzerland
10 Norway
 เป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของอาร์เจนตินา
 เข้ามายามปัญหาเศรษฐกิจและสังคมรุมเร้า
 ประสบปัญหามาก เพราะ ๑ ใน ๔ ของประชาชน ๓๗
ล้านคนยังยากจน การว่างงานสูง ปัญหาเงินเฟ้อ ข้าวของแพง สิ่งที่ต้องทา
ด่วนคือการขึ้นราคาค่าพลังงานต่าง ๆ ที่ถูกกดเอาไว้ เป็นหนี้ประเทศต่างๆและ
ยังไม่ได้ชดใช้มากมาย ที่สามีเธอเป็นผู้สร้างเอาไว้
ถ้าไม่สามารถแก้ปัญหาเงินเฟ้อ ปัญหาอาชญากรรม และ
ปัญหาระบบประกันสุขภาพได้ อาร์เจนตินาจะต้องล่มจม
อย่างแน่นอนชาวนาชาวไร่ไม่ได้ตั้งความหวังสูงเพราะที่
แล้วมารัฐบาลเก็บภาษีข้าวสูงและจากัดการส่งออก
เนื้อสัตว์ด้วย
Angela Merkel
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิชาวเยอรมนีตะวันออกิจบิิิิิิิิิิิิิิิิิ
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิปริญญาเอกด้านฟิสิกส์ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิ
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิพดคล่องทั้งภาษาเยอรมันิ
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิอังกฤษิและรัสเซียิิ
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิเคยเป็นรัฐมนตรีที่อายุน้อย
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิที่สุดิิถูกข้อครหาว่าเป็นิิิิิิิิิิ
คอมมิวนิสต์ิเพราะตอนวัยรุ่นเคยเป็นสมาชิกองค์กร
เยาวชนคอมมิวนิสต์ิ(Free German
Youth Organization)
ไม่แต่งตัวิทาผมทรงเชยๆิใส่ชุดสูทโทรมๆิแต่บอกว่าิ
"คนที่ฉลาดมีกึ๋นิมีเรื่องที่จะพูดิไม่จาเป็นต้องใช้
เครื่องสาอางค์หรอก“ิปีิ2005ิรูปลักษณ์เปลี่ยนไป
จ้างสไตลิสต์ิเปลี่ยนทรงผม
และการแต่งตัวใหม่ิิ
เริ่มแต่งหน้าิกลายเป็น
นิวลุคิ
Ellen Johnson Sirleaf
ประธานาธิบดีประเทศไลบีเรีย
ได้รับการยอมรับและรู้จักอย่าง
กว้างขวางบนเวทีระหว่างประเทศิ
มีภาพลักษณ์ของผู้นาที่มีวิสัยทัศน์
ทางการปฏิรูปิมีประสบการณ์
ในการทางานกับองค์การ
สหประชาชาติิ
Kamla Persad-Bissessar
ประธานาธิบดีหญิงคนแรกของประเทศตรีนิเดด
 Sheik Hasina Wajed
นายกรัฐมนตรีของประเทศบังคลาเทศ
 สตรีชาวบราซิลรู้สึกภาคภูมิใจและมีความสุข
 เธอยกย่องปธน.คนก่อนว่าเป็น “บุรุษผู้ยิ่งใหญ่”
 สานต่องาน และลงทุนสร้างความแข็งแกร่งให้กับ
ประชาชน
 งานที่สาคัญคือกาจัดความยากจน ให้เป็นประเทศ
ที่ได้รับการพัฒนาและมีความยุติธรรม ฉันจะไม่หยุดพักถ้าประชาชนยังหิวโหย
ไร้ที่อยู่และเร่ร่อนตามท้องถนน และเด็กๆ ถูกทอดทิ้ง
 ปฏิรูปภาษี ปกป้องสิ่งแวดล้อม พัฒนาบริการสาธารณสุข พัฒนาระดับ
ภูมิภาค และปกป้องการครอบงาเศรษฐกิจของต่างชาติ เศรษฐกิจเติบโตร้อยละ
8 ในปี 2010 ประชาชนหลุดพ้นจากความอดอยาก ได้รับความนิยมมากที่สุด
Hong Kong
USA
Singapore
Sweden
Switzerland
Taiwan
Canada
Qatar
Australia
Luxembourg
Germany
Denmark
Norway
Netherlands
Finland
Malaysia
Israel
Austria
China
UK
สังคมไทยให้ความเสมอภาค คนในสังคมมีเจตคติที่ดี ตระหนักและ
ยอมรับถึงบทบาทสตรีในบริบทต่างๆ (เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมือง) ในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน
สังคมไทยมีความยุติธรรม โดยสตรีทุกระดับมีโอกาส และได้รับ
การศึกษาและพัฒนาศักยภาพอย่างเหมาะสม
สตรีมีสุขภาพ สุขภาวะ มีความมั่นคงชีวิตและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สตรีมีความมั่นใจ และมีศักยภาพในการเข้าร่วมทางการเมืองและ
การตัดสินใจในระดับต่างๆ
กลไกสตรีระดับต่างๆ มีความเข้มแข็งและเป็นแกนหลักในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาสตรี
การบูรณาการบทบาทหญิงชายภายใต้กรอบเอเปค (Gender
Focal Point Network-GFPN)
เครือข่ายผู้นาสตรีในเอเปค (Woman Leaders'Network-
WLN) เป็นก
คณะกรรมการอาเซียนด้านสตรี (ASEAN Committee
on Woman-ACW) เป็นกลไกความร่วมมือด้านสตรีใน
ระดับภูมิภาค ารรวมกลุ่มจากผู้นาสตรีทุกภาคส่วน
อันดับ ๑ นางแองเจล่า มาร์เคิล นายกฯเยอรมัน
อันดับ ๒ นางฮิลลารี คลินตัน รมต.ต่างประเทศสหรัฐ
อันดับ ๓ ประธานาธิบดีหญิงดาลิมา รุสเซฟ แห่งบราซิล
อันดับ ๔ นางอินทรา นูยี ประธานกลุ่ม"เป๊ปซี่โคล่าร์
อันดับห้า นางเชอรีล แซนด์ ผู้บริหารหมายเลขสองของเฟซบุ๊ค
สมเด็จพระราชินีอลิซาเบธที่สองของอังกฤษ ติดอันดับที่ 49
ฟอร์บส์ ลงว่าอันดับของนายกฯไทย
เหนือกว่า เจเค โรลลิ่ง นักเขียนนวนิยาย
แฮร์รี่ พ็อตเตอร์ รวมทั้งมาดามโฮ ชิง ซีอีโอ
ของ "เทมาเสก" นายกรัฐมนตรีหญิงคน
แรกของไทยผู้นี้ ได้ขึ้นดารงตาแหน่ง
ด้วยการปฎิญาณจะสร้างความเป็นหนึ่ง
เดียวให้แก่ประเทศไทย ขณะที่ความท้า
ทายใหญ่หลวงที่สุดของเธอคือ ต้องก้าว
ข้ามพ้นเงาของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร
พี่ชายของเธอ”
Kamla Persad-Bissessar
ประธานาธิบดีหญิงคนแรกของประเทศตรีนิเดด
 Sheik Hasina Wajed
นายกรัฐมนตรีของประเทศบังคลาเทศ
 สตรีชาวบราซิลรู้สึกภาคภูมิใจและมีความสุข
 เธอยกย่องปธน.คนก่อนว่าเป็น “บุรุษผู้ยิ่งใหญ่”
 สานต่องาน และลงทุนสร้างความแข็งแกร่งให้กับ
ประชาชน
 งานที่สาคัญคือกาจัดความยากจน ให้เป็นประเทศ
ที่ได้รับการพัฒนาและมีความยุติธรรม ฉันจะไม่หยุดพักถ้าประชาชนยังหิวโหย
ไร้ที่อยู่และเร่ร่อนตามท้องถนน และเด็กๆ ถูกทอดทิ้ง
 ปฏิรูปภาษี ปกป้องสิ่งแวดล้อม พัฒนาบริการสาธารณสุข พัฒนาระดับ
ภูมิภาค และปกป้องการครอบงาเศรษฐกิจของต่างชาติ เศรษฐกิจเติบโตร้อยละ
8 ในปี 2010 ประชาชนหลุดพ้นจากความอดอยาก ได้รับความนิยมมากที่สุด
Hong Kong
USA
Singapore
Sweden
Switzerland
Taiwan
Canada
Qatar
Australia
Luxembourg
Germany
Denmark
Norway
Netherlands
Finland
Malaysia
Israel
Austria
China
UK
สังคมไทยให้ความเสมอภาค คนในสังคมมีเจตคติที่ดี ตระหนักและ
ยอมรับถึงบทบาทสตรีในบริบทต่างๆ (เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมือง) ในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน
สังคมไทยมีความยุติธรรม โดยสตรีทุกระดับมีโอกาส และได้รับ
การศึกษาและพัฒนาศักยภาพอย่างเหมาะสม
สตรีมีสุขภาพ สุขภาวะ มีความมั่นคงชีวิตและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สตรีมีความมั่นใจ และมีศักยภาพในการเข้าร่วมทางการเมืองและ
การตัดสินใจในระดับต่างๆ
กลไกสตรีระดับต่างๆ มีความเข้มแข็งและเป็นแกนหลักในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาสตรี
การบูรณาการบทบาทหญิงชายภายใต้กรอบเอเปค (Gender
Focal Point Network-GFPN)
เครือข่ายผู้นาสตรีในเอเปค (Woman Leaders'Network-
WLN) เป็นก
คณะกรรมการอาเซียนด้านสตรี (ASEAN Committee
on Woman-ACW) เป็นกลไกความร่วมมือด้านสตรีใน
ระดับภูมิภาค การรวมกลุ่มจากผู้นาสตรีทุกภาคส่วน
นางลัดดา แทมมี ดักเวิร์ธ
(Mrs.Ladda Tammy
Duckworth) ได้รับการแต่งตั้ง
ให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วย
รัฐมนตรีกระทรวงกิจการ
ทหารผ่านศึกของ
สหรัฐอเมริกา
อันดับ ๑ นางแองเจล่า มาร์เคิล นายกฯเยอรมัน
อันดับ ๒ นางฮิลลารี คลินตัน รมต.ต่างประเทศสหรัฐ
อันดับ ๓ ประธานาธิบดีหญิงดาลิมา รุสเซฟ แห่งบราซิล
อันดับ ๔ นางอินทรา นูยี ประธานกลุ่ม"เป๊ปซี่โคล่าร์
อันดับห้า นางเชอรีล แซนด์ ผู้บริหารหมายเลขสองของเฟซบุ๊ค
สมเด็จพระราชินีอลิซาเบธที่สองของอังกฤษ ติดอันดับที่ 49
ฟอร์บส์ ลงว่าอันดับของนายกฯไทย
เหนือกว่า เจเค โรลลิ่ง นักเขียนนวนิยาย
แฮร์รี่ พ็อตเตอร์ รวมทั้งมาดามโฮ ชิง ซีอีโอ
ของ "เทมาเสก" นายกรัฐมนตรีหญิงคน
แรกของไทยผู้นี้ ได้ขึ้นดารงตาแหน่ง
ด้วยการปฎิญาณจะสร้างความเป็นหนึ่ง
เดียวให้แก่ประเทศไทย ขณะที่ความท้า
ทายใหญ่หลวงที่สุดของเธอคือ ต้องก้าว
ข้ามพ้นเงาของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร
พี่ชายของเธอ”
การสารวจทัศนคติและความคาดหวังกว่า 1.1 หมื่นธุรกิจ จาก 39
กลุ่มประเทศเศรษฐกิจที่มีบริษัทดาเนินงานอยู่
ผู้บริหารหญิงทั่วโลก ไทยติดอันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 45 สวน
กระแสโลกที่ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 20
ผลการสารวจ พบว่าทั่วโลกมีสตรีที่ดารงตาแหน่งผู้บริหารเพียง
20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งลดลงจาก 24 เปอร์เซ็นต์ ในปี 2009
ทั้งยังพบว่าองค์กรเอกชนที่ไม่มีสตรีดารงตาแหน่งผู้บริหารเพิ่ม
สูงขึ้นเป็น 38 เปอร์เซ็นต์จาก 35 เปอร์เซ็นต์
จานวนสตรีที่ดารงตาแหน่งผู้บริหาร
สตรีไทยมีอัตราในตาแหน่งผู้บริหารเพิ่มขึ้นสูงสุดคือร้อยละ 45
จอร์เจียร้อยละ 40
ประเทศรัสเซียร้อยละ 36
ฮ่องกงและฟิลิปปินส์ร้อยละ 35 ส่วน
ประเทศที่มีผู้บริหารหญิงเพิ่มขึ้นน้อยที่สุด ได้แก่ ประเทศอินเดีย
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และญี่ปุ่น คือน้อยกว่าร้อยละ 10
การสารวจนี้จะทาเป็นประจาทุกๆ 2 ปี เพื่อให้เห็นความแตกต่าง
ทางตัวเลขอย่างชัดเจนยิ่งขึ้น
ปีนี้ประเทศไทยที่มีผู้บริหารหญิงเพิ่มขึ้นจากเดิมที่ อยู่ในอันดับ 3 ใน
ปี 2009 ขึ้นมาเป็นอันดับ 1 ในปี 2011 ได้อย่างน่าภาคภูมิใจ แม้จะ
สวนกระแสกับประเทศอื่นๆ ที่มีผู้บริหารหญิงลดลง
การเพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากปัญหาทางเศรษฐกิจในไทย มีปัญหาวิกฤติ
ทาให้ผู้หญิงต้องออกมาหารายได้จากนอกบ้านช่วยอีกแรง
องค์กรเอกชนในประเทศไทยเปิดโอกาสให้ผู้หญิงเข้ามามีส่วนร่วมใน
ตลาดแรงงานเพิ่มขึ้นด้วย
ในกลุ่ม G7 ต่ากว่าค่าเฉลี่ยโลก มีผู้หญิงที่ดารงตาแหน่งผู้บริหาร
เพียง 16% ขณะที่เอเชีย แปซิฟิก ยกเว้นญี่ปุ่น มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่
27%
บริษัททั่วโลกว่าจ้างผู้หญิงให้ดารงตาแหน่งผู้บริหารระดับสูง
จานวน 22% จ้างในตาแหน่งทางการเงิน เช่น ผู้บริหารสูงสุดฝ่าย
การเงิน ตามด้วยฝ่ายทรัพยากรบุคคล 20% ผู้บริหารสูงสุดฝ่าย
การตลาด 9% และผู้อานวยการฝ่ายขาย 9%
มีบริษัทเพียง 8% ที่มีประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นผู้หญิง แต่ใน
ไทยมีบริษัทที่มีซีอีโอเป็นผู้หญิงสูงถึง 30% จีน 19% ไต้หวัน
18% และเวียดนาม 16%
สังคมไทยเปิดโอกาสให้ผู้หญิงและผู้ชายมีความ เท่าเทียมกัน
ผู้หญิงมีการชะลอตัวในการสร้างครอบครัว และทุ่มเทให้แก่การ
ทางานมากขึ้น
ผลสารวจของทั่วโลกปริมาณผู้บริหารหญิงลดลง
สังคมไทยเป็นครอบครัวขยาย การเลี้ยงดูบุตรได้รับความ
ช่วยเหลือจากญาติผู้ใหญ่ ทาให้ผู้หญิงสามารถออกมาทางานนอก
บ้านได้มากขึ้น
องค์กรเอกชนที่มีผู้หญิงเป็นผู้นา อาทิ บี.กริม, ดีเอชแอล ประเทศ
ไทย, โตชิบา ประเทศไทย, ธนาคารไทยพาณิชย์, ดีแทค“
ชาย หญิง รวม
คนส่วนใหญ่ไว้ใจได้ 20.0 15.6 17.7
เราต้องระวังที่จะไว้ใจผู้อื่น 80.0 84.4 82.3
ชาย หญิง
คนส่วนใหญ่ไว้ใจได้ 46.8 45.5
เราต้องระวังที่จะไว้ใจผู้อื่น 52.2 54.4
สารวจปี ชาย หญิง
2544 20.0 15.6
2549 46.8 45.6
2550 44.9 38.4
ศาลปกครอง 83.5
ศาลรัฐธรรมนูญ 83.2
ผู้ตรวจการแผ่นดิน 79.0
ทหาร 78.0
ศาลยุติธรรม 77.9
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 76.9
คณะกรรมการสิทธิมนุษย์ชน 76.7
สตง. 75.8
สภาที่ปรึกษา 74.4
ปปช. 73.8
ข้าราชการ 73.3
ปปง. 70.1
โทรทัศน์ 71.0
หนังสือพิมพ์ 56.0
ตารวจ 67.5
รัฐบาล 66.9
รัฐสภา 66.3
กกต. 66.1
เอ็นจีโอ 58.7
พรรคการเมือง 57.7
36.3
63.7
29
71
0
10
20
30
40
50
60
70
80
20 2.7
N 98 13.0
432 57.5
201 26.8
ระดับความ
พอใจ
จานวน ร้อยละ
ไม่พอใจอย่างยิ่ง 20 2.7
ไม่พอใจ 98 13.0
ค่อนข้างพอใจ 432 57.5
พอใจอย่างยิ่ง 201 26.8
เหนือ อิสาน กลาง ใต้ กทม
เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4.6 0 6.7 1.0 12.4
เห็นด้วย 20.0 15.1 16.4 9.6 11.5
ไม่เห็นด้วย 20.8 46.1 41.0 33.7 26.5
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 37.7 27.1 26.2 51.0 35.4
ไม่เข้าใจคาถาม 3.8 1.2 2.6 1.0 0.9
ไม่เลือก 9.2 8.5 4.6 1.9 8.0
ปฎิเสธที่จะตอบ 3.8 1.9 2.6 1.9 5.3
 ทางาน 2/3 ของชั่วโมงทางานของโลก
 มีรายได้ 1/10 ของรายได้โลก
 เป็นเจ้าของ 1/100 ของทรัพย์สินโลก
 ผลิต 1/2 ของผลผลิตทางการเกษตรของโลก
 เป็น 1/3 ของหัวหน้าครอบครัวของโลก
 เป็น 1/10 ของผู้แทนในระดับท้องถิ่นและ
ระดับชาติของโลก
47
48
จานวนผู้ไม่รู้หนังสือทั่วประเทศ จาแนกเพศ พ.ศ. 2543
หญิง 1,951,208 คน
ชาย 1,552,078 คน
หญิง : 1,951,208 คน (56%)
ชาย : 1,552,078 คน (44%)
ที่มา: สามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ.2543 สานักงานสถิติแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี
ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา หญิงที่ไม่รู้หนังสือมีจานวนลดลง จากร้อยละ 62 เป็นร้อยละ 56
56 % 44 %
49
60.5
39.5
44.9
55.1
0
10
20
30
40
50
60
70
ไม่มีการศึกษา มีการศึกษา
หญิง
ชาย
50
1906
982
8170
3188
20464
12014
39343
20519
61422
42327
51551
40796
30615
22784
5944
8778
655
1854
89
474
4
26
0
5000
10000
15000
20000
25000
30000
35000
40000
45000
50000
55000
60000
65000
จานวน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
ระดับ
ข้าราชการพลเรือนสามัญ จาแนกตามระดับและเพศ ปีงบประมาณ 2544
หญิง ชาย
ที่มา: กำลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือน ปี 2544 สำนักงาน ก.พ.
หมายเหตุ: ไม่มีการรวบรวมข้อมูลปี 2545 เนื่องจากมีการปฎิรูป
ข้าราชการพลเรือนระดับ C 1 - 7 ส่วนใหญ่เป็นหญิง
ยิ่งในตาแหน่งระดับสูงจะยิ่งมีผู้หญิงน้อยกว่ามาก
ข้าราชการพลเรือนระดับิ๑-๗ิส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง
51
55,359
69,482
32,606
37,765
16,126
18,248
9,505
10,206
0
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
70,000
(บาทต่อเดือน)
ผู้อานวยการฝ่าย
ผู้จัดการแผนก
หัวหน้างานระดับต้น
ผู้ปฎิบัติ
ตาแหน่ง
ค่าตอบแทนของพนักงานประจา จาแนกตามระดับตาแหน่งและเพศ พ.ศ. 2543
หญิง ชาย
ที่มา: รายงานการสารวจค่าตอบแทนภาคเอกชน พ.ศ. 2543
สานักงานสถิติแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี
ในภาคเอกชนผู้หญิงได้ค่าตอบแทนต่ากว่าผู้ชาย แม้ทางานในระดับเดียวกันวิจัยพบชายทางานก้าวหน้ากว่าหญิง
ิิิิ(ดร.รวงทองิชัยประสพิคณะเศรษฐศาสตร์ิม.รามคาแหง)
อาชีพ รวม ชาย หญิง
พนักงานขาย 41.0 40.7 41.3
ประชาสัมพันธ์ 16.3 20.7 12.0
แพทย์ 9.0 8.0 7.3
นักธุรกิจ 6.0 4.7 4.0
พนักงานต้อนรับ 5.0 6.0 4.0
สจ๊วต - แอร์โฮสเตส 3.0 2.0 4.0
พยาบาล 3.0 2.0 4.0
พนักงานธนาคาร 2.3 1.3 3.3
ทนาย 1.7 0.7 2.7
ที่มาิ: สารวจคนวัยทางานิ20-40ิปีิ300ิตัวอย่างิกทม.ิฝ่ายวิจัยินสพ.สยามธุรกิจ
53
ปัญหาที่ผู้หญิงต้องเผชิญ
ความรุนแรงในครอบครัว
และการถูกล่วงเกิน/ล่อลวงทางเพศ
สุขภาพ/ความเจ็บป่วย
และการเข้าไม่ถึงบริการ
กฎหมายที่ไม่คุ้มครอง/
ไม่เป็นธรรม
โอกาสและสิทธิต่างๆ
อื่นๆ
งานที่ไม่เป็นธรรม/ไม่ปลอดภัย
งานนอกระบบ/งานไม่เหมาะสม
งานเลือกปฎิบัติ/งานค่าแรงต่่า
ไม่มีงานท่า
54
การนามิติหญิงชาย (วิถีชีวิต บทบาท ประสบการณ์
ความต้องการ ความสนใจ ฯ) มาพิจารณาในการ
กาหนดนโยบาย โครงการ การบริหาร การเงิน
ตลอดจนวิธีปฏิบัติงานขององค์กร
การสร้างกระแสความเสมอภาค
(Gender Mainstreaming)
55
เป้าหมาย
สิทธิและโอกาสที่เท่าเทียมกัน
กลยุทธ์
การมีส่วนร่วม
การสร้างเสริมศักยภาพ
วิธีการ
การผสมผสานประสบการณ์และความต้องการของ
ทั้งหญิงและชายในการบริหารและดาเนินงาน
หลักการ/แนวคิดการสร้างความเสมอภาค
56
นโยบาย กฏหมาย ระเบียบ
กลไก มาตรการ
บุคลากร
โครงการ / กิจกรรม/ งาน
สร้างกระแสความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
57
การสร้างหลักประกันเพื่อเสริมสร้างสถานภาพ
ผู้หญิง
รณรงค์รัฐบาล / พรรคการเมืองให้มีนโยบาย
รณรงค์ประกันสิทธิสตรีในรัฐธรรมนูญ
เสนอแก้ไขระเบียบเพื่อให้ผู้หญิงมีส่วนร่วม /
ไม่มีการเลือกปฏิบัติ
นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ
58
การกาหนดกลไก มาตรการ แนวทาง ระบบงาน
การประมวลข้อมูลแยกเพศ
การจัดตั้งองค์กรเพื่อติดตามการดาเนินงาน
การกาหนดสัดส่วน
กลไก มาตรการ แนวทาง
59
การสร้างเสริมโอกาสให้สังคมยอมรับศักยภาพของ
ผู้หญิง
การมอบรางวัลผู้หญิงเก่ง
การจัดทาทาเนียบสตรีผู้นาการเปลี่ยนแปลง
การสนับสนุนให้ผู้หญิงมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
การอบรมผู้นาสตรี
รณรงค์ให้ผู้หญิงลงสมัครรับเลือกตั้ง
การเผยแพร่และรณรงค์กับรัฐบาลและพรรค
การเมือง
การสร้างศักยภาพทั้งหญิงและชาย
60
การสร้างเสริมศักยภาพขององค์กรและเผยแพร่
แนวคิดเกี่ยวกับ มิติหญิงชาย
การอบรม การเขียนเอกสาร บทความ
การสร้างศักยภาพทั้งหญิงและชาย
61
ให้มีการจัดเก็บและใช้ข้อมูลแยกเพศในการจัดทา
นโยบาย แผนงาน และโครงการ
สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นมิติหญิงชาย
จัดให้มีนโยบายในการทางานที่เอื้อต่อชีวิตครอบครัว
และการเลี้ยงดูบุตร
ปรับเปลี่ยนเจตคติดั้งเดิมในเรื่องบทบาทหญิงชาย
จัดโครงการอบรมให้ความรู้ เพิ่มทักษะแก่สตรีกลุ่ม
ต่างๆ
ข้อเสนอแนะต่อภาคธุรกิจเอกชนจากการ
ประชุมเครือข่ายผู้น่าสตรีในเอเปค
62
การพัฒนาศักยภาพสตรีต้องดาเนินงานแบบเครือข่าย
เพราะ
1.การพัฒนาทุกอย่างเน้นงานใหญ่ที่ครอบคลุมหลายเรื่อง
2.การพัฒนาสตรีและสถาบันครอบครัวต้องพัฒนาครบ
วงจร แบบองค์รวม
3.บริหารทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยไม่ซ้าซ้อน
4.ต้องมีบุคลากรทางด้านวิชาการ
5.มีการแลกเปลี่ยนบทเรียนจากปัญหา และประสบการณ์
ต่างๆ
การสร้างเครือข่ายในการท่างานร่วมกัน

More Related Content

What's hot

สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1วีระยศ เพชรภักดี
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติwaraporny
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูกเห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูกKrisada Atidkavin
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพBeerza Kub
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้greatzaza007
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 

What's hot (20)

สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
เห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูกเห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูก
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

บทบาทสตรีในอนาคต