SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา   2


ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของ
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
                                                                   บทที่ 1

โครงรางเนื้อหาของบท                                           คําสําคัญ
   1. ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการศึกษาและ         เทคโนโลยี
        สื่อการศึกษา                                    เทคโนโลยีการศึกษา
    2. ความเปนมาและพัฒนาการของเทคโนโลยีและ             นวัตกรรมการศึกษา
        สื่อการศึกษา                                    สื่อการศึกษา
    3. ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา               การออกแบบการสอน
วัตถุประสงคการเรียนรู                                 ขอบขายของเทคโนโลยี
    1. อธิบายความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการศึกษาและ   การศึกษา
        นวัตกรรมการศึกษาได
    2. วิเคราะหขอบขายเทคโนโลยีการศึกษาได
    3. เปรียบเทียบพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาได
กิจกรรมการเรียนรู
    1. บรรยายเกี่ยวกับมโนทัศนเชิงทฤษฎี หลักการ เรื่อง
       ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและ
       สื่อการศึกษา
    2. นักศึกษาแบงเปนกลุมยอย กลุมละ 3 คน ศึกษาจาก
       สิ่งแวดลอมทางการเรียนรูบนเครือขาย
       http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย
       ศึกษาสถานการณปญหาบทที่ 1 วิเคราะหทําความเขาใจ
       คนหาคําตอบจากเอกสารประกอบการสอนและแหลง
       เรียนรูบนเครือขาย รวมกันสรุปคําตอบ แลวนําเสนอใน
       รูปแบบ Power point
    3. นักศึกษารวมกันสรุปองคความรูและแลกเปลี่ยนความ
       คิดเห็น โดยผูสอนตั้งประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา        3


สถานการณปญหา (Problem-based learning)
คณะศึกษาศาสตร มหาวิ ทยาลั ยขอนแก น จะทําการจั ดอบรม
สั ม มนาค รู ที่ สอนใ นระ ดั บ การศึ กษาขั้ น พื้ น ฐานทั่ วภ าค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ในหัวเรื่องเกี่ยวกับการนําเทคโนโลยีมาใชใน
การจัด การศึกษา คณะศึกษาศาสตรพิจารณาแล วเห็นว าทานมี
ความเหมาะสมที่จะทําหนาที่เปนผูชวยวิทยากรใหความรูในงาน
สัมมนาดังกลาว ในหัวขอความหมาย พัฒนาการและขอบขายของ
เทคโนโลยีทางการศึกษาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน และแนวโนมใน
อนาคต ซึ่งท านจะตองคอยใหคํ าแนะนําตลอดจนชวยเหลือครู
อาจารยที่เขารวมอบรมภารกิจของผูชวยวิทยากรตองเตรียมความ
พรอมให กับตัวเองโดยการศึกษาขอมูลที่ เกี่ยวข องกับเทคโนโลยี
ทางการศึกษา

ภารกิจของผูชวยวิทยากร
         1. สรุ ป สาระสํ าคัญ เกี่ ย วกั บ ความหมายของเทคโนโลยี และสื่ อการศึ กษา พร อมทั้ ง
เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในชวงยุคตางๆ
         2. จําแนกองคประกอบขอบขายของเทคโนโลยีทางการศึกษาวามีความสําคัญตอการจัด
การศึกษาในยุคปจจุบันอยางไร
         3. Educational Technology และ Instructional Technology มีความเหมือน ความ
แตกตางหรือสัมพันธกันอยางไร
         4. การประยุกตความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามาใชแกปญหาเกี่ยวกับการเรียนรู
ในยุคปฏิรูปการเรียนรูอยางเปนรูปธรรมไดอยางไร
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา   4



ความหมาย
    เทคโนโลยี
                                                      ความเป น มาและพั ฒนาการ
    เทคโนโลยีการศึกษา
                                                      ของเทคโนโลยีการศึกษา
    ความแตกต า งระหว า ง
                                                           ค ว า ม เ ป น ม า แ ล ะ
เ ท ค โ น โ ล ยี ก าร ศึ กษ า กั บ
                                                      พั ฒ นาการของการออกแบบ
เทคโนโลยีในการศึกษา
                                                      การสอน
                                     สาระสําคัญ            ค ว า ม เ ป น ม า แ ล ะ
                                                      พั ฒ นาการของสื่ อ การเรี ย น
                                      ในบทที่ 1
                                                      การสอน
ขอ บข ายข อ งเ ทค โ น โ ลยี
                                                           พื้นฐานของคอมพิ วเตอร
การศึกษา
                                                      เพื่อการสอน
   การออกแบบ
                                                           เทคโนโลยี ก ารสอนใน
   การพัฒนา                                          ปจจุบัน
   การใช
   การจัดการ
   การประเมินผล
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา                   5


ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยีการศึกษาและสื่อการศึกษา

              ความเจริญกาวทางดานวิทยากรสมัยใหมในปจจุบัน ลวนเปนผลมาจากการศึกษา คนควา
ทดลอง หรือการประดิษฐคิดคนสิ่งอํานวยความสะดวกทั้งในดานการทํางาน การติดตอสื่อสาร และ
การดําเนินชีวิตที่สะดวกสบาย รวดเร็ว ความกาวหนาดังกลาวอาศัยความรูทางวิทยาศาสตร และ
ประยุกตมาใชในการพัฒนางานทางดานตางๆ ที่เรียกวา “เทคโนโลยี” (Technology)
ความหมายของเทคโนโลยี
              “เทคโนโลยี ” หมายถึ ง การนํ า แนวคิ ด
หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนผลิตผล
ทางวิทยาศาสตรมาประยุกตใชในระบบงานตางๆ เพื่อ
ปรั บ ปรุ ง ระบบงานนั้ นๆ ให ดีขึ้ น และมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ
ยิ่ ง ขึ้ น ตลอดจนเพื่ อแก ป ญ หาในการปฏิ บั ติ ง าน เช น
การเกษตร การแพทย อุตสาหกรรม ธุรกิจ และความ
มั่ น คงของประเทศ ต า งก็ นํ า เทคโนโลยี ม าใช เ พื่ อ
กอใหเกิดประโยชนตอสาขาวิชาชีพของตนอยางเต็มที่ อันจะเอื้ออํานวยในดานตางๆ ดังนี้ (สุมาลี
ชัยเจริญ, 2551)
              1. ประสิทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะชวยใหการทํางานนั้นถูกตองและรวดเร็ว มี
ปริมาณผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นภายใตทรัพยากรที่ถูกใชอยางจํากัด
              2. ประสิทธิผล (Effectiveness) เทคโนโลยีจะชวยใหการทํางานบรรลุผลตามเปาหมายที่
กําหนดไวอยางมีคุณภาพ
              3. ประหยัด (Economy) จะชวยประหยัด เวลา ทรัพยากร และกอให เกิด ประโยชน
สูงสุด ทําใหราคาของผลิตผลนั้นถูกลง
              4. ปลอดภัย (Safety) เปนระบบการทํางานทีสงผลใหเกิดความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
                                                             ่

             ปจจุบัน ไดมีการนําเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนางาน ในหลายวงการ เชน วงการทหาร
เรี ยกว า เทคโนโลยี ทางการทหาร (Military Technology) นํ ามาใช ใ นการพั ฒนางานการผลิ ต
เครื่ อ งมื อ และวิ ธี ก ารต า งๆในทางการแพทย เรี ย กว า เทคโนโลยี ท างการแพทย (Medical
                                            Technology) ที่ ใ ช ใ นการผ า ตั ด ด ว ยแสงเลเซอร
                                            เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ( Agricultural
                                            Technology) เช น การสรางเครื่องมื อสําหรั บเกี่ย ว
                                            ขาว ไถนา หรือนวดขาว สิ่งเหลานี้จะชวยใหการทํางาน
                                            เปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว ประหยัดทั้งแรงงานและ
                                            ค า ใช จ า ย สํ า หรั บ งานด า นธุ ร กิ จ ได แ ก การนํ า
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา                          6


คอมพิวเตอรมาชวยจัดระบบงานตางๆ เชน การเบิกจายเงินธุรกิจธนาคาร อาทิ การฝากถอนเงิน
ดวยบัตร ATM หรือการโอนเงินดวยระบบคอมพิวเตอร ตลอดจน ระบบการผลิตสินคาในโรงงาน
ฯลฯ จากประโยชน นานัป การที่ ได รับ จากเทคโนโลยีที่ มีต อการพัฒ นาดานต างๆดั งกลาวข างต น
เชนเดียวกันทางดานการศึกษาไดตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนในการนําเทคโนโลยีมาใช
ในการพั ฒ นาระบบการศึ ก ษาให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพิ่ ม ขึ้ น เรี ย กว า เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา
(Educational Technology) ทั้ ง นี้ เพื่ อมุ ง เน นให การดํ าเนิ นการจั ด การศึ กษา ซึ่ ง เปนหลั กที่
สําคัญในการพัฒนาประเทศเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
           คณะกรรมการกําหนดศัพทและความหมายของสมาคมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ของสหรั ฐ อเมริ ก า (AECT, 1979) อธิ บ ายว า “เทคโน โลยี ก ารศึ ก ษา” (Educational
Technology) เปนกระบวนการที่มีการบูรณาการอยางซับซอน เกี่ยวกับ บุคคล กรรมวิธี แนวคิ ด
เครื่องมือ และองคกร เพื่อนําไปใชในการวิเคราะหปญหา สราง ประยุกตใช ประเมินผล และจัดการ
แก ปญ หาต างๆ ดั ง กล าวที่ เกี่ ย วข องกั บ การเรี ยนรู ของมนุ ษย ใ นทุ กลักษณะ หรื ออาจกลาวได วา
“เทคโนโลยีการศึกษา” และขั้นตอนการแกปญหาตางๆ รวมถึงแหลงการเรียนรูที่ไดมีการออกแบบ
                                                                 เลื อก แล ะ นํ ามาใ ช เ พื่ อ ใ ช เพื่ อมุ ง สู
                                                                 จุดมุงหมาย คือ การเรียนรู นั่นเอง
                                                                             จากค วามห มายข อง สมาค ม
                                                                 เทคโนโลยี แ ละสื่ อ สารการศึ ก ษาของ
                                                                 สหรั ฐ อเมริ ก า ดั ง กล า วข า งต น ได มี ก าร
                                                                 ขยายแนวคิดเกี่ยวกับ เทคโนโลยีการศึกษา
                                                                 เพราะการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการ
                                                                 เปลี่ยนกระบวนทัศนจากพื้นฐานทางทฤษฎี
การเรียนรูพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสูพุทธิปญญานิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติ
                                                         
วิ ส ต (Constructivism) กอปรทั้ ง ความเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี ใ หม ๆ โดยเฉพาะอย างยิ่ ง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงไดมีการปรับเปลี่ยนความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาให
เหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลง (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ดังนี้

           เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา หรื อ เทคโนโลยี ก ารสอน (Instructional Technology)
หมายถึงทฤษฎี และการปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการ และการ
ประเมินของกระบวนการและแหลงเรียนรู สําหรับการเรียนรู (Seels, 1994)
           จากนิยามขางตนจะเห็นไดวา เทคโนโลยีก ารศึ กษา ไมได มีขอบเขตของสาขาวิ ชาที่
เกี่ยวของกับการออกแบบหรือผลิตสื่อการสอนเทานั้น แตยังมีขอบเขตที่กวางขวางที่ครอบคลุมถึง
การนําเทคนิค วิธีการ ตลอดจนทั้งสิ่งประดิษฐมาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูของผูเรียน
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา                7


ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา

           “นวัตกรรมการศึกษา” คือ การทําสิ่งใหมๆ ซึ่งอาจจะเปนความคิดหรือการกระทํา หรือ
สิ่ง ประดิ ษฐ ขึ้ น โดยอาศัย หลั กการ ทฤษฎี ที่ ได ผ านการทดลองวิ จัย จนเชื่อถื อได เข ามาใช ใ น
การศึกษา เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการเรียนการสอน

                                           ลักษณะเดนที่จัดวาเปนนวัตกรรมการศึกษา
                                                         1. จะตองเปนสิ่งใหมทั้งหมด หรือบางสวน
                                           อาจใชเปนของเกาที่ใชในอดีตแลวนํามาปรับปรุงใหม
                                           ใหดียิ่งขึ้น
                                                         2. มีการ ศึกษา ทดลอง โดยอาศัยหลักการ
                                           ทฤษฎี มาใชอยางเปนระบบ
                                                         3. มีการพิสูจนดวยการทดลองหรือวิจัย
                                                         4. ยังไมเปนสวนหนึ่งของระบบงานใน
                                           ปจจุบัน หากวา สิ่งใหม นั้นไดมีการเผยแพรจนเปน
สิ่งที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แลวจะกลายเปนเทคโนโลยี

 ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา

          มาตรฐานหรือขอบขายเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาที่นักการศึกษา หรือผูที่ทํางานดาน
การศึกษาถือวาเปนสิ่งสําคัญที่จะตองรูจักและทําความเขาใจ เพราะจะชวยใหเราสามารถกําหนด
สร างสรรค แ ละระบุ ข อบข ายงานด านเทคโนโลยี การศึ กษา ซึ่ ง International Society for
technology in education (ISTE) ซึ่งเปนหนวยงานหลักสําคัญไดพัฒนาและกําหนดมาตรฐานที่
สําคัญสําหรับครูและผูเรียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาว าตองรูอะไรบาง ซึ่ งหนวยงานดังกลาว
ไดรับทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยจากรัฐบาลสหรัฐ อเมริกา เพื่อกําหนดประเด็นตางๆดานการใช
เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนรูสําหรับประเทศสหรัฐอเมริกา โดยจะมีทั้งมาตรฐานสําหรับครูวา
จะตองมีทักษะ ความรู และใชเทคโนโลยีสนับสนุนผูเรียนอยางไร ตลอดจนมาตรฐานของผูเรียนที่
จะตองมีทักษะและความรูดานเทคโนโลยีอยางไร เพื่อใหสอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
          องคกรทางวิชาชีพของนักเทคโนโลยีการศึกษาที่สําคัญอีกองคกร คือ Association for
educational communication and technology (AECT) ไดพัฒนามาตรฐานที่เปนแนวทาง
สําหรับครูดานเทคโนโลยีการศึกษาทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่ง Barbara และ Rita (1994 อางถึง
ในสุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ไดอธิบายนิยามดังกลาวของเทคโนโลยีการศึกษา คือ ทฤษฎีและการ
ปฏิบัติในขอบขายที่เกี่ยวของกับ การออกแบบ การพัฒนา การใชการจัดการ และประเมินผล ของ
กระบวนการและแหลงการเรียนสําหรับการเรียนรู ดังจะเห็นความสัมพันธของขอบขายทั้ง 5 ไดแก
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา    8


การออกแบบ (Design) การพั ฒ นา (Development) การใช (Utilization) การจั ด การ
(Management) และการประเมิน (Evaluation) ดังแสดงไวในภาพและมีรายละเอียดดังนี้




   ภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551)

               ขอบขายหลักและขอบขายยอยของเทคโนโลยีการศึกษา
   การออกแบบ      การพัฒนา          การใช           การจัดการ          การประเมินผล
-การออกแบบ     -เทคโนโลยี     -การใชสื่อ         -การจัดการ           -การวิเคราะห
ระบบการสอน สิ่งพิมพ          -ก า ร เ ผ ย แ พ ร โครงการ              ปญหา
-การออกแบบ     -เทคโนโลยีดาน นวัตกรรม            -การจัดการ           -การวัดตาม
สาร            โสตทัศน       -การนําไปใช        ทรัพยากร             เกณฑ
-กลยุทธการสอน -เทคโนโลยี     สําหรับตนเอง        -การจัดการ           -การประเมิน
-คุณลักษณะของ คอมพิวเตอร     และใน               ระบบขนสง            ระหวาง
ผูเรียน       -เทคโนโลยี     สถานศึกษา           -การจัดการ           กระบวนการ
               บูรณาการ       -น โ ย บ า ย แ ล ะ สารสนเทศ              -การประเมิน
                              กฎระเบียบ                                แบบองครวม
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา                 9

            การออกแบบ (Design) เปนขอบขายที่แสดงใหเห็นถึงกรอบหรือโครงรางที่แสดงความ
เชื่ อมโยงระหว า งหลั ก การและทฤษฎี พื้ น ฐานต างๆ ที่ จะนํ าไปสร างและพั ฒ นางานทางด า น
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอยางเปนรูปธรรม เชนเดียวกับที่สถาปนิกสรางพิมพเขียวของอาคาร
การออกแบบมีการเปลี่ยนแปลงตามหลักจิตวิทยาการเรียนรูเปนสําคัญจากพฤติกรรมนิยมมาเปน
พุท ธิป ญ ญานิย มและคอนสตรั ติ วิส ตดั ง ที่พ บเห็ นในป จจุบั น ในการออกแบบงานทางเทคโนโลยี
การศึกษามี 4 ดาน คือ การออกแบบระบบการสอน การออกแบบสาร กลยุทธการสอน และ
คุณลักษณะของผูเรียน
            การออกแบบระบบการสอน เป นการกํ าหนดระบบการสอนทั้ ง หมด รวมทั้ง การจั ด
ระเบียบของกระบวนการ ขั้นตอน ที่หลอมรวมทั้งขั้นการวิเคราะห การออกแบบ การพัฒนา การ
นําไปใชและการประเมินการเรียนการสอน
            การออกแบบสาร เปนการวางแผนสําหรับจัดกระทํากับสารในทางกายภาพ ที่จะใหผูเรียน
รับรู ใสใจ และเรียกสารกลับมาใชไดเมื่อตองการ
            กลยุทธการสอน เปนการระบุการเลือก และลําดับเหตุการณ ตลอดจนกิจกรรมการเรียนรู
สําหรับบทเรียน
            คุณลักษณะของผูเรียน เปนสิ่งสําคัญในการออกแบบที่ตองคํานึงถึงพื้นฐานประสบการณ
เดิม ของผูเ รียน ความแตกตางของผูเ รียน เชน เพศ อายุ รูปแบบการเรีย น ฯลฯ ซึ่ง จะสงผลต อ
ประสิทธิภาพในการออกแบบ
            การพัฒนา (Development) เปนขอบขายของการสรางผลิตภัณฑในรูปแบบของสื่ อ
ตางๆโดยนําพื้ นฐานที่ไ ด ออกมาพั ฒ นาเป นสื่ อที่ อาศั ยคุ ณลั กษณะของสื่ อต างๆ คื อ เทคโนโลยี
สิ่งพิมพ เทคโนโลยีดานโสตทัศน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีบูรณาการ
            เทคโนโลยีสิ่งพิมพ เปนแนวทางในการผลิตหรือขนส งเนื้อหาไปยังผูเรียน เชน หนังสื อ
และภาพนิ่งตางๆ เปนตน ในการพัฒนาสื่อประเภทนี้จะตองพิจารณาถึงคุณลักษณะของสื่อ ที่เปน
ตั วอั ก ษร ภาพนิ่ ง และมี ค วามคงที่ (Stability) ที่ ผู อ านสามารถพลิ กกลั บ ไปกลั บ มาอ านซ้ํ าได
ตลอดเวลาหากตองการทําความเขาใจเพิ่มเติม เปนตน หลักการทฤษฎีที่เกี่ยวกับการรับรูทางการ
มองเห็น การอาน และกระบวนการประมวลสารสนเทศของมนุษยซึ่งหมายถึงทฤษฎีการเรียนรู
            เทคโนโลยีดานโสตทัศน เปนแนวทางในการผลิตหรือขนสงเนื้อหาไปยั งผูเรี ยนโดยใช
เครื่องมือกลไกอิเล็กทรอนิกสในการนําเสนอสารทั้งเสียงและภาพ เชน วีดิทัศน โทรทัศน ภาพยนตร
เปนตน ขอดีของเทคโนโลยีดานนี้คือการใหความเปนสภาพจริง บริบทในการเรียนรู แตยังมุงเนนครู
เปนหลักในการถายทอด
            เทคโนโลยี คอมพิวเตอร เปนแนวทางในการผลิต หรื อขนสง เนื้อหาไปยั งผูเ รีย นโดยใช
เครื่องคอมพิวเตอรเปนฐาน ที่มีการนําคุณลักษณะของคอมพิวเตอรมาประยุกตใชในปจจุบัน เชน
คอมพิวเตอรชวยสอน คอมพิวเตอรเปนฐานในการเรียนการสอน ซึ่งที่ผานมาอาศัยพื้นฐานทฤษฎี
กลุมพฤติกรรมนิยมและการสอนแบบโปรแกรม แตในปจจุบันนี้ไดเปลี่ยนมาใชพื้นฐานทฤษฎีการ
เรียนรูในกลุมพุทธิปญญานิยมและคอนสตรัคติวิสตมากขึ้น
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา                       10


          เทคโนโลยี บู ร ณาการ เป นแนวทางในการผลิ ต หรื อ ขนส ง เนื้ อหาไปยั ง ผู เ รี ย นโดยใช
คุณลักษณะของสื่อหลายชนิดภายใตการควบคุมโดยคอมพิวเตอร
          การใช (Utilization) เปนขอบขายที่เกี่ยวของกับรูปแบบการนําสื่อที่พัฒนาแลวไปใช
อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะตองคําถึงถึงความงายในการใชงานระหวางผูเรียนและสื่อการเรียนการ
สอน หรือระบบที่เกี่ยวของ การใชนั้นเปนการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับกระบวนการใชและทรัพยากรใน
การเรี ย นรู ซึ่ ง ต องการเกี่ ย วกั บ ระบบการใช นโยบาย กฎ ระเบี ย บ รวมทั้ ง การแพร ก ระจาย
นวัตกรรมไปสูการใชที่แพรหลาย
          การจัด การ (Management) เปนขอบขายหลักสําคัญของสาขาเทคโนโลยีการศึกษา
เพราะจะต องเกี่ ย วข องกั บ การบริ ห ารจัด การแหล ง การเรี ย นรู ที่ จะตองนํ าไปสนั บ สนุนในทุ กๆ
ขอบขาย ซึ่ ง จะต องมี การจั ดระเบีย บและแนะนํ า หรือการจั ดการทรั พ ยากรทางการเรี ย นรู ซึ่ ง
ประกอบดวยการจัดการในดานตางๆคือ การจัดการโครงการ การจัดการทรัพยากร การจัดการ
ระบบขนสง และการจัดการสารสนเทศ
          การประเมิน (Evaluation) ขอบขายดานนี้จะเกี่ย วของกับการประเมิ นเพื่ อปรั บปรุ ง
(Formative Evaluation) ในการประเมินนั้นจะมุงเนนการประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ
เพื่อแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของสื่อที่ออกแบบขึ้นมา

ขอบขายของกระบวนการและแหลงการเรียนรู (Process and Resource)
            กระบวนการ ในที่นี้ หมายถึง ลําดับของการปฏิบัติการหรือกิ จกรรมที่ มีผลโดยตรงต อ
เทคโนโลยีการสอน ประกอบดวยทั้งดานการออกแบบ และกระบวนการสงขอมูลขาวสาร ความรู
กระบวนการ หมายถึง ลําดับที่เกี่ยวของกับขอมูลปอนเขา (Input) การกระทํา (Action) และผล
ซึ่งการวิจัย ในปจจุ บันจะมุงเนนยุทธวิธีการสอนและความสั มพันธข องรู ปแบบการเรี ยนรู และสื่ อ
ยุท ธวิ ธีการสอน (Instruction strategies) เปนวิ ธีการสํ าหรับ การเลื อกและจั ดลํ าดั บ กิจกรรม
ตัวอยางของกระบวนการเปนระบบการสง เชน การประชุมทางไกล (Teleconferencing) รูปแบบ
การสอน เชน การศึกษาอิสระ รูปแบบการสอน (Model of teaching) ไดแก การสอนแบบอุปนัย
(Inductive) และรู ป แบบสํ า หรั บ การพั ฒ นาการสอน ได แ ก การออกแบบระบบการสอน
(Instructional system design) กระบวนการ (Process) สวนใหญจะเปนลําดับขั้นตอนแตไม
เสมอไป
            แหลงการเรียนรู (Resources) เปนแหลงที่จะสนับสนุนการเรียนรูของผูเรียน รวมถึง
สนับสนุนระบบ และวั สดุการสอนตลอดจนสิ่ งแวดลอม สาขาวิช าเทคโนโลยีการศึกษา หรื อวิช า
เทคโนโลยีการสอน ไดพัฒนาและเจริญกาวหนามาจากความสนใจเกี่ยวกับการใชสื่อการสอนและ
กระบวนการสื่ อ สาร แต แ หล ง การเรี ย นรู จ ะไม ใ ช เ พี ย งเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ ใ ช ใ น
กระบวนการเรียนรูและการสอนเทานั้น แตยังรวมถึง บุค คล งบประมาณ สิ่งอํานวยความสะดวก
ตลอดจนสิ่งที่ชวยใหเกิดการเรียนรูเปนรายบุคคลได
            การเรียนรู (Learning) วัตถุประสงคของเทคโนโลยีการสอนเปนสิ่งที่มีอิทธิพลและสงผล
ตอการเรียนรู โดยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู และทําใหเกิดความกระจางชัดใน
การเรียนรู เปนวัตถุประสงคของการสอน ซึ่งจะหมายถึงการเรียนรูนั่นเอง การเรียนรู เปนสิ่งที่มี
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา                   11


หลักฐานเชิงประจักษเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความรู ทักษะ และเจตคติ ที่เปนเกณฑในการสอน
หรือในนิยามที่วา “การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงอยางถาวรในดานความรูของบุค คลหรือ
พฤติกรรม รวมถึงประสบการณตางๆ

ความเปนมาและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา

         รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนานโดยเริ่มจากสมัยกรีก กลุมโซฟสต
(Sophist) เปนกลุม ครูผูสอนชาวกรีก ไดออกทําการสอนความรูตางๆใหกับชนรุนเยาว ไดรับการ
ยอมรับวาเปนผูที่มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โตแยง ถกปญหา จนไดรับการขนาน
นามวา เปนนักเทคโนโลยีการศึกษากลุมแรก
                                                     บุคคลที่สําคัญอีกทานหนึ่ง คือ โจฮัน อะมอส คอ
                                        มินิอุส (Johannes Amos Comenius ค.ศ. 1592-1670)
                                        เปนผูที่ใชวัสดุ สิ่งของที่เปนของจริงและรูปภาพ เขามาชวย
                                        ในการสอนอยางจริง จัง รวมทั้งแนวคิ ดในเรื่องวิธีการสอน
                                        ใหมที่ใหความสําคัญตอการใชวัสดุ ของจริงมาใชในการสอน
                                        ตลอดจนการรวบรวมหลักการสอนจากประสบการณที่ทํ า
                                        การสอนมา 40 ป นอกจากนี้ ไ ด แ ต ง หนั ง สื อ ที่ สํ า คั ญ อี ก
                                        มากมายและที่สําคัญ คือ Obis Sensualium Pictus หรือที่
                                        เรี ย กว า โลกในรู ป ภาพ ซึ่ ง เป น หนั ง สื อที่ มี ภ าพประกอบ
                                        บทเรี ย นต างๆ ผลงานของคอมิ นิอุส ได มี อิท ธิ พ ลต อการ
                                        พัฒนาตลอดมา จนไดรับการขนานนามวา เปน “บิดาแหง
โสตทัศนศึกษา”
         ตอมาไดมีการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีการศึกษาซึ่งสามารถจําแนกออกเปนดานตางๆ
ในที่นจะกลาวเกี่ยวกับพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ในสวนประกอบหลักที่สําคัญ ไดแก ดาน
      ี้
การออกแบบการสอน ดานสื่อการสอน และดานคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ดังรายละเอียดตอไปนี้
ความเปนมาและพัฒนาการของการออกแบบการสอน (Instructional Design Roots)
         การออกแบบการสอนไดรับความสนใจตั้งแตในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเนื่องมาจาก
สาเหตุของความจําเปนในการฝกอบรมบุคลากรในกองทัพ และไดรับความสนใจเพิ่มมากขึ้นในชวงป
1950 – 1960 เปนชวงที่สําคัญของสาขาวิชาออกแบบ
การสอน (Instructional design) และไดมีนักวิจัยพัฒนา
ศาสตรทางดานนี้อยางตอเนื่องโดยนําฐานทฤษฎีจิตวิทยา
การเรียนรูเขามาเปนพื้นฐานในการออกแบบโดยเริ่มจาก
ทฤษฎี ก ลุ ม พฤติ กรรมนิ ย ม งานที่ โ ดดเด นในช ว งนี้ เ ช น
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา                          12


สกินเนอร ธอรนไดค ซึ่งเปนที่มาของวิธีระบบ (Systematic approach) ในลักษณะการออกแบบ
เชิงเสน ที่เนนลําดับขั้นในการเรียนรู ตอมาทฤษฎีในกลุมพุทธิปญญานิยมไดรับความนิยมมากขึ้น
โดยเฉพาะ ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ไดเขามามีบทบาทในชวงนี้ก็จะ
เนนการออกแบบที่เชื่อมโยงถึงกระบวนการทางพุทธิปญญาที่สงเสริมใหผูเรียนสามารถประมวลผล
สารสนเทศที่ไดรั บเขาไปเก็บไว อยางเป นระบบในหนวยความจํา (Memory) และสารมารถเรีย ก
กลับมาใชไดโดยไมลืม และในปจจุบันทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต (Constructivism) กําลังไดรับความ
สนใจจากนักการศึกษาอยางกวางขวาง แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีนี้ คือ ความรูไมสามารถสงผาน
ไปสู ผูเ รีย นได แตผู เรี ยนตองสรางความรูขึ้ นด วยตนเองในบริ บทของสัง คม การมี ปฏิ สัม พันธกับ
สิ่งแวดลอมที่เปนสภาพจริง (Authentic) แมวาการออกแบบการสอนมีการเชื่อมโยงกับการรูคิดใน
สมองมนุษย หรือ จิตใจของมนุษยไปจนกระทั่งพื้นฐานจากพฤติกรรมนิยม แตภายใตกระแสงความ
ป จ จุ บั น ที่ เ ปลี่ ย นไปซึ่ ง ทวี ค วามซั บ ซ อนในเชิ ง สั ง คม ตลอดจนความก า วหน าของเทคโนโลยี
สารสนเทศ และอิทธิพลของกระแสแหงขอมูลขาวสารที่มีมากมาย เปนผลใหงานสวนใหญของนัก
เทคโนโลยีการศึกษา (Instructional Technologists)ในปจจุบันมีการยอมรับแนวคิดของกลุมพุทธิ
ปญ ญานิ ย ม(Cognitivism) และคอนสตรั ค ติวิ ส ต (Constructivism) ดั งที่ ป รากฏผลงานวิจั ย ใน
ปจจุบัน และเปนสวนหนึ่งที่สําคัญของการพัฒนาของสาขาวิชา (Newby, Stepich, Lehman and
Russell,2000)
ความเปนมาและพัฒนาการของสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media Roots)
               สื่อการสอน (Instructional media) และการออกแบบการสอน (Instructional design)
ไดมีการพัฒนามาดวยกันแตก็แยกตัวเปนอิสระแตก็มีสวนมาบรรจบกัน แมวาการใชของจริง (Real
object) ภาพวาด (Drawing) และสื่ออื่นๆนับเปนสวนหนึ่งของการสอน อยางนอยที่สุดเปนการ
นํ ามาซึ่ ง ความเจริ ญ ก า วหน าทางด านประวั ติ ศ าสตร ข องการใช สื่ อ การสอน เช น เดี ย วกั บ การ
ออกแบบการสอน เปนสิ่งที่ปรากฏชัดเจนในศตวรรษที่ 20
                                                                         จากผลของการใชสื่อตาง ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น
                                                          ระหวางชวงทศวรรษที่ 1970 และ 1980 สาขาวิชา
                                                          นี้ ไ ด มี การเปลี่ ย นแปลงและเติ บ โตมากขึ้ น ดั ง นั้ น
                                                          ผูเชี่ ยวชาญด านสื่อกลายเปนผูที่ มีความสํ าคัญ เพิ่ ม
                                                          มากขึ้นในชุมชนโรงเรียน สื่อที่มีรูปแบบใหมๆไดรับ
                                                          ความสนใจเพิ่มมากขึ้น และความเคลื่อนไหวตาง ๆ
                                                          นํามาสู การเปลี่ ยนแปลงศาสตร ทางดานโสตทั ศ น
                                                          ศึกษา การศึกษาทางดานสื่อซึ่ งเริ่มประมาณปลาย
สงครามโลกครั้งที่ 2 และดําเนินการตอเนื่องมา สื่อกลายเปนสิ่งที่ถูกมองว าไมสามารถเปนสวนที่
แยกตัวออกมาอยางโดดเดี่ยวได แตวาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่ง
กวางขวางกวาแนวคิดเดิม เชนเดียวกับการออกแบบการสอนที่พัฒนาไปเปนสวนหนึ่งของการศึกษา
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา                13


ในสาขาวิชา และศาสตรทางดานสื่อไดเติบโตพรอมทั้งมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับการออกแบบการ
สอน (Instructional design) และการสื่อสาร (Communication)
คอมพิวเตอรเพื่อการสอน (Instructional Computing Roots)
คอมพิวเตอรมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับนวัตกรรมการศึกษา(Innovations)ในปจจุบันคอมพิวเตอร
ยุคแรกจะนําอิเลคทรอนิกสดิจิตอลมาใชในการสราง จากการที่มีการใชคอมพิวเตอรสวนบุคคลกัน
อยางกว างขวางและสมรรถนะของคอมพิวเตอรที่ เพิ่ มสูง ขึ้น การเพิ่ มปริ มาณของซอรฟ แวร และ
สามารถจั ดหาไดง าย โปรแกรม CAI ในรายวิช า
ตางๆปรากฏมากมาย และซอรแ วร ที่ มี คุณภาพ
เป น ประเด็ น ที่ มี ค วามสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ การใช
คอมพิ วเตอร ส ว นบุ ค คล ผลิ ต ผลที่ นํามาใช เช น
เวิรดโปรเซสเซอร อิเล็กโทรนิกสสเปรดชีทและการ
จัด การของ Data Base ได รั บ การพั ฒ นาและ
นํามาใชและไดรับความสนใจเพิ่มมากขึ้นในการใช
อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและในช วงปลายทศวรรษ
1980 ผูเชี่ยวชาญทางดานคอมพิวเตอรการเรียนการสอนไดลมเลิกแนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู
ภาษาคอมพิวเตอร และแยกมาจัดตั้งเปนสาขาทางการศึกษาใหมโดยนําแนวคิดการบูรณาการลงใน
หลักสูตร รวมถึงการใชคอมพิวเตอรและอุปกรณคอมพิวเตอรในบริบทของเนื้อหาวิชา

บทบาทและความสําคัญของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

          เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาเปนสิ่งที่บุคลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งครูจําเปน
จะตองใชเพื่อการสอนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรูของผูเรียน (Learning process) ดังนั้นครู
จําเปนตองมีความเขาใจในการใชเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาในโรงเรียน ตั้งแตการ
ออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการและการประเมิน ภายใตกระแสความเปลี่ยนแปลงทั้งดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศที่จะกาวไปอยางไมมีวันหยุด สงผลใหวิถีชีวิตจะตองใชเทคโนโลยีเหลานั้นเพื่อ
สร างประโยชน และสามารถเรี ยนรู ได อยางตอเนื่อง การทํ าความเขาใจเกี่ย วกับ เทคโนโลยีแ ละ
สื่อการศึกษา จะตองเริ่มที่การเขาใจถึงบทบาทที่สําคัญในการสนับสนุนการเรียนรู นั่นก็หมายความ
วาจะตองเขาใจผูเรียนหรือวิธีการเรียนรูของผูเรียน (People how to learn) ประกอบดวย การ
สื่ อ สารหรื อ สื่ อ ความหมาย และที่ สํ า คั ญ คื อ การทํ า ความเข า ใจทฤษฎี ก ารเรี ย นรู (Learning
theories)
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา   14


คําถามสะทอนความคิด

     ทานคิดวาพัฒนาการของสื่อและเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศ
      ไทยมีความเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง
     ทานคิดวาสื่อและเทคโนโลยีการศึกษามีบทบาทสําคัญในการจั ด
      การศึกษาของไทยอยางไรบาง
     ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษามีความสําคัญอยางไรบาง

กิจกรรมเสนอแนะ

ให ท านลองวิ เ คราะห ส ถานการณ การใช สื่ อและเทคโนโลยี การศึ กษาใน
ประเทศไทยวามีปญหาอย างไรบาง โดยเฉพาะในสาระการเรียนรูวิชาเอก
ของทาน


บรรณานุกรม

สุมาลี ชัยเจริญ (2551).เทคโนโลยีการศึกษา:หลักการ ทฤษฎี สูการปฏิบัติ.ขอนแกน: คลังนานา
          วิทยา.
Association for Educational Commutations and Technology. (1979).The definition
          of educational technology. Washington, D.C. : AECT
Barbara, S.B., Rc.(1994). Instructional technology : The Field. Washington DC :
          Association for Educational Communications and Technology. Frederick G.
          Knirk.
Carter v. Good, Winnifred R.Merkel and Phi Delta Kappa(1973). Dictionary of
          education / prepared under the auspices of phi delta Kappa. 3rd ed.
          New York: Mcgraw-Hill.
Dale, Edgar. (1969). Audiovisual methods in teaching. 3rded. New York: Dryden Pr.
Kent L. Gustafson (1986). Technology : a systematic approach to education .
          New York : Holt , Rinehart .
Knirk, F.G. , Gustafson, K.L. (1986). Instructional technology: A systematic approach
          to education. FT. Worth , TX : Holt , Rinehart Winston.
บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา   15


Newby T.J. and Others. (2000). Instructional technology for Teaching and
        Learning. Upper Saddle River, NJ : Merrill Prentice Hall.
Richey , R.C. (1986). The theoretical and conceptual bases of instructional
        design. London : Kogan Page.

More Related Content

What's hot

ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1Uraiwan Chankan
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
btusek53
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
siri123001
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
Surapon Boonlue
 
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
Inam Chatsanova
 
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการแนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
george-tb
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพdechathon
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
atommm
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เหม่งเจี๋ย มักเมียเขา
 

What's hot (19)

ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการแนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
 
Original etcce1
Original etcce1Original etcce1
Original etcce1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 

Viewers also liked

ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O  netข้อสอบ O  net
ข้อสอบ O net
Saharat Yimpakdee
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
ประพันธ์ เวารัมย์ แบ่งปันความรู้ส่ความก้าวหน้า
 
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนแนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนหน่อย จ๋า
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
ประพันธ์ เวารัมย์ แบ่งปันความรู้ส่ความก้าวหน้า
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Viewers also liked (10)

ชุดที่11
ชุดที่11ชุดที่11
ชุดที่11
 
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O  netข้อสอบ O  net
ข้อสอบ O net
 
ชุดที่5
ชุดที่5ชุดที่5
ชุดที่5
 
ชุดที่73
ชุดที่73ชุดที่73
ชุดที่73
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
 
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนแนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to บทที่ 1

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rathapon Silachan
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่snxnuux
 
701w2
701w2701w2
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
Wichit Chawaha
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
Wichit Chawaha
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
lalidawan
 
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยีimmyberry
 
Mindmap1
Mindmap1Mindmap1
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptKanpirom Trangern
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
Sattakamon
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaBunsasi
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
Kobwit Piriyawat
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
Chapter 1 innovation technology and educational media
Chapter 1 innovation technology and  educational mediaChapter 1 innovation technology and  educational media
Chapter 1 innovation technology and educational mediaKanpirom Trangern
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาChacrit Onbao
 

Similar to บทที่ 1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
701w2
701w2701w2
701w2
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
 
Mindmap1
Mindmap1Mindmap1
Mindmap1
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 1 innovation technology and educational media
Chapter 1 innovation technology and  educational mediaChapter 1 innovation technology and  educational media
Chapter 1 innovation technology and educational media
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 2 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของ เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา บทที่ 1 โครงรางเนื้อหาของบท คําสําคัญ 1. ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการศึกษาและ  เทคโนโลยี สื่อการศึกษา  เทคโนโลยีการศึกษา 2. ความเปนมาและพัฒนาการของเทคโนโลยีและ  นวัตกรรมการศึกษา สื่อการศึกษา  สื่อการศึกษา 3. ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา  การออกแบบการสอน วัตถุประสงคการเรียนรู  ขอบขายของเทคโนโลยี 1. อธิบายความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการศึกษาและ การศึกษา นวัตกรรมการศึกษาได 2. วิเคราะหขอบขายเทคโนโลยีการศึกษาได 3. เปรียบเทียบพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาได กิจกรรมการเรียนรู 1. บรรยายเกี่ยวกับมโนทัศนเชิงทฤษฎี หลักการ เรื่อง ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและ สื่อการศึกษา 2. นักศึกษาแบงเปนกลุมยอย กลุมละ 3 คน ศึกษาจาก สิ่งแวดลอมทางการเรียนรูบนเครือขาย http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย ศึกษาสถานการณปญหาบทที่ 1 วิเคราะหทําความเขาใจ คนหาคําตอบจากเอกสารประกอบการสอนและแหลง เรียนรูบนเครือขาย รวมกันสรุปคําตอบ แลวนําเสนอใน รูปแบบ Power point 3. นักศึกษารวมกันสรุปองคความรูและแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น โดยผูสอนตั้งประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม
  • 2. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 3 สถานการณปญหา (Problem-based learning) คณะศึกษาศาสตร มหาวิ ทยาลั ยขอนแก น จะทําการจั ดอบรม สั ม มนาค รู ที่ สอนใ นระ ดั บ การศึ กษาขั้ น พื้ น ฐานทั่ วภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือ ในหัวเรื่องเกี่ยวกับการนําเทคโนโลยีมาใชใน การจัด การศึกษา คณะศึกษาศาสตรพิจารณาแล วเห็นว าทานมี ความเหมาะสมที่จะทําหนาที่เปนผูชวยวิทยากรใหความรูในงาน สัมมนาดังกลาว ในหัวขอความหมาย พัฒนาการและขอบขายของ เทคโนโลยีทางการศึกษาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน และแนวโนมใน อนาคต ซึ่งท านจะตองคอยใหคํ าแนะนําตลอดจนชวยเหลือครู อาจารยที่เขารวมอบรมภารกิจของผูชวยวิทยากรตองเตรียมความ พรอมให กับตัวเองโดยการศึกษาขอมูลที่ เกี่ยวข องกับเทคโนโลยี ทางการศึกษา ภารกิจของผูชวยวิทยากร 1. สรุ ป สาระสํ าคัญ เกี่ ย วกั บ ความหมายของเทคโนโลยี และสื่ อการศึ กษา พร อมทั้ ง เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในชวงยุคตางๆ 2. จําแนกองคประกอบขอบขายของเทคโนโลยีทางการศึกษาวามีความสําคัญตอการจัด การศึกษาในยุคปจจุบันอยางไร 3. Educational Technology และ Instructional Technology มีความเหมือน ความ แตกตางหรือสัมพันธกันอยางไร 4. การประยุกตความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามาใชแกปญหาเกี่ยวกับการเรียนรู ในยุคปฏิรูปการเรียนรูอยางเปนรูปธรรมไดอยางไร
  • 3. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 4 ความหมาย  เทคโนโลยี ความเป น มาและพั ฒนาการ  เทคโนโลยีการศึกษา ของเทคโนโลยีการศึกษา  ความแตกต า งระหว า ง  ค ว า ม เ ป น ม า แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก าร ศึ กษ า กั บ พั ฒ นาการของการออกแบบ เทคโนโลยีในการศึกษา การสอน สาระสําคัญ  ค ว า ม เ ป น ม า แ ล ะ พั ฒ นาการของสื่ อ การเรี ย น ในบทที่ 1 การสอน ขอ บข ายข อ งเ ทค โ น โ ลยี  พื้นฐานของคอมพิ วเตอร การศึกษา เพื่อการสอน  การออกแบบ  เทคโนโลยี ก ารสอนใน  การพัฒนา ปจจุบัน  การใช  การจัดการ  การประเมินผล
  • 4. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 5 ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยีการศึกษาและสื่อการศึกษา ความเจริญกาวทางดานวิทยากรสมัยใหมในปจจุบัน ลวนเปนผลมาจากการศึกษา คนควา ทดลอง หรือการประดิษฐคิดคนสิ่งอํานวยความสะดวกทั้งในดานการทํางาน การติดตอสื่อสาร และ การดําเนินชีวิตที่สะดวกสบาย รวดเร็ว ความกาวหนาดังกลาวอาศัยความรูทางวิทยาศาสตร และ ประยุกตมาใชในการพัฒนางานทางดานตางๆ ที่เรียกวา “เทคโนโลยี” (Technology) ความหมายของเทคโนโลยี “เทคโนโลยี ” หมายถึ ง การนํ า แนวคิ ด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนผลิตผล ทางวิทยาศาสตรมาประยุกตใชในระบบงานตางๆ เพื่อ ปรั บ ปรุ ง ระบบงานนั้ นๆ ให ดีขึ้ น และมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ ยิ่ ง ขึ้ น ตลอดจนเพื่ อแก ป ญ หาในการปฏิ บั ติ ง าน เช น การเกษตร การแพทย อุตสาหกรรม ธุรกิจ และความ มั่ น คงของประเทศ ต า งก็ นํ า เทคโนโลยี ม าใช เ พื่ อ กอใหเกิดประโยชนตอสาขาวิชาชีพของตนอยางเต็มที่ อันจะเอื้ออํานวยในดานตางๆ ดังนี้ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) 1. ประสิทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะชวยใหการทํางานนั้นถูกตองและรวดเร็ว มี ปริมาณผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นภายใตทรัพยากรที่ถูกใชอยางจํากัด 2. ประสิทธิผล (Effectiveness) เทคโนโลยีจะชวยใหการทํางานบรรลุผลตามเปาหมายที่ กําหนดไวอยางมีคุณภาพ 3. ประหยัด (Economy) จะชวยประหยัด เวลา ทรัพยากร และกอให เกิด ประโยชน สูงสุด ทําใหราคาของผลิตผลนั้นถูกลง 4. ปลอดภัย (Safety) เปนระบบการทํางานทีสงผลใหเกิดความปลอดภัยเพิ่มขึ้น ่ ปจจุบัน ไดมีการนําเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนางาน ในหลายวงการ เชน วงการทหาร เรี ยกว า เทคโนโลยี ทางการทหาร (Military Technology) นํ ามาใช ใ นการพั ฒนางานการผลิ ต เครื่ อ งมื อ และวิ ธี ก ารต า งๆในทางการแพทย เรี ย กว า เทคโนโลยี ท างการแพทย (Medical Technology) ที่ ใ ช ใ นการผ า ตั ด ด ว ยแสงเลเซอร เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ( Agricultural Technology) เช น การสรางเครื่องมื อสําหรั บเกี่ย ว ขาว ไถนา หรือนวดขาว สิ่งเหลานี้จะชวยใหการทํางาน เปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว ประหยัดทั้งแรงงานและ ค า ใช จ า ย สํ า หรั บ งานด า นธุ ร กิ จ ได แ ก การนํ า
  • 5. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 6 คอมพิวเตอรมาชวยจัดระบบงานตางๆ เชน การเบิกจายเงินธุรกิจธนาคาร อาทิ การฝากถอนเงิน ดวยบัตร ATM หรือการโอนเงินดวยระบบคอมพิวเตอร ตลอดจน ระบบการผลิตสินคาในโรงงาน ฯลฯ จากประโยชน นานัป การที่ ได รับ จากเทคโนโลยีที่ มีต อการพัฒ นาดานต างๆดั งกลาวข างต น เชนเดียวกันทางดานการศึกษาไดตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนในการนําเทคโนโลยีมาใช ในการพั ฒ นาระบบการศึ ก ษาให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพิ่ ม ขึ้ น เรี ย กว า เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา (Educational Technology) ทั้ ง นี้ เพื่ อมุ ง เน นให การดํ าเนิ นการจั ด การศึ กษา ซึ่ ง เปนหลั กที่ สําคัญในการพัฒนาประเทศเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา คณะกรรมการกําหนดศัพทและความหมายของสมาคมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ของสหรั ฐ อเมริ ก า (AECT, 1979) อธิ บ ายว า “เทคโน โลยี ก ารศึ ก ษา” (Educational Technology) เปนกระบวนการที่มีการบูรณาการอยางซับซอน เกี่ยวกับ บุคคล กรรมวิธี แนวคิ ด เครื่องมือ และองคกร เพื่อนําไปใชในการวิเคราะหปญหา สราง ประยุกตใช ประเมินผล และจัดการ แก ปญ หาต างๆ ดั ง กล าวที่ เกี่ ย วข องกั บ การเรี ยนรู ของมนุ ษย ใ นทุ กลักษณะ หรื ออาจกลาวได วา “เทคโนโลยีการศึกษา” และขั้นตอนการแกปญหาตางๆ รวมถึงแหลงการเรียนรูที่ไดมีการออกแบบ เลื อก แล ะ นํ ามาใ ช เ พื่ อ ใ ช เพื่ อมุ ง สู จุดมุงหมาย คือ การเรียนรู นั่นเอง จากค วามห มายข อง สมาค ม เทคโนโลยี แ ละสื่ อ สารการศึ ก ษาของ สหรั ฐ อเมริ ก า ดั ง กล า วข า งต น ได มี ก าร ขยายแนวคิดเกี่ยวกับ เทคโนโลยีการศึกษา เพราะการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการ เปลี่ยนกระบวนทัศนจากพื้นฐานทางทฤษฎี การเรียนรูพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสูพุทธิปญญานิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติ  วิ ส ต (Constructivism) กอปรทั้ ง ความเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี ใ หม ๆ โดยเฉพาะอย างยิ่ ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงไดมีการปรับเปลี่ยนความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาให เหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลง (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ดังนี้ เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา หรื อ เทคโนโลยี ก ารสอน (Instructional Technology) หมายถึงทฤษฎี และการปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการ และการ ประเมินของกระบวนการและแหลงเรียนรู สําหรับการเรียนรู (Seels, 1994) จากนิยามขางตนจะเห็นไดวา เทคโนโลยีก ารศึ กษา ไมได มีขอบเขตของสาขาวิ ชาที่ เกี่ยวของกับการออกแบบหรือผลิตสื่อการสอนเทานั้น แตยังมีขอบเขตที่กวางขวางที่ครอบคลุมถึง การนําเทคนิค วิธีการ ตลอดจนทั้งสิ่งประดิษฐมาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูของผูเรียน
  • 6. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 7 ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา “นวัตกรรมการศึกษา” คือ การทําสิ่งใหมๆ ซึ่งอาจจะเปนความคิดหรือการกระทํา หรือ สิ่ง ประดิ ษฐ ขึ้ น โดยอาศัย หลั กการ ทฤษฎี ที่ ได ผ านการทดลองวิ จัย จนเชื่อถื อได เข ามาใช ใ น การศึกษา เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการเรียนการสอน ลักษณะเดนที่จัดวาเปนนวัตกรรมการศึกษา 1. จะตองเปนสิ่งใหมทั้งหมด หรือบางสวน อาจใชเปนของเกาที่ใชในอดีตแลวนํามาปรับปรุงใหม ใหดียิ่งขึ้น 2. มีการ ศึกษา ทดลอง โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี มาใชอยางเปนระบบ 3. มีการพิสูจนดวยการทดลองหรือวิจัย 4. ยังไมเปนสวนหนึ่งของระบบงานใน ปจจุบัน หากวา สิ่งใหม นั้นไดมีการเผยแพรจนเปน สิ่งที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แลวจะกลายเปนเทคโนโลยี  ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา มาตรฐานหรือขอบขายเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาที่นักการศึกษา หรือผูที่ทํางานดาน การศึกษาถือวาเปนสิ่งสําคัญที่จะตองรูจักและทําความเขาใจ เพราะจะชวยใหเราสามารถกําหนด สร างสรรค แ ละระบุ ข อบข ายงานด านเทคโนโลยี การศึ กษา ซึ่ ง International Society for technology in education (ISTE) ซึ่งเปนหนวยงานหลักสําคัญไดพัฒนาและกําหนดมาตรฐานที่ สําคัญสําหรับครูและผูเรียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาว าตองรูอะไรบาง ซึ่ งหนวยงานดังกลาว ไดรับทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยจากรัฐบาลสหรัฐ อเมริกา เพื่อกําหนดประเด็นตางๆดานการใช เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนรูสําหรับประเทศสหรัฐอเมริกา โดยจะมีทั้งมาตรฐานสําหรับครูวา จะตองมีทักษะ ความรู และใชเทคโนโลยีสนับสนุนผูเรียนอยางไร ตลอดจนมาตรฐานของผูเรียนที่ จะตองมีทักษะและความรูดานเทคโนโลยีอยางไร เพื่อใหสอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก องคกรทางวิชาชีพของนักเทคโนโลยีการศึกษาที่สําคัญอีกองคกร คือ Association for educational communication and technology (AECT) ไดพัฒนามาตรฐานที่เปนแนวทาง สําหรับครูดานเทคโนโลยีการศึกษาทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่ง Barbara และ Rita (1994 อางถึง ในสุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ไดอธิบายนิยามดังกลาวของเทคโนโลยีการศึกษา คือ ทฤษฎีและการ ปฏิบัติในขอบขายที่เกี่ยวของกับ การออกแบบ การพัฒนา การใชการจัดการ และประเมินผล ของ กระบวนการและแหลงการเรียนสําหรับการเรียนรู ดังจะเห็นความสัมพันธของขอบขายทั้ง 5 ไดแก
  • 7. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 8 การออกแบบ (Design) การพั ฒ นา (Development) การใช (Utilization) การจั ด การ (Management) และการประเมิน (Evaluation) ดังแสดงไวในภาพและมีรายละเอียดดังนี้ ภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ขอบขายหลักและขอบขายยอยของเทคโนโลยีการศึกษา การออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการ การประเมินผล -การออกแบบ -เทคโนโลยี -การใชสื่อ -การจัดการ -การวิเคราะห ระบบการสอน สิ่งพิมพ -ก า ร เ ผ ย แ พ ร โครงการ ปญหา -การออกแบบ -เทคโนโลยีดาน นวัตกรรม -การจัดการ -การวัดตาม สาร โสตทัศน -การนําไปใช ทรัพยากร เกณฑ -กลยุทธการสอน -เทคโนโลยี สําหรับตนเอง -การจัดการ -การประเมิน -คุณลักษณะของ คอมพิวเตอร และใน ระบบขนสง ระหวาง ผูเรียน -เทคโนโลยี สถานศึกษา -การจัดการ กระบวนการ บูรณาการ -น โ ย บ า ย แ ล ะ สารสนเทศ -การประเมิน กฎระเบียบ แบบองครวม
  • 8. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 9 การออกแบบ (Design) เปนขอบขายที่แสดงใหเห็นถึงกรอบหรือโครงรางที่แสดงความ เชื่ อมโยงระหว า งหลั ก การและทฤษฎี พื้ น ฐานต างๆ ที่ จะนํ าไปสร างและพั ฒ นางานทางด า น เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอยางเปนรูปธรรม เชนเดียวกับที่สถาปนิกสรางพิมพเขียวของอาคาร การออกแบบมีการเปลี่ยนแปลงตามหลักจิตวิทยาการเรียนรูเปนสําคัญจากพฤติกรรมนิยมมาเปน พุท ธิป ญ ญานิย มและคอนสตรั ติ วิส ตดั ง ที่พ บเห็ นในป จจุบั น ในการออกแบบงานทางเทคโนโลยี การศึกษามี 4 ดาน คือ การออกแบบระบบการสอน การออกแบบสาร กลยุทธการสอน และ คุณลักษณะของผูเรียน การออกแบบระบบการสอน เป นการกํ าหนดระบบการสอนทั้ ง หมด รวมทั้ง การจั ด ระเบียบของกระบวนการ ขั้นตอน ที่หลอมรวมทั้งขั้นการวิเคราะห การออกแบบ การพัฒนา การ นําไปใชและการประเมินการเรียนการสอน การออกแบบสาร เปนการวางแผนสําหรับจัดกระทํากับสารในทางกายภาพ ที่จะใหผูเรียน รับรู ใสใจ และเรียกสารกลับมาใชไดเมื่อตองการ กลยุทธการสอน เปนการระบุการเลือก และลําดับเหตุการณ ตลอดจนกิจกรรมการเรียนรู สําหรับบทเรียน คุณลักษณะของผูเรียน เปนสิ่งสําคัญในการออกแบบที่ตองคํานึงถึงพื้นฐานประสบการณ เดิม ของผูเ รียน ความแตกตางของผูเ รียน เชน เพศ อายุ รูปแบบการเรีย น ฯลฯ ซึ่ง จะสงผลต อ ประสิทธิภาพในการออกแบบ การพัฒนา (Development) เปนขอบขายของการสรางผลิตภัณฑในรูปแบบของสื่ อ ตางๆโดยนําพื้ นฐานที่ไ ด ออกมาพั ฒ นาเป นสื่ อที่ อาศั ยคุ ณลั กษณะของสื่ อต างๆ คื อ เทคโนโลยี สิ่งพิมพ เทคโนโลยีดานโสตทัศน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีบูรณาการ เทคโนโลยีสิ่งพิมพ เปนแนวทางในการผลิตหรือขนส งเนื้อหาไปยังผูเรียน เชน หนังสื อ และภาพนิ่งตางๆ เปนตน ในการพัฒนาสื่อประเภทนี้จะตองพิจารณาถึงคุณลักษณะของสื่อ ที่เปน ตั วอั ก ษร ภาพนิ่ ง และมี ค วามคงที่ (Stability) ที่ ผู อ านสามารถพลิ กกลั บ ไปกลั บ มาอ านซ้ํ าได ตลอดเวลาหากตองการทําความเขาใจเพิ่มเติม เปนตน หลักการทฤษฎีที่เกี่ยวกับการรับรูทางการ มองเห็น การอาน และกระบวนการประมวลสารสนเทศของมนุษยซึ่งหมายถึงทฤษฎีการเรียนรู เทคโนโลยีดานโสตทัศน เปนแนวทางในการผลิตหรือขนสงเนื้อหาไปยั งผูเรี ยนโดยใช เครื่องมือกลไกอิเล็กทรอนิกสในการนําเสนอสารทั้งเสียงและภาพ เชน วีดิทัศน โทรทัศน ภาพยนตร เปนตน ขอดีของเทคโนโลยีดานนี้คือการใหความเปนสภาพจริง บริบทในการเรียนรู แตยังมุงเนนครู เปนหลักในการถายทอด เทคโนโลยี คอมพิวเตอร เปนแนวทางในการผลิต หรื อขนสง เนื้อหาไปยั งผูเ รีย นโดยใช เครื่องคอมพิวเตอรเปนฐาน ที่มีการนําคุณลักษณะของคอมพิวเตอรมาประยุกตใชในปจจุบัน เชน คอมพิวเตอรชวยสอน คอมพิวเตอรเปนฐานในการเรียนการสอน ซึ่งที่ผานมาอาศัยพื้นฐานทฤษฎี กลุมพฤติกรรมนิยมและการสอนแบบโปรแกรม แตในปจจุบันนี้ไดเปลี่ยนมาใชพื้นฐานทฤษฎีการ เรียนรูในกลุมพุทธิปญญานิยมและคอนสตรัคติวิสตมากขึ้น
  • 9. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 10 เทคโนโลยี บู ร ณาการ เป นแนวทางในการผลิ ต หรื อ ขนส ง เนื้ อหาไปยั ง ผู เ รี ย นโดยใช คุณลักษณะของสื่อหลายชนิดภายใตการควบคุมโดยคอมพิวเตอร การใช (Utilization) เปนขอบขายที่เกี่ยวของกับรูปแบบการนําสื่อที่พัฒนาแลวไปใช อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะตองคําถึงถึงความงายในการใชงานระหวางผูเรียนและสื่อการเรียนการ สอน หรือระบบที่เกี่ยวของ การใชนั้นเปนการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับกระบวนการใชและทรัพยากรใน การเรี ย นรู ซึ่ ง ต องการเกี่ ย วกั บ ระบบการใช นโยบาย กฎ ระเบี ย บ รวมทั้ ง การแพร ก ระจาย นวัตกรรมไปสูการใชที่แพรหลาย การจัด การ (Management) เปนขอบขายหลักสําคัญของสาขาเทคโนโลยีการศึกษา เพราะจะต องเกี่ ย วข องกั บ การบริ ห ารจัด การแหล ง การเรี ย นรู ที่ จะตองนํ าไปสนั บ สนุนในทุ กๆ ขอบขาย ซึ่ ง จะต องมี การจั ดระเบีย บและแนะนํ า หรือการจั ดการทรั พ ยากรทางการเรี ย นรู ซึ่ ง ประกอบดวยการจัดการในดานตางๆคือ การจัดการโครงการ การจัดการทรัพยากร การจัดการ ระบบขนสง และการจัดการสารสนเทศ การประเมิน (Evaluation) ขอบขายดานนี้จะเกี่ย วของกับการประเมิ นเพื่ อปรั บปรุ ง (Formative Evaluation) ในการประเมินนั้นจะมุงเนนการประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ เพื่อแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของสื่อที่ออกแบบขึ้นมา ขอบขายของกระบวนการและแหลงการเรียนรู (Process and Resource) กระบวนการ ในที่นี้ หมายถึง ลําดับของการปฏิบัติการหรือกิ จกรรมที่ มีผลโดยตรงต อ เทคโนโลยีการสอน ประกอบดวยทั้งดานการออกแบบ และกระบวนการสงขอมูลขาวสาร ความรู กระบวนการ หมายถึง ลําดับที่เกี่ยวของกับขอมูลปอนเขา (Input) การกระทํา (Action) และผล ซึ่งการวิจัย ในปจจุ บันจะมุงเนนยุทธวิธีการสอนและความสั มพันธข องรู ปแบบการเรี ยนรู และสื่ อ ยุท ธวิ ธีการสอน (Instruction strategies) เปนวิ ธีการสํ าหรับ การเลื อกและจั ดลํ าดั บ กิจกรรม ตัวอยางของกระบวนการเปนระบบการสง เชน การประชุมทางไกล (Teleconferencing) รูปแบบ การสอน เชน การศึกษาอิสระ รูปแบบการสอน (Model of teaching) ไดแก การสอนแบบอุปนัย (Inductive) และรู ป แบบสํ า หรั บ การพั ฒ นาการสอน ได แ ก การออกแบบระบบการสอน (Instructional system design) กระบวนการ (Process) สวนใหญจะเปนลําดับขั้นตอนแตไม เสมอไป แหลงการเรียนรู (Resources) เปนแหลงที่จะสนับสนุนการเรียนรูของผูเรียน รวมถึง สนับสนุนระบบ และวั สดุการสอนตลอดจนสิ่ งแวดลอม สาขาวิช าเทคโนโลยีการศึกษา หรื อวิช า เทคโนโลยีการสอน ไดพัฒนาและเจริญกาวหนามาจากความสนใจเกี่ยวกับการใชสื่อการสอนและ กระบวนการสื่ อ สาร แต แ หล ง การเรี ย นรู จ ะไม ใ ช เ พี ย งเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ ใ ช ใ น กระบวนการเรียนรูและการสอนเทานั้น แตยังรวมถึง บุค คล งบประมาณ สิ่งอํานวยความสะดวก ตลอดจนสิ่งที่ชวยใหเกิดการเรียนรูเปนรายบุคคลได การเรียนรู (Learning) วัตถุประสงคของเทคโนโลยีการสอนเปนสิ่งที่มีอิทธิพลและสงผล ตอการเรียนรู โดยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู และทําใหเกิดความกระจางชัดใน การเรียนรู เปนวัตถุประสงคของการสอน ซึ่งจะหมายถึงการเรียนรูนั่นเอง การเรียนรู เปนสิ่งที่มี
  • 10. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 11 หลักฐานเชิงประจักษเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความรู ทักษะ และเจตคติ ที่เปนเกณฑในการสอน หรือในนิยามที่วา “การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงอยางถาวรในดานความรูของบุค คลหรือ พฤติกรรม รวมถึงประสบการณตางๆ ความเปนมาและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนานโดยเริ่มจากสมัยกรีก กลุมโซฟสต (Sophist) เปนกลุม ครูผูสอนชาวกรีก ไดออกทําการสอนความรูตางๆใหกับชนรุนเยาว ไดรับการ ยอมรับวาเปนผูที่มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โตแยง ถกปญหา จนไดรับการขนาน นามวา เปนนักเทคโนโลยีการศึกษากลุมแรก บุคคลที่สําคัญอีกทานหนึ่ง คือ โจฮัน อะมอส คอ มินิอุส (Johannes Amos Comenius ค.ศ. 1592-1670) เปนผูที่ใชวัสดุ สิ่งของที่เปนของจริงและรูปภาพ เขามาชวย ในการสอนอยางจริง จัง รวมทั้งแนวคิ ดในเรื่องวิธีการสอน ใหมที่ใหความสําคัญตอการใชวัสดุ ของจริงมาใชในการสอน ตลอดจนการรวบรวมหลักการสอนจากประสบการณที่ทํ า การสอนมา 40 ป นอกจากนี้ ไ ด แ ต ง หนั ง สื อ ที่ สํ า คั ญ อี ก มากมายและที่สําคัญ คือ Obis Sensualium Pictus หรือที่ เรี ย กว า โลกในรู ป ภาพ ซึ่ ง เป น หนั ง สื อที่ มี ภ าพประกอบ บทเรี ย นต างๆ ผลงานของคอมิ นิอุส ได มี อิท ธิ พ ลต อการ พัฒนาตลอดมา จนไดรับการขนานนามวา เปน “บิดาแหง โสตทัศนศึกษา” ตอมาไดมีการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีการศึกษาซึ่งสามารถจําแนกออกเปนดานตางๆ ในที่นจะกลาวเกี่ยวกับพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ในสวนประกอบหลักที่สําคัญ ไดแก ดาน ี้ การออกแบบการสอน ดานสื่อการสอน และดานคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ดังรายละเอียดตอไปนี้ ความเปนมาและพัฒนาการของการออกแบบการสอน (Instructional Design Roots) การออกแบบการสอนไดรับความสนใจตั้งแตในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเนื่องมาจาก สาเหตุของความจําเปนในการฝกอบรมบุคลากรในกองทัพ และไดรับความสนใจเพิ่มมากขึ้นในชวงป 1950 – 1960 เปนชวงที่สําคัญของสาขาวิชาออกแบบ การสอน (Instructional design) และไดมีนักวิจัยพัฒนา ศาสตรทางดานนี้อยางตอเนื่องโดยนําฐานทฤษฎีจิตวิทยา การเรียนรูเขามาเปนพื้นฐานในการออกแบบโดยเริ่มจาก ทฤษฎี ก ลุ ม พฤติ กรรมนิ ย ม งานที่ โ ดดเด นในช ว งนี้ เ ช น
  • 11. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 12 สกินเนอร ธอรนไดค ซึ่งเปนที่มาของวิธีระบบ (Systematic approach) ในลักษณะการออกแบบ เชิงเสน ที่เนนลําดับขั้นในการเรียนรู ตอมาทฤษฎีในกลุมพุทธิปญญานิยมไดรับความนิยมมากขึ้น โดยเฉพาะ ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ไดเขามามีบทบาทในชวงนี้ก็จะ เนนการออกแบบที่เชื่อมโยงถึงกระบวนการทางพุทธิปญญาที่สงเสริมใหผูเรียนสามารถประมวลผล สารสนเทศที่ไดรั บเขาไปเก็บไว อยางเป นระบบในหนวยความจํา (Memory) และสารมารถเรีย ก กลับมาใชไดโดยไมลืม และในปจจุบันทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต (Constructivism) กําลังไดรับความ สนใจจากนักการศึกษาอยางกวางขวาง แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีนี้ คือ ความรูไมสามารถสงผาน ไปสู ผูเ รีย นได แตผู เรี ยนตองสรางความรูขึ้ นด วยตนเองในบริ บทของสัง คม การมี ปฏิ สัม พันธกับ สิ่งแวดลอมที่เปนสภาพจริง (Authentic) แมวาการออกแบบการสอนมีการเชื่อมโยงกับการรูคิดใน สมองมนุษย หรือ จิตใจของมนุษยไปจนกระทั่งพื้นฐานจากพฤติกรรมนิยม แตภายใตกระแสงความ ป จ จุ บั น ที่ เ ปลี่ ย นไปซึ่ ง ทวี ค วามซั บ ซ อนในเชิ ง สั ง คม ตลอดจนความก า วหน าของเทคโนโลยี สารสนเทศ และอิทธิพลของกระแสแหงขอมูลขาวสารที่มีมากมาย เปนผลใหงานสวนใหญของนัก เทคโนโลยีการศึกษา (Instructional Technologists)ในปจจุบันมีการยอมรับแนวคิดของกลุมพุทธิ ปญ ญานิ ย ม(Cognitivism) และคอนสตรั ค ติวิ ส ต (Constructivism) ดั งที่ ป รากฏผลงานวิจั ย ใน ปจจุบัน และเปนสวนหนึ่งที่สําคัญของการพัฒนาของสาขาวิชา (Newby, Stepich, Lehman and Russell,2000) ความเปนมาและพัฒนาการของสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media Roots) สื่อการสอน (Instructional media) และการออกแบบการสอน (Instructional design) ไดมีการพัฒนามาดวยกันแตก็แยกตัวเปนอิสระแตก็มีสวนมาบรรจบกัน แมวาการใชของจริง (Real object) ภาพวาด (Drawing) และสื่ออื่นๆนับเปนสวนหนึ่งของการสอน อยางนอยที่สุดเปนการ นํ ามาซึ่ ง ความเจริ ญ ก า วหน าทางด านประวั ติ ศ าสตร ข องการใช สื่ อ การสอน เช น เดี ย วกั บ การ ออกแบบการสอน เปนสิ่งที่ปรากฏชัดเจนในศตวรรษที่ 20 จากผลของการใชสื่อตาง ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น ระหวางชวงทศวรรษที่ 1970 และ 1980 สาขาวิชา นี้ ไ ด มี การเปลี่ ย นแปลงและเติ บ โตมากขึ้ น ดั ง นั้ น ผูเชี่ ยวชาญด านสื่อกลายเปนผูที่ มีความสํ าคัญ เพิ่ ม มากขึ้นในชุมชนโรงเรียน สื่อที่มีรูปแบบใหมๆไดรับ ความสนใจเพิ่มมากขึ้น และความเคลื่อนไหวตาง ๆ นํามาสู การเปลี่ ยนแปลงศาสตร ทางดานโสตทั ศ น ศึกษา การศึกษาทางดานสื่อซึ่ งเริ่มประมาณปลาย สงครามโลกครั้งที่ 2 และดําเนินการตอเนื่องมา สื่อกลายเปนสิ่งที่ถูกมองว าไมสามารถเปนสวนที่ แยกตัวออกมาอยางโดดเดี่ยวได แตวาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่ง กวางขวางกวาแนวคิดเดิม เชนเดียวกับการออกแบบการสอนที่พัฒนาไปเปนสวนหนึ่งของการศึกษา
  • 12. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 13 ในสาขาวิชา และศาสตรทางดานสื่อไดเติบโตพรอมทั้งมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับการออกแบบการ สอน (Instructional design) และการสื่อสาร (Communication) คอมพิวเตอรเพื่อการสอน (Instructional Computing Roots) คอมพิวเตอรมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับนวัตกรรมการศึกษา(Innovations)ในปจจุบันคอมพิวเตอร ยุคแรกจะนําอิเลคทรอนิกสดิจิตอลมาใชในการสราง จากการที่มีการใชคอมพิวเตอรสวนบุคคลกัน อยางกว างขวางและสมรรถนะของคอมพิวเตอรที่ เพิ่ มสูง ขึ้น การเพิ่ มปริ มาณของซอรฟ แวร และ สามารถจั ดหาไดง าย โปรแกรม CAI ในรายวิช า ตางๆปรากฏมากมาย และซอรแ วร ที่ มี คุณภาพ เป น ประเด็ น ที่ มี ค วามสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ การใช คอมพิ วเตอร ส ว นบุ ค คล ผลิ ต ผลที่ นํามาใช เช น เวิรดโปรเซสเซอร อิเล็กโทรนิกสสเปรดชีทและการ จัด การของ Data Base ได รั บ การพั ฒ นาและ นํามาใชและไดรับความสนใจเพิ่มมากขึ้นในการใช อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและในช วงปลายทศวรรษ 1980 ผูเชี่ยวชาญทางดานคอมพิวเตอรการเรียนการสอนไดลมเลิกแนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู ภาษาคอมพิวเตอร และแยกมาจัดตั้งเปนสาขาทางการศึกษาใหมโดยนําแนวคิดการบูรณาการลงใน หลักสูตร รวมถึงการใชคอมพิวเตอรและอุปกรณคอมพิวเตอรในบริบทของเนื้อหาวิชา บทบาทและความสําคัญของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาเปนสิ่งที่บุคลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งครูจําเปน จะตองใชเพื่อการสอนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรูของผูเรียน (Learning process) ดังนั้นครู จําเปนตองมีความเขาใจในการใชเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาในโรงเรียน ตั้งแตการ ออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการและการประเมิน ภายใตกระแสความเปลี่ยนแปลงทั้งดาน เทคโนโลยีสารสนเทศที่จะกาวไปอยางไมมีวันหยุด สงผลใหวิถีชีวิตจะตองใชเทคโนโลยีเหลานั้นเพื่อ สร างประโยชน และสามารถเรี ยนรู ได อยางตอเนื่อง การทํ าความเขาใจเกี่ย วกับ เทคโนโลยีแ ละ สื่อการศึกษา จะตองเริ่มที่การเขาใจถึงบทบาทที่สําคัญในการสนับสนุนการเรียนรู นั่นก็หมายความ วาจะตองเขาใจผูเรียนหรือวิธีการเรียนรูของผูเรียน (People how to learn) ประกอบดวย การ สื่ อ สารหรื อ สื่ อ ความหมาย และที่ สํ า คั ญ คื อ การทํ า ความเข า ใจทฤษฎี ก ารเรี ย นรู (Learning theories)
  • 13. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 14 คําถามสะทอนความคิด  ทานคิดวาพัฒนาการของสื่อและเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศ ไทยมีความเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง  ทานคิดวาสื่อและเทคโนโลยีการศึกษามีบทบาทสําคัญในการจั ด การศึกษาของไทยอยางไรบาง  ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษามีความสําคัญอยางไรบาง กิจกรรมเสนอแนะ ให ท านลองวิ เ คราะห ส ถานการณ การใช สื่ อและเทคโนโลยี การศึ กษาใน ประเทศไทยวามีปญหาอย างไรบาง โดยเฉพาะในสาระการเรียนรูวิชาเอก ของทาน บรรณานุกรม สุมาลี ชัยเจริญ (2551).เทคโนโลยีการศึกษา:หลักการ ทฤษฎี สูการปฏิบัติ.ขอนแกน: คลังนานา วิทยา. Association for Educational Commutations and Technology. (1979).The definition of educational technology. Washington, D.C. : AECT Barbara, S.B., Rc.(1994). Instructional technology : The Field. Washington DC : Association for Educational Communications and Technology. Frederick G. Knirk. Carter v. Good, Winnifred R.Merkel and Phi Delta Kappa(1973). Dictionary of education / prepared under the auspices of phi delta Kappa. 3rd ed. New York: Mcgraw-Hill. Dale, Edgar. (1969). Audiovisual methods in teaching. 3rded. New York: Dryden Pr. Kent L. Gustafson (1986). Technology : a systematic approach to education . New York : Holt , Rinehart . Knirk, F.G. , Gustafson, K.L. (1986). Instructional technology: A systematic approach to education. FT. Worth , TX : Holt , Rinehart Winston.
  • 14. บทที่ 1 ความหมาย พัฒนาการ ขอบขายของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา 15 Newby T.J. and Others. (2000). Instructional technology for Teaching and Learning. Upper Saddle River, NJ : Merrill Prentice Hall. Richey , R.C. (1986). The theoretical and conceptual bases of instructional design. London : Kogan Page.