SlideShare a Scribd company logo
บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary)
ภาพรวมงานวิจัย Healthcare Logistics ของประเทศไทย
ปี 2554-2558
โดย
รศ.ดร.ดวงพรรณ กริชชาญชัย
มหาวิทยาลัยมหิดล
หน้า 1
ภาพรวมโครงการวิจัย Healthcare Logistics ของประเทศไทย ปี 2554-2558
ภาพที่ 1 แสดงภาพรวมของงานวิจัย Healthcare Logistics ประเทศไทยปี 2554-2558
จุดเริ่มต้นงานวิจัย
งานวิจัยเริ่มจากการเห็นความสาคัญของการสร้างโซ่อุปทานสุขภาพและการจัดการ
โดยใช้ระบบโลจิสติกส์ โดยในระยะแรกเริ่มจากการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้ทั้งสายโซ่อุปทานมีการ
เชื่อมโยงการทางานกันได้ด้วยรหัสยามาตรฐาน (Drug Standard Code) โดย “โครงการรหัสยามาตรฐาน :
รูปแบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลยาที่มีประสิทธิภาพในโซ่อุปทานสาธารณสุขเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพ
ที่ดีของผู้เข้ารับบริการสาธารณสุข” (1.รหัสยามาตรฐาน : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยวิจัย
แห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2554-2556) และการเชื่อมโยงกระบวนการโดย “โครงการ
การออกแบบสถาปัตยกรรมทางธุรกิจและการวัดสมรรถนะแบบบูรณาการสาหรับธุรกิจโรงพยาบาล
ในประเทศไทย” (Business Architecture: BA : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2554) ผนวกกับการสร้างฐานข้อมูลรวบรวมข้อมูลในโซ่อุปทานเชื่อมโยงกับ
รหัสยาที่ใช้ในโซ่อุปทาน โดย “โครงการพัฒนาฐานข้อมูลยาระดับชาติและระบบสืบค้นทางอินเตอร์เน็ตเพื่อ
การเชื่อมโยงของข้อมูลในโซ่อุปทานสาธารณะสุขอย่างมีประสิทธิภาพและยกระดับความปลอดภัยในการ
ใช้ยาของประชาชน” (2. Datapool : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแหง ชาติ
(วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2554)
User
สานักการสาธารณสุข
ระหว่างประเทศ
(สรป.)
กระทรวงสาธารณสุข
(สธ.)
กระทรวงสาธารณสุข
(สธ.)
โรงพยาบาลชุมชน
หน้า 2
การต่อยอดโครงการ
เมื่อได้โครงสร้างพื้นฐานโซ่อุปทานแล้วจึงต้องพัฒนาการแลกเปลี่ยนข้อมูลในโซ่อุปทานโดย
“โครงการวิจัยการพัฒนาการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ในโซ่อุปทานสุขภาพ” (3.Electronic
Data Interchange: EDI : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ
2556) โดยโครงการวิจัยการพัฒนาการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ในโซ่อุปทานสุขภาพ นี้ใช้ข้อมูล
จากฐานข้อมูลในข้อ (2) และรหัสมาตรฐานในข้อ (1) พร้อมทั้งทาการสร้าง Application บน EDI Portal นี้
คือ ระบบติดตามและสอบกลับยาและเวชภัณฑ์ (Traceability) และระบบการจัดการสินค้าคงคลังโดยผู้ขาย
(Vendor Managed Inventory) โดย “โครงการการสอบกลับข้อมูลเพื่อการจัดการระบบโลจิสติกส์และ
โซ่อุปทานยาอย่างมีประสิทธิภาพ” (4.Traceability : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการ
วิจัยแหง ชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2556) ดังภาพที่ 1
และ 2
ภาพที่ 2 แสดงระบบโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์สุขภาพ (Healthcare Logistics Infrastructure)
หน้า 3
การนาไปใช้จริง
ทีมวิจัยร่วมกับสถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “กรอก
ข้อมูล Database ใน Web application” เพื่อขอความร่วมมือกับ Suppliers ในการนาเข้าข้อมูลยาและ
เวชภัณฑ์เข้าระบบ DRUGNET ซึ่งเป็นฐานข้อมูลกลางที่ ทีมวิจัย พัฒนาขึ้น และเริ่มติดบาร์โค้ดบนบรรจุภัณฑ์
ของยาและสินค้าที่ส่งให้โรงพยาบาลด้วยเพื่อให้การดาเนินการกระบวนการทางโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
สุขภาพเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และรวดเร็ว ดังภาพที่ 3
ภาพที่ 3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “กรอกข้อมูล Database ใน Web application” เพื่อขอความร่วมมือ
Suppliers นาเข้าข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ใน DRUGNET วันที่ 26 พฤศจิกายน 2556 และ
22 มกราคม 2557 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
1.การกรอกข้อมูลเข้าระบบจริง
หน้า 4
หลังจากที่ Supplier ได้นาเข้าข้อมูลยาและเวชภัณฑ์สู่ระบบฐานข้อมูล DRUGNET แล้ว ทีมวิจัยได้นา
ร่องการส่งเอกสารจากโรงพยาบาลไปยัง Supplier ผ่านระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI:
Electronic Data Interchange) ได้สาเร็จ พร้อมพัฒนาต้นแบบการติดตามและสอบย้อนกลับยาและเวชภัณฑ์
ตลอดโซ่อุปทานได้ (Traceability) จากนั้นทีมวิจัยร่วมมือกับสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)และ
มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกันจัดงานประชุมสัมมนาวิชาการเรื่อง GO LIVE : Healthcare Supply Chain &
Logistics การขึ้นระบบจริง : การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลวิจัย เมื่อวันที่
20 สิงหาคม 2557 เวลา 13.00 น. – 16.00 น. ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มีผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนา
จานวน 150 คน ประกอบไปด้วย ผู้อานวยการและผู้.แทนจากโรงพยาบาล ผู้แทนจากหน่วยงานสาธารณสุข
และผู้แทนจาก Suppliers ดังภาพที่ 4
ภาพที่ 4 งานประชุมสัมมนาวิชาการเรื่อง GO LIVE : Healthcare Supply Chain & Logistics การขึ้น
ระบบจริง : การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ วันที่ 20 สิงหาคม 2557 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติ
สิริกิติ์
2.การขึ้นระบบจริง
หน้า 5
นอกจากนี้การทาให้ภาพที่ 2 เกิดขึ้นจริง จึงมีการนาระบบโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์สุขภาพ
(Healthcare Logistics Infrastructure) มาประยุกต์ใช้จริงระหว่างคู่ค้าโรงพยาบาลรามาธิบดี
และบริษัท เยเนอรัล ฮอสปิตัล โปรดัคส์ จากัด (มหาชน) โดยเริ่มต้นการใช้ระบบจริงครั้งแรก
เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2557 ในการรับ-ส่งเอกสาร PO และ ASN จานวน 6 ครั้ง โดยผ่านระบบ HC Links
(EDI Portal) อย่างเต็มรูปแบบ ดังภาพที่ 5
ภาพที่ 5 การนาร่องการใช้ระบบ HC Links (EDI Portal) ในการรับ-ส่งเอกสาร PO และ ASN โดยผ่านระบบ
HC Links (EDI Portal) อย่างเต็มรูปแบบ ระหว่างคู่ค้าโรงพยาบาลรามาธิบดี และบริษัท เยเนอรัล
ฮอสปิตัล โปรดัคส์ จากัด (มหาชน) วันที่ 9 ธันวาคม 2557 ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี
3.การใช้จริงระหว่างคู่ค้า
หน้า 6
การขยายผล
ทีมวิจัยได้พัฒนาและทดสอบ Application ระบบการติดตามและสอบกลับยาและเวชภัณฑ์
(Traceability) ซึ่งผ่านการทดสอบโดยผู้ใช้ และผ่านการนาเสนอรูปแบบของระบบเบื้องต้นแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
แล้ว ทีมวิจัยจึงได้จัดอบรมหลักสูตร “Healthcare Supply Chain and Logistics การจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชนในหน่วยบริการสาธารณสุข” วันที่ 27-28 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มี
วัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดความรู้ เผยแพร่ผลงานวิจัย และขยายผลสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โรงพยาบาล
รัฐ เอกชน และผู้ผลิตยาและเวชภัณฑ์ จานวน 10 องค์กร ผลจากการถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่ผลงานวิจัย
พบว่าผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในหน่วยบริการสาธารณสุข
โดยเฉพาะระบบการติดตามและสอบกลับยาและเวชภัณฑ์มากขึ้น ตลอดจนมีความตระหนักถึงปัญหาที่องค์กร
ของตนไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่นได้ ดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6 การอบรมหลักสูตร “Healthcare Supply Chain and Logistics การจัดการโลจิสติกส์และ
ซัพพลายเชนในหน่วยบริการสาธารณสุข” วันที่ 27-28 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติ
สิริกิติ์
หน้า 7
โครงการวิจัยต่อเนื่อง
ภาพที่ 2 นี้จะถูกทาการขยายผลสู่โรงพยาบาลในวงกว้าง โดยเลือกโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิเป็น
เป้าหมายแรก โดยงานวิจัยแบ่งเป็นการประยุกต์ใช้ 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การประยุกต์ใช้กับโรงพยาบาล
ชุมชนทั่วประเทศ โดย “โครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบโลจิสติกส์โรงพยาบาลชุมชน” (5.รพ.ชุมชน :
ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการ
วิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2558)1
และระยะที่ 2 การประยุกต์ใช้ต้นแบบเชิงลึก โดย “โครงการการ
ประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์เพื่อความปลอดภัยของผู้รับบริการในระบบเครือข่ายโรงพยาบาลปฐมภูมิ”
(6.ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2558)
ในขณะเดียวกันโครงการข้างต้นทั้งหมดยังคงศึกษาในบริบทใหญ่คือระดับภูมิภาคอาเซียน
โดย “โครงการการพัฒนาความสามารถและโอกาสของประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลาง
ผู้ให้บริการโลจิสติกส์สุขภาพในภูมิภาคอาเซียนตามแนวโน้มของโลจิสติกส์สุขภาพโลก” (7. ASEAN :
ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหิดล และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ
2557) ทาการศึกษาระบบ Healthcare Logistics ในแต่ละประเทศ เพื่อได้สถานะสาหรับประเมินศักยภาพ
ของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลาง Healthcare Logistics และได้คาดการณ์การขยายผลสู่การเชื่อมต่อ
Healthcare Logistics ในภูมิภาค เพื่อเกิดความไหลลื่นของระบบ Healthcare Logistics ในภูมิภาค
โดย “โครงการ ASEAN Healthcare Logistics Supply Chain Logistics Connectivity” (8. ASEAN
Connectivity : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหิดล และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ปีงบประมาณ 2558)1
โดยภาพรวมงานวิจัยทั้งหมดนี้จะสร้างความเข้มแข็งของระบบ Healthcare Logistics
ทั้งระดับมหภาคและจุลภาค
1
หมายเหตุ อยู่ในช่วงกาลังดาเนินการจัดทาสัญญาเพื่ออนุมัติทุน
หน้า 8
ประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์
การเชื่อมโยงกระบวนการทางานและการประสานข้อมูลเป็นหนึ่งเดียวกัน มีความสาคัญมากต่อ
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการของระบบสาธารณสุขประเทศไทย ทีมวิจัยประยุกต์ใช้หลักการโซ่อุปทาน
และโลจิสติกส์ในการบริหารจัดการยาในระบบสาธารณสุข เพื่อให้ทุกกระบวนการและทุกส่วนประสานการ
ทางานกันอย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งแต่กระบวนการการจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การกระจาย การจัดการวัสดุคง
คลัง การจ่ายยา และระบบบริหารจัดการข้อมูล โดยมี Stakeholders ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ผู้จาหน่ายวัตถุดิบ
ผู้ผลิต โรงพยาบาล จนถึงผู้ป่วย โดยได้นาเสนอระบบโลจิสติกส์ยาและทาการออกแบบ
1) รหัสบ่งชี้ยา ที่ระบุอัตลักษณ์ได้และใช้ได้ทั่วโลก
2) ฐานข้อมูลยา ที่เก็บข้อมูลมาตรฐานเพื่อทาให้เชื่อมโยงข้อมูลและการประสานการทางานได้ทั้ง
โซ่อุปทาน
3) ระบบติดตามและสอบย้อนกลับยา เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาและเรียกคืนยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4) การเชื่อมโยงและสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
5) กระบวนการทางานของระบบโลจิสติกส์ในโรงพยาบาล
โดยทีมวิจัยได้วิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์เพื่อประเมินมูลค่าผลลัพธ์ที่เกิดจากงานวิจัยดังนี้
รหัสบ่งชี้อัตลักษณ์ยา2
สามารถบ่งชี้และมองเห็นยาในระบบได้อย่างชัดเจน จัดการสต็อกยาได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการสต็อกยาได้ถึง 979.91 – 1,306.55 ล้านบาทต่อปี ลด
ค่าใช้จ่ายที่เสียไปจากยาหมดอายุได้ถึง 3,103.06 – 4,409.61 ล้านบาทต่อปี และเมื่อสามารถบ่งชี้ยาได้อย่าง
ถูกต้องแล้ว ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายอันเกิดจากการจ่ายยาผิดพลาด อันเป็นผลต่อความปลอดภัยของผู้ป่วยได้
ถึง 3,437.86 – 8,092.45 ล้านบาทต่อปี อีกทั้งช่วยลดขั้นตอนการจับคู่รายการยาระหว่างโรงพยาบาลกับซัพ
พลายเออร์ (Mapping) ส่งผลให้ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างบุคลากรในการจับคู่ข้อมูลดังกล่าว
ฐานข้อมูลเพื่อการเชื่อมโยงข้อมูลเป็นหนึ่งเดียวกันในโซ่อุปทาน2
ส่งผลให้หน่วยงานในโซ่อุปทาน
เช่น ซัพพลายเออร์และโรงพยาบาลสามารถสื่อสารใช้ข้อมูลชุดเดียวกันได้ วางแผนการจัดการสต็อกยาร่วมกัน
ส่งผลให้สต็อกยาทั้งโซ่อุปทานลดลงได้ถึง 653.28 – 979.91 ล้านบาทต่อปี ช่วยลดพื้นที่ในสต็อก และเมื่อ
หน่วยงานในโซ่อุปทานใช้ฐานข้อมูลเดียวกันทาให้ลดค่าใช้จ่ายในการสร้างฐานข้อมูลของแต่ละหน่วยงานได้อีก
ด้วย
ระบบติดตามและสอบย้อนกลับยา2
เพื่อกระบวนการในการเรียกคืนยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผล
ให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการเรียกคืนยาได้ถึง 163.32 ล้านบาทต่อปี และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการค้นหายา
การเชื่อมโยงและสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์2
เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลมาตรฐาน ทาให้
สื่อสารกันได้ผ่านอิเล็กทรอนิกส์ ลดการทางานซ้าซ้อน ลดเวลาการทางานแบบใช้แรงงาน (Manual) และลด
ค่าใช้จ่ายในการจัดการข้อมูลได้ถึง 163.32 – 326.64 ล้านบาทต่อปี
2
จากการคานวณของนักวิจัย คิดจากมูลค่ายาทั้งประเทศ 136,154.51 ล้านบาทต่อปี (IMS Health Thailand, 2544) หากนาผลวิจัยไปสู่
การปฏิบัติอย่างแท้จริง
หน้า 9
กระบวนการทางานของระบบโลจิสติกส์ในโรงพยาบาล3
โดยการรีเอ็นจิเนียระบบโลจิสติกส์ใน
โรงพยาบาล จัดการกระบวนการต่างๆให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพิ่มความสะดวกแก่ผู้รับบริการ ส่งผลให้เวลา
ในการรอพบแพทย์ของผู้ป่วยลดลงประมาณ 59.18% อีกทั้งสามารถลดพื้นที่ในการจัดเก็บยา อัตราการ
หมุนเวียนสต็อกเพิ่มขึ้น ลดข้อผิดพลาด (Error) ในการหยิบยาผิดคิดเป็นมูลค่า 6,875.72 – 16,184.90 ล้าน
บาทต่อปี และช่วยลดปริมาณยาที่หมดอายุ
ผลจากการวิเคราะห์นี้แสดงให้เห็นถึงการจัดการโลจิสติกส์ในระบบสาธารณสุข โดยการจัดการ
กระบวนการในโซ่อุปทาน ส่งผลให้เกิดทั้งประสิทธิภาพการบริหารจัดการและยังส่งผลต่อถึงความปลอดภัยของ
ผู้รับบริการ และหากนาระบบที่ได้ออกแบบนี้ใช้ในการจัดการโลจิสติกส์ยาในประเทศจะสามารถลดค่าใช้จ่ายที่
เกิดจากการบริหารจัดการยาของประเทศได้ถึง 9,970.68 – 24,750.98 ล้านบาทต่อปี
3
จากการเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลกรณีศึกษา
หน้า 10
เอกสารแนบ
ผลวิจัยโครงการ Healthcare Logistics
หน้า 11
1. โซ่อุปทานยาและเวชภัณฑ์
การจัดการโซ่อุปทาน หมายถึงการบริหารแบบเชิงกลยุทธ์ที่คานึงถึงความเกี่ยวเนื่อง หรือ
ความสัมพันธ์กันแบบบูรณาการของหน่วยงานหรือแผนกภายในองค์กรและคู่ค้าที่เกี่ยวข้องในโซ่อุปทาน
(Supply Chain Council, 2013) โดยโซ่อุปทานยาและเวชภัณฑ์ (Healthcare Supply Chain) เป็นการ
เชื่อมโยงการทางานของกระบวนการต่างๆ มีการไหลของวัสดุ (Material Flow) เช่น ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
(ยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ ฯลฯ) ผู้ป่วย และการไหลของสารสนเทศ (Information Flow) เป็นสาคัญ เป็น
การจัดการการไหลบนกระบวนการตั้งแต่ต้นน้า (ผู้ผลิต) ถึงปลายน้า (คนไข้) ทาให้ทั้งสองการไหลนี้ไหลผ่านผู้
เล่น (Stakeholder) มากมายในประเทศไทย สรุปผู้เล่นทั้งหมดดังนี้
ภาพที่ 7 แผนที่โซ่อุปทานสุขภาพประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับผู้เล่นต่างๆ (Stakeholder Map)
(ที่มา: โครงการจัดจ้างที่ปรึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศและระบบบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2556)
จากวัตถุดิบที่ไหลเข้าประเทศมีทั้งจากผู้ผลิตสารตั้งต้น (Active ingredient, Additive ingredient,
Package material ) ผู้ผลิตยาสาเร็จรูป (Finished Good) จากต่างประเทศ ไหลเข้ามาในประเทศ โดยผ่าน
ศุลกากรเพื่อการตรวจสอบ จากนั้นจึงเข้ามาสู่ผู้ผลิต, ผู้แบ่งบรรจุ และผู้นาเข้า ทั้งนี้จะรวมถึงผู้ผลิตทุกรายทั้ง
รัฐและเอกชน เช่น องค์การเภสัชกรรม องค์การเภสัชกรรมทหาร สถานบริการสุขภาพที่ผลิตยาเอง โดยผู้เล่น
ในส่วนนี้จะต้องแจ้งต่อ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสาหรับยาทุกชนิด, สรรพสามิตสาหรับสินค้า
ควบคุมทุกรายการ และกรมตารวจสาหรับสารเสพติด จากนั้นจึงทาการตลาดตรง หรือผ่านผู้จัดจาหน่ายไปสู่
สถานบริการสุขภาพทั้งสถานบริการสุขภาพ คลินิค และร้านขายยา ร้านค้า ร้านสะดวกซื้อ ก่อนจะไหลสู่
ผู้บริโภคคนสุดท้ายไม่ว่าจะเป็นผู้รับบริการหรือลูกค้า (สถานเสาวภา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) รวมถึงการ
ไหลของข้อมูลและการเบิกจ่ายที่มีผู้เล่นที่เกี่ยวข้องคือ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรมบัญชีกลาง
ประกันสังคม บริษัทประกัน และกองทุนต่างๆ
โซ่อุปทานยาและเวชภัณฑ์1..
หน้า 12
เพื่อให้การทางานแต่ละจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับยาตั้งแต่ “ต้นน้า” จนถึง “ปลายน้า” ข้างต้นนั้น
สามารถเชื่อมโยงและประสานเป็นหนึ่งเดียวกันได้ ทาให้การบริหารจัดการการทางานระหว่างกันมี
ประสิทธิภาพมากที่สุด ปัจจัยหนึ่งที่สาคัญในการทางานเชื่อมโยงกัน นั่นคือ “ข้อมูล” กระบวนการ
โลจิสติกส์ไม่ว่าจะเป็นการบริหารจัดการการผลิตเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค การจัดการเก็บ
สินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม การจัดการการขนส่งให้ทันเวลากับความต้องการ การจัดการส่งต่อ
ข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน การเก็บและใช้ข้อมูลร่วมกันเพื่อการตัดสินใจ
จากการศึกษาระบบโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของระบบสาธารณสุขไทย พบว่า ความสามารถเบื้องต้น
พื้นฐานที่จาเป็นมากที่สุดในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน คือ ภาษาที่ใช้ในการบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ยาที่ไหลระหว่าง
กันต้องเป็น “มาตรฐาน” ที่เข้าใจและเชื่อมโยงในระบบร่วมกันได้ หากแต่เมื่อศึกษาสถานการณ์ในประเทศไทย
แล้วพบว่า หน่วยงานบนโซ่อุปทานยานี้ใช้ภาษาเชื่อมโยงข้อมูลยานี้แตกต่างกันไป แต่ละหน่วยงานมีรหัสยา
ของหน่วยงานตนเพื่อใช้สาหรับวัตถุประสงค์ของหน่วยงานเท่านั้น ดังเช่นตารางที่ 1
รูปแบบรหัสยาที่ใช้งานในหน่วยงานต่างๆ ในระบบสาธารณสุขไทยตารางที่ 1
หน่วยงาน Description
Digit
Length
Lowest Level
สานักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ (สปสช.)
Drug type, generic name, strength,
dosage form, manufacturer code
24 Generic name
สานักงานคณะกรรมการอาหารและ
ยา (อย.)
Tax identifier, manufacturer code, class,
group and GTIN code
30 Trade name
กรมบัญชีกลาง (มาตรฐาน
รหัสสินค้าและบริการภาครัฐ:
GPSC)
Class, category, and running number 22 Class
องค์การเภสัชกรรม (อภ.) GTIN 13 of GS1 standards 13 Trade Name
กรมบัญชีกลาง Running number - Trade name
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Source, manufacturer code, active
ingredients
11 Generic name
กรมศุลกากร Class, subclass, and statistical information 16 Class
นอกเหนือจากรหัสยาต่างๆ ที่ถูกกาหนดและใช้งานโดยหลายหน่วยงานแล้ว ระบบบริการสาธารณสุข
ของประเทศไทยได้มีการนารูปแบบรหัสยาของต่างประเทศใช้งานอยู่ด้วย รหัสยาดังกล่าวแสดงในตารางที่ 2
หน้า 13
รูปแบบรหัสยาต่างประเทศที่ใช้งานในระบบสาธารณสุขไทยตารางที่ 2
รหัสยา รูปแบบโครงสร้างรหัสยา ความละเอียด
AHFS Pharmacologic-
Therapeutic Classification
2008
7 หลัก แบ่งตามกลุ่มการรักษา และประเภทยา
เป็นหลัก เช่น 8:12.06.04 - First Generation
Cephalosporins
ชื่อสามัญทางยา
British National Formulary
(BNF)
8 หลัก แบ่งตามหมวดหมู่ของระบบในร่างกาย
ประเภทยา และประเภทการรักษา เช่น
02.05.05.01 Angiotensin- converting
enzymes inhibitors
ชื่อสามัญทางยา
The anatomical therapeutic
chemical classification
system (ATC)
7 หลัก แบ่งตามหมวดหมู่ของระบบในร่างกาย
ประเภทยา ประเภทการรักษาและตัวยาสาคัญ
เช่น N 05 B A 01 Diazepam
ชื่อสามัญทางยา
IOWA Code Modified 16 หลัก แบ่งตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เช่น
040000 00008 190 00 Chlorpheniramine
maleate
ชื่อสามัญทางยาและ
เหมาะกับยาเดี่ยวที่มีตัวยา
สาคัญเพียงตัวเดียว
จากการศึกษารูปแบบรหัสยาทั้งรูปแบบของประเทศไทยและของต่างประเทศที่ใช้งานในระบบ
สาธารณสุขไทย พบว่ามีความพยายามสื่อข้อมูลต่างๆ ผ่านรหัสยา ส่งผลให้รหัสมีตัวอักษรและตัวเลขปนกัน
มากและซับซ้อนเกินความจาเป็น ท้ายที่สุดความยาวของแต่ละรหัสจะไม่เพียงพอต่อจานวนข้อมูลที่เพิ่มขึ้นใน
อนาคต รวมถึงยากต่อการนาไปปรับใช้กับเวชภัณฑ์อื่นที่มีข้อมูลต่างกันออกไป การคัดเลือกรูปแบบรหัสใดรหัส
หนึ่งมาปรับใช้ร่วมกัน เป็นวิธีที่เหมาะสมสาหรับการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการสื่อสารบนโซ่อุปทาน
สาธารณสุข หากเราพิจารณารหัสยาที่พัฒนาโดยหน่วยงานของรัฐและใช้งานอย่างแพร่หลายที่สุด คือ รหัสยา
24 หลัก ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งมีข้อจากัดดังนี้
1. การสร้างรหัสยาจะครอบคลุมเฉพาะรายการในบัญชียาหลักแห่งชาติเท่านั้น
2. การใช้งานถูกจากัดอยู่เฉพาะในโรงพยาบาลที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
3. รหัสสามารถอ้างอิงอัตลักษณ์ของยาได้เฉพาะภายในประเทศเท่านั้น
4. รหัสยาขาดความเป็นเอกลักษณ์ เนื่องจากโครงการสร้างของรหัสถูกพัฒนาขึ้นตามชื่อสามัญทางยา
(Generic Name) ดังนั้น ชื่อทางการค้า (Trade Name) ที่ต่างกัน ก็จะมีรหัสเดียวกันได้
ถึงแม้ว่ารหัสยาของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และองค์การเภสัชกรรม มีการจาแนกยา
ด้วยชื่อทางค้า อีกทั้งยังพบข้อจากัด คือ เลขทะเบียนยา (รหัสยาของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) มี
การจาแนกลักษณะที่ไม่ครอบคลุมถึงขนาดบรรจุภัณฑ์ (Pack Size) เช่น ยามี 2 ขนาดบรรจุ คือขวดละ 100
เม็ด และ 1,000 เม็ด มีการใช้เลขทะเบียนยาเดียวกัน ข้อมูลจากรหัสนั้น จึงไม่ได้บอกขนาดบรรจุภัณฑ์
นอกจากนี้ ยาที่ผลิตโดยองค์การเภสัชกรรมและโรงงานเภสัชกรรมทหาร ได้รับสิทธิยกเว้นในการขึ้นทะเบียน
ยาตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 ดังนั้น หากจะนาเลขทะเบียนยามาปรับใช้ร่วมกันจะต้องทาการปรับแก้ข้อ
หน้า 14
กฎหมาย ให้หน่วยงานดังกล่าวต้องมีการขึ้นทะเบียนยาด้วย แต่อย่างไรก็ตาม เลขทะเบียนยายังขาดลักษณะ
ความเป็นสากล เนื่องจากเลขทะเบียนยาถูกตั้งขึ้นสาหรับใช้งานในประเทศเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ การคัดเลือก
รูปแบบรหัสใด รหัสหนึ่ง ที่มีการพัฒนาขึ้นและใช้อยู่แล้วบนระบบสาธารณสุขไทย จึงมีข้อจากัด การระบุอัต
ลักษณ์ยาสามารถระบุใช้เพียงภายในประเทศไทยเท่านั้น ทั้งที่กลไกเริ่มต้นของยาที่จะเข้าสู่ระบบบริการ
สาธารณสุข จะต้องผ่านการตรวจสอบและขึ้นทะเบียนยาจากองค์การอาหารและยา
ทีมวิจัยพบว่าสมาชิกบนโซ่อุปทานสาธารณสุขทั้งหมด ได้แก่ ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้า โรงพยาบาล
จนถึงหน่วยงานประกันสุขภาพ ควรมีรหัสที่มีคุณสมบัติเพื่อสนับสนุนการจัดการทั้งทางด้านกิจกรรมโลจิสติกส์
และทางด้านการรักษาพยาบาล ดังนี้
1) รหัสควรมีคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์หรือไม่ซ้ากัน (Unique Identification) เช่นเดียวกับเลขบัตร
ประชาชนที่ 1 เลขหมาย หมายถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้น โดยการจาแนกยาควรสามารถจาแนกชื่อ
ทางการค้า (Trade Name) และบรรจุภัณฑ์ (Pack Size)
2) รหัสเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติและมีการใช้งานในระดับสากล (Globalization) ยาชนิดเดียวกัน
อาจทาการผลิตจากประเทศต่างๆ มากกว่าหนึ่งประเทศ หรือยาที่ทาการผลิตในประเทศอาจถูกส่งไปขายยัง
ต่างประเทศ การจาแนกจึงไม่ถูกจากัดภายในประเทศไทยเท่านั้น ดังนั้นรูปแบบรหัสยาควรเป็นที่ยอมรับใน
ระดับสากล
3) สามารถอ่านด้วยเครื่องมือ (Machine Readable) เป็นคุณสมบัติที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ
ทางาน ซึ่งในกิจกรรมทางโลจิสติกส์นั้น กิจกรรมการบันทึกข้อมูลเป็นงานประจาซึ่งต้องใช้ทั้งเวลาและบุคลากร
ในการปฏิบัติงานสูง และมีโอกาสเกิดความผิดพลาดได้ง่าย
ทั้งนี้ McKinsey (2012) ได้ศึกษาและรายงานประโยชน์ของการประยุกต์ใช้รหัสยามาตรฐานสากล
(Global Trade Item Number: GTIN) และเปรียบเทียบคุณสมบัติกับรหัสยาที่พัฒนาโดย The Health
Industry Business Communications Council (HIBCC) และรหัสยามาตรฐานแห่งชาติ (National Code)
ดังสรุปในตารางที่ 3
การเปรียบเทียบคุณสมบัติรหัสมาตรฐานสากล (GTIN) กับรหัสอื่นๆ (Mckinsey, 2012)ตารางที่ 3
ประเด็น GS1 Standards HIBCC Standards National codes
มี Data Carrier เพื่อเชื่อมโยง
ข้อมูลปริมาณมากได้
มี (GS1 Data Matrix และ
RFID)
มี (3 ISO 2D Matrix and
RFID)
ไม่มี (Linear barcode)
ความครอบคลุมของมาตรฐาน
ในการระบุอัตลักษณ์
ครอบคลุมการระบุอัตลักษณ์ถึง
10 ประเภท เช่น
 ระบุอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์
(Global Trade Identification
Number: GTIN),
 สถานที่ (Global Localtion
Number: GLN) ฯลฯ เป็นต้น
ระบุอัตลักษณ์ได้เพียง
 ผลิตภัณฑ์ (Universal
Product Number : UPN)
 สถานที่ (Health Industry
Number: HIN)
ระบุอัตลักษณ์ได้เพียง
ผลิตภัณฑ์เท่านั้น
หน้า 15
ประเด็น GS1 Standards HIBCC Standards National codes
Master Data
Synchronization
มี The Global Data
Synchronization Network:
GDSN (เครือข่ายสากล)
มี Master Data ชื่อ UPN ไม่มี Master Data
มาตรฐานในการติดตามและ
สอบย้อนกลับ
มีมาตรฐานในการติดตามและ
สอบย้อนกลับสากลสาหรับ
ระบบสาธารณสุข
ไม่มี ไม่มี
ความสามารถในการทางาน
ร่วมกัน (Interoperability)
กับ National ID
สามารถทางานร่วมกับ
National ID ได้
ไม่สามารถทางานร่วมกับ
National ID สาหรับเครื่องมือ
แพทย์ได้
รหัสถูกจากัดให้ใช้ได้เฉพาะ
ในประเทศ ไม่สามารถใช้
งานกับต่างประเทศได้
มีความเป็นสากล ใช้กับ
ต่างประเทศได้
ใช้ได้ทุกประเทศ ใช้ได้เกือบทุกประเทศ ยกเว้น
ประเทศญี่ปุ่น
รหัสถูกจากัดให้ใช้ได้เฉพาะ
ในประเทศ ไม่สามารถใช้
งานกับต่างประเทศได้
ความสามารถในการใช้กับยา
และเครื่องมือแพทย์
สามารถใช้ได้ทั้งยาและ
เครื่องมือแพทย์
ใช้ได้เฉพาะเครื่องมือแพทย์
(ใช้ได้กับยาเฉพาะประเทศ
เนเธอร์แลนด์)
ใช้ได้เฉพาะยาเท่านั้น
องค์กรสากลที่ทาหน้าที่
สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานของ
รหัส
มีองค์กรสากลและสานักงาน
ใหญ่ จานวน 111 องค์กร
ประจาประเทศต่างๆ ทั่วโลก
ทาหน้าที่สนับสนุนการใช้รหัส
มาตรฐานสากลให้แก่ประเทศ
ต่างๆ
สหรัฐอเมริกา; และมีเจ้าหน้าที่
สนับสนุนในออสเตรเลียและ
ยุโรป
ภายในประเทศ
ความครอบคลุมกับอุตสาหกรรม
อื่น
ครอบคลุมกับอุตสาหกรรมค้า
ปลีก, Healthcare, การขนส่ง
และโลจิสติกส์ และ
อุตสาหกรรมอื่นอีก 20 ประเภท
เฉพาะอุตสาหกรรม
Healthcare เท่านั้น
เฉพาะอุตสาหกรรมยา
เท่านั้น
องค์กรของรัฐที่ยอมรับการใช้
มาตรฐาน
องค์กรของรัฐใน 65 ประเทศ องค์กรของรัฐในประเทศตุรกี
เท่านั้น
องค์กรของรัฐในประเทศ
จีน, เยอรมนี, อิตาลี,
เบลเยียม และโปรตุเกส
จากการศึกษารหัสต่างๆ ที่ถูกพัฒนาขึ้นสาหรับใช้ในระบบการให้บริการสาธารณสุขทั้งภายในประเทศ
ไทยและในต่างประเทศ โดยได้ทาการเปรียบเทียบกับคุณสมบัติที่กล่าวมาข้างต้น ทีมวิจัยพบว่า รหัสยาที่
สามารถระบุอัตลักษณ์ครบ มีคุณลักษณะการบ่งชี้ที่ดี คือ GTIN (Global Trade Item Number) ของ
หน่วยงาน The Global Language of Business (GS1) (โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ, 2554) อีก
ทั้ง GTIN ได้รับความนิยมในการนามาประยุกต์ใช้บนโซ่อุปทานสาธารณสุขอย่างแพร่หลาย (Naus and Exan,
หน้า 16
2012; Eucomed, 2011; Grimald, 2012; Melbourne, 2012) จึงเหมาะสมสาหรับการเป็นรหัสยา
มาตรฐาน (National Drug Code: NDC) GTIN คือหมายเลขประจาตัวสินค้า และ The Global Language
of Business หรือที่รู้จักกันในชื่อ GS1 เป็นผู้ควบคุมการออกรหัสที่มีเครือข่ายทั่วโลก สามารถพิมพ์บาร์โค้ดให้
อยู่ในรูปรหัสแท่งหรือบาร์โค้ด 2 มิติ มีความสามารถในการบรรจุข้อมูลและอ่านได้ด้วยเครื่องอ่านบาร์โค้ด โดย
รหัสยามาตรฐานมีโครงสร้าง ดังภาพที่ 8
ภาพที่ 17 รหัสยามาตรฐาน
ภาพที่ 8 โครงสร้างรหัสยามาตรฐาน
ส่วนที่ 1 – ประเทศผู้ผลิตยาและเวชภัณฑ์
ส่วนที่ 2 – รหัสบริษัทผู้ผลิตที่ขึ้นทะเบียนกับสถาบันรหัสสากล ของประเทศผู้ผลิต
ส่วนที่ 3 – รหัสยาและเวชภัณฑ์ที่ผู้ผลิตตั้งขึ้นจานวน 4 หลัก ตัวเลขส่วนนี้จะเรียงลาดับกันตามบรรจุ
ภัณฑ์ที่ผลิต
ส่วนที่ 4 – ตัวเลข 1 หลักที่เกิดจากการคานวณ เพื่อให้เครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถอ่านได้ซึ่งรหัส
GTIN มีหลายรูปแบบ ได้แก่ GTIN 8, GTIN 12, GTIN 13, GTIN 14, GS1 128
รูปแบบ GTIN จึงเป็นรูปแบบที่มีความเหมาะสม สาหรับนามาเป็นรหัสยามาตรฐานสาหรับประเทศ
ไทย
 GTIN 8: ระบุชนิดสินค้า
 GTIN 12: ระบุบริษัทผู้ผลิต และชนิดสินค้า
 GTIN 13: ระบุประเทศที่มีการผลิตสินค้า บริษัทผู้ผลิต และชนิดสินค้า
 GTIN 14: ประเทศที่มีการผลิตสินค้า บริษัทผู้ผลิต ชนิดสินค้า และระบุระดับชั้นของบรรจุภัณฑ์
 GS1 128 : เป็นบาร์โค้ดที่ใช้ทางด้านโลจิสติกส์ สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งตัวเลขและตัวอักษร จึง
สามารถบันทึกข้อมูลของสินค้าได้มาก เช่น หน่วยวัดต่างๆ, เลขหมายลาดับการขนส่ง, เลขหมาย
batch/lot, วันหมดอายุและสถานที่ตั้ง เป็นต้น
การที่รหัสมาตรฐาน GTIN สามารถนาไปใช้ประโยชน์สาหรับการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่
อุปทานได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จาเป็นต้องมีการเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่บรรจุข้อมูลตามที่ผู้ใช้งานในห่วงโซ่
อุปทานสุขภาพต้องการ เพื่อประโยชน์สาหรับการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ที่มีประสิทธิภาพ รวมถึง
ลดความผิดพลาดจากการทางานของมนุษย์ (Human Error) เพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการโลจิสติกส์และ
โซ่อุปทานสาธารณสุข โดยต้องเริ่มต้นจากการสร้างความเชื่อมโยงข้อมูลและการสื่อสารบนโซ่อุปทานเป็น
สาคัญ
123 12345 1234 1
321 4
หน้า 17
จากผลการศึกษาวิจัยพบว่า การที่จะสร้างการเชื่อมโยงข้อมูลบนระบบโซ่อุปทานสาธารณสุข
จาเป็นต้องพัฒนาส่วนประกอบต่างๆ ได้แก่
1. รหัสยามาตรฐาน
2. ชุดข้อมูลที่สาคัญต่อผู้ใช้งานตลอดโซ่อุปทานสาธารณสุข
3. วิธีการประยุกต์ใช้รหัสและข้อมูลที่เป็นมาตรฐานบนโซ่อุปทานสาธารณสุข
ส่วนประกอบเหล่านี้ ถือเป็นรากฐานสาคัญที่นาไปสู่ความสามารถในการติดตาม (Tracking)
ตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ยา และเพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผู้เข้ารับบริการทางการแพทย์
อย่างไรก็ตาม จากสถานการณ์ในประเทศไทยที่มีการใช้รหัสมาตรฐานในแต่ละหน่วยงานแตกต่าง
กันไป การที่จะปรับมาใช้รหัสหนึ่งรหัสใดให้ครอบคลุมทุกวัตถุประสงค์นั้นเป็นไปได้ยาก ทีมวิจัยจึงนาเสนอ
การ Harmonize code โดยใช้ 3 รหัสร่วมกัน ได้แก่
1. GTIN (Global Trade Item Number) เพื่อวัตถุประสงค์ด้านโลจิสติกส์
2. TMT (Thai Medicines Terminology) เพื่อวัตถุประสงค์ด้าน Clinical
3. รหัสยา 24 หลัก เพื่อวัตถุประสงค์ด้านการเบิกจ่าย
โดยทั้ง 3 รหัสนี้จะถูกบรรจุเป็น Reference code ในฐานข้อมูลเดียวกัน
2. ฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์
Healthcare Supply Chain Excellence Centre นาเสนอแนวทางการสื่อสารข้อมูลยาระหว่าง
ผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการโซ่อุปทานสาธารณสุขในรูปแบบของ“ฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์” จากการศึกษา
ฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบันมีฐานข้อมูลอยู่หลายฐานข้อมูลด้วยกัน แต่ส่วนใหญ่ใช้เป็นการภายใน
เช่น ฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตามมีฐานข้อมูลในรูปแบบสาธารณะอยู่หลักๆ 2 ฐานข้อมูลด้วยกัน
ตามตารางที่ 4
ฐานข้อมูลยาในรูปแบบสาธารณะตารางที่ 4
ชื่อฐานข้อมูลและ URL หน่วยงานต้นสังกัด การให้บริการ
Ya and You
http://www.yaandyou.net/
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
ร่วมกับมูลนิธิเพื่อการวิจัยและ
พัฒนาระบบยา (วพย.)
บริการสืบค้นข้อมูลความรู้
เรื่องยาเพื่อส่งเสริมการใช้ยา
และการดูแลสุขภาพ มีข้อมูลยา
เช่น ข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้ เป็นต้น
สานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา
http://www2.fda.moph.
go.th/consumer/drug/dcenter.asp
สานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา
บริการสืบค้นข้อมูลตารับยามี
ข้อมูลยา เช่น ส่วนผสมของยา ชื่อ
สามัญ ชื่อทางการค้า รูปแบบยา
เป็นต้น
ฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์2.
หน้า 18
จะเห็นได้ว่าข้อมูลต่างๆ ของยาถูกเก็บอยู่อย่างกระจัดกระจายตามองค์กรต่างๆ บนโซ่อุปทานดังนั้น
เพื่อเป็นการเพิ่มระดับความปลอดภัยของผู้เข้ารับบริการทางการแพทย์ ทุกคนบนโซ่อุปทานสามารถนาข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงควรรวบรวมข้อมูลไว้ ณ ที่ใดที่หนึ่ง เพื่อให้มีความพร้อมทางด้าน
สารสนเทศ ชุดข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานตลอดสายโซ่อุปทานสาธารณสุข (ผลจาก
การทบทวนวรรณกรรม และผ่านการระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโซ่อุปทานสุขภาพ ได้แก่
แพทย์, เภสัชกร, ผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ด้านระบบโลจิสติกส์และการกระจายสินค้า) สรุปได้ 38
attributes ดังตารางที่ 5
ชุดข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานตลอดสายโซ่อุปทานสาธารณสุขตารางที่ 5
ID Attributes Description
General Information
1 Registration Code เลขทะเบียนยาที่ออกให้โดยสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
2 Trade (Brand) Name –in Thai and
English
ชื่อการค้า (Trade Name)
3 Generic Name –in Thai and English ชื่อสามัญทางยา (Generic Name)
4 Dosage Form รูปแบบยา เช่น Ointment
5 Net Content ขนาดบรรจุสุทธิ (ใช้กับยาน้า)
6 Route of Administration ช่องทางการให้ยา
7 Manufacturer ชื่อผู้ผลิต
8 Distributor (Local) ชื่อผู้กระจายสินค้า
9 Graphic/Image of Drugs รูปยา
10 Start Marketing Date วันที่เริ่มการขายสินค้า
11 End Marketing Date วันที่สิ้นสุดการขายสินค้า
12 Thai FDA Class การแบ่งประเภทยาตามสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
13 ATC Class ประเภทยาแบ่งตามระบบ ATC (ตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์)
14 DrugCode24 รหัสยา 24 ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
Clinical Information
15 Active Ingredient ตัวยาสาคัญ
16 Strength/ Strength Unit ความแรงของตัวยา/หน่วยความแรงของตัวยา
17 Indications ข้อบ่งใช้
18 Contraindications ข้อห้ามใช้
19 Dosage ขนาดและวิธีใช้ยา
20 Overdose ผลและข้อพึงปฏิบัติเมื่อได้รับยาเกินขนาด
หน้า 19
ID Attributes Description
21 Administration วิธีการให้ยา
22 Precautions คาเตือนทั่วไป
23 Special Precautions คาเตือนพิเศษเกี่ยวกับการใช้ยา
24 Adverse Drug Reactions อาการข้างเคียงหรืออาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา
25 Drug Interactions ข้อแนะนาความเป็นปฏิกิริยาต่อกันของยาเมื่อใช้ร่วมกับยาอื่น
26 Storage Condition ข้อแนะนาการเก็บรักษา
27 Pregnancy Category กลุ่มยาแบ่งตามความปลอดภัยในสตรีมีครรภ์
Logistics Information
28 Barcode บาร์โค้ดของแต่ละบรรจุภัณฑ์
29 Presentation Unit รูปแบบของบรรจุภัณฑ์ เช่น Blister Pack, Box
30 Based Unit (Smallest unit of
manufactured)
หน่วยนับที่ย่อยที่สุด (หน่วยที่ใช้ขึ้นทะเบียนยา) เช่น Tablet, Capsule
31 Conversion จานวนในหน่วยนับที่ย่อยที่สุดที่บรรจุภายในหนึ่งบรรจุภัณฑ์
32 Net Content (Packages) ขนาดบรรจุ (ใช้กับยาน้า) ในขนาดบรรจุภัณฑ์
33 Barcode Marked การระบุว่ามีการติดบาร์โค้ดบนบรรจุภัณฑ์
34 Barcode Type ประเภทของบาร์โค้ด เช่น GTIN8, GTIN13 เป็นต้น
35 Dimension (Width, Length, Height) ความกว้าง ยาว สูงของบรรจุภัณฑ์
36 Dimension Unit หน่วยของความกว้าง ยาว สูงของบรรจุภัณฑ์
37 Weight น้าหนักของผลิตภัณฑ์
38 Weight Unit หน่วยของน้าหนักผลิตภัณฑ์
ชุดข้อมูลนี้จะถูกเชื่อมโยงเข้ากับรหัสยามาตรฐานที่เป็นรหัสกลางสาหรับการสื่อสารบนระบบ
โซ่อุปทานสาธารณสุข โดยจะรวบรวมไว้ภายในฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ เรียกแนวคิดการใช้รหัสยา
มาตรฐานและฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์นี้ว่า “National Drug Code and Database หรือ NDD”
ดังภาพที่ 9
ภาพที่ 9 National Drug Code and Database (NDD) ที่ให้ข้อมูลทั้งหมด
ที่ทุกคนต้องการใช้ในรูปแบบมาตรฐานและสามารถแลกเปลี่ยนกันได้
หน้า 20
3. การแบ่งปันข้อมูลไปยังฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์
ผู้ผลิต ผู้นาเข้ายา และโรงพยาบาล ทาหน้าที่เป็นผู้แบ่งบันข้อมูลต่างๆ เข้าสู่ฐานข้อมูลยา
อิเล็กทรอนิกส์ และทางโรงพยาบาลต่างๆ จะทาการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากระบบสารสนเทศของ
โรงพยาบาลเข้ากับฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ด้วยรหัสยามาตรฐาน เพื่อประโยชน์ต่างๆ เช่น ช่วยเชื่อมต่อ
ข้อมูลสาหรับรายงานเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา (Adverse Drug Events: ADEs)
และยังสามารถใช้ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ จากฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์สาหรับเป็นข้อมูลสนับสนุนช่วยด้านการ
รักษาโรค และการบริหารจัดการงานด้านต่างๆ ในระดับโรงพยาบาลและระดับประเทศ ดังภาพที่ 10
ภาพที่ 10 หลักการทางานของฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์
เมื่อยาใหม่ได้รับอนุญาตให้ขายหรือใช้กับคนไข้ในโรงพยาบาล ผู้ผลิต/ผู้นาเข้ายาและเวชภัณฑ์ต้อง
บันทึกข้อมูล รายละเอียด จาเพาะของยานั้นๆ เข้าไปในฐานข้อมูลยาเล็กทรอนิกส์ และต้องปรับปรุงข้อมูลให้มี
ความทันสมัยอยู่เสมอ กล่าวคือ เมื่อข้อมูลต่างๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงจะต้องทาการแก้ไขในฐานข้อมูลยา
อิเล็กทรอนิกส์ด้วย
เมื่อมาตรฐานข้อมูลเกิด และข้อมูลต่างๆ ถูกรวบรวมไว้บนฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ องค์กรต่างๆ
จะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลยาที่สาคัญผ่านการเชื่อมต่อเข้ากับฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ได้ เพื่อประโยชน์
สาหรับการนาไปใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการรักษาและการจัดการการไหลของยาในระบบ
โซ่อุปทาน ไม่เพียงแต่ประโยชน์ต่อสมาชิกบนโซ่อุปทานสาธารณสุขเท่านั้น ประชาชนทั่วไปยังสามารถเข้าถึง
ข้อมูลยาเหล่านี้ (ในส่วนสาหรับการเผยแพร่สู่สาธารณะ) เป็นความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้ยา ข้อควรระวัง
ผลข้างเคียง หรืออื่นๆ ให้กับประชาชน ช่วยยกระดับความรู้เกี่ยวกับยาให้กับประชาชนได้อีกช่องทางหนึ่งที่
สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเพิ่มความปลอดภัยจากการใช้ยาให้กับประชาชนด้วย
การแบ่งปันข้อมูลไปยังฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์3.
หน้า 21
4. แนวทางประยุกต์ใช้งานบนโซ่อุปทานสาธารณสุข
ในการสร้างช่องทางการไหลของสารสนเทศบนระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสาธารณสุข ทุกองค์กรที่
เกี่ยวข้องจาเป็นต้องประยุกต์ใช้รหัสยามาตรฐานที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับชุดข้อมูลที่สาคัญ และเชื่อมโยงเข้า
กับระบบสารสนเทศภายในองค์กร โดยรหัสยามาตรฐานนี้จะเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่ไหลบนระบบโซ่
อุปทานสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับโรงพยาบาล หรือหน่วยงานให้บริการสาธารณสุขอื่นๆ เนื่องจาก
โรงพยาบาลนั้นเป็นปลายทางการไหลของยาก่อนถึงมือคนไข้ และเป็นต้นทางของการสอบย้อนกลับเมื่อเกิด
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
จากการเก็บข้อมูลพบว่า ในปัจจุบันโรงพยาบาลยังไม่สามารถบ่งชี้อัตลักษณ์ของยาได้อย่างชัดเจน
เนื่องจากในบางโรงพยาบาลมีการกาหนดรหัสยาที่ระบุอัตลักษณ์ตามชื่อสามัญทางยา แต่บางโรงพยาบาลสร้าง
รหัสยาเพื่อจาแนกอัตลักษณ์ตามชื่อทางการค้า นอกจากนี้ยังพบอีกว่า เมื่อมีการเปลี่ยนซัพพลายเออร์สาหรับ
การสั่งซื้อยา การบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับยาดังกล่าวเป็นเพียงการแก้ไขจากข้อมูลเดิมเป็นข้อมูลใหม่
แต่อ้างอิงด้วยรหัสยาตัวเดิม ส่งผลให้การตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังถึงยาที่ผู้ป่วยเคยได้รับ ไม่สามารถตรวจสอบ
ไปยังข้อมูลที่แท้จริงได้
จากเหตุผลที่กล่าวมานั้น การประยุกต์ใช้แนวคิด NDD จึงควรเริ่มต้นที่โรงพยาบาล ดังนั้น จึงได้ทา
การสารวจรูปแบบการใช้รหัสยาบนกระบวนการภายในโรงพยาบาลผ่านวิธีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง
(Semi-Structured Interview) โดยลักษณะการใช้รหัสแบ่งโรงพยาบาลออกเป็น 3 กลุ่ม ดังภาพที่ 11
ภาพที่ 11 การจาแนกลักษณะการใช้รหัสยาในโรงพยาบาล
แนวทางประยุกต์ใช้งานบนโซ่อุปทานสาธารณสุข4.
หน้า 22
1) กลุ่มที่ 1 Integrated System มีการใช้รหัสยาครอบคลุมกระบวนการทางธุรกิจตั้งแต่ยาเข้าสู่
โรงพยาบาล จนกระทั่งจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วยมีการใช้รหัสยาที่ตั้งขึ้นภายในโรงพยาบาล (Internal Code) เพื่อ
ระบุอัตลักษณ์ยาด้วยชื่อทางการค้า (Brand Name) และรับสินค้าเข้าคลังด้วย Logistics Unit แล้วแปลงเป็น
หน่วยย่อยที่สุดหรือหน่วยที่ใช้ในการสั่งจ่ายยา (Prescription Unit)
2) กลุ่มที่ 2 Separated System มีรูปแบบการใช้รหัสยาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกจะใช้รหัสยา
ทาหน้าที่ระบุอัตลักษณ์ของชนิดยาตามชื่อทางการค้าเพื่อใช้บริหารจัดการคลังยา พบใน Back System และ
ใช้หน่วยนับแบบ Logistics Unit (หน่วยของบรรจุภัณฑ์) ส่วนรหัสยาอีกกลุ่มทาหน้าที่ระบุอัตลักษณ์ของชนิด
ยาตามชื่อสามัญ (Generic Name) สาหรับการสั่ง-จ่ายยา และการคิดค่าใช้จ่าย พบใน Front System และ
ใช้หน่วยนับย่อยที่สุดหรือหน่วยที่ใช้ในการสั่งจ่ายยา (Prescription Unit) รหัสยาทั้งคู่ถูกกาหนดขึ้นและใช้
ภายในโรงพยาบาล (Internal Code)
3) กลุ่มที่ 3 Without Inventory System มีการใช้รหัสยาเฉพาะการตรวจรักษา การจ่ายยา และ
การเงิน พบใน Front System เท่านั้น โดยไม่มีการใช้รหัสยาเพื่อช่วยจัดการยาในคลัง จึงมีการกาหนดรหัสที่
ใช้ในโรงพยาบาล (Internal Code) เพียงกลุ่มเดียว ซึ่งระบุอัตลักษณ์ของชนิดยาตามชื่อสามัญ (Generic
Name) จะพบการใช้รหัสยาลักษณะนี้ในโรงพยาบาลที่มีขนาดเล็กมีกระบวนการทางธุรกิจไม่ซับซ้อนนัก
ผลการศึกษาลักษณะรหัสยาและการไหลของสารสนเทศในโรงพยาบาล เพื่อพัฒนาการสื่อสารบน
แนวคิด NDD จะเกี่ยวพัน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล การไหลของข้อมูล (Transaction) ระบบ
สารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้น การสร้างมาตรฐานการสื่อสารที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงข้อมูลตั้งแต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า และ
ทาให้การไหลของสารสนเทศเกิดความคล่องตัวนั้น สมาชิกบนโซ่อุปทานสาธารณสุขจะมีหน้าที่ผลักดันแนวคิด
NDD สู่การใช้งานจริง ดังภาพที่ 12
ภาพที่ 12 การปฏิรูปโซ่อุปทานสุขภาพและบทบาทต่อฐานข้อมูล
หน้า 23
การปฏิรูปโซ่อุปทานสาธารณสุขให้เกิดประสิทธิภาพอย่างยั่งยืนเกิดจากความร่วมมือที่ช่วยผลักดัน
และส่งเสริมแนวคิดนี้ให้เกิดการใช้งานอย่างแพร่หลาย ทุกหน่วยงานล้วนมีหน้าที่และบทบาทต่อฐานข้อมูลยา
อิเล็กทรอนิกส์ในฐานะผู้ผลิต ผู้นาเข้า ผู้จัดจาหน่ายทั้งในและต่างประเทศ จะต้องขึ้นทะเบียนสมาชิกกับ GS1
ในประเทศที่ทาการผลิตยา และสร้างรหัสยามาตรฐานที่มีเลขรหัส 13 หลัก ทั้ง Trade Unit และ
Prescription Unit แต่ละหน่วยงานมีหน้าที่และบทบาทต่อฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์แตกต่างกันดังนี้
1. นายทะเบียน ได้แก่ GS1 Thailand ทาหน้าที่ควบคุมกากับการออกรหัส ให้แก่ ผู้ผลิตสินค้า
อบรมเพื่อให้ผู้ผลิต กาหนดรหัสให้เป็นไปตามมาตรฐานของ GS1 ประสานผลักดันกับนานาประเทศในการออก
รหัสผลิตภัณฑ์ ในระดับ Prescription Unit และสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ทาหน้าที่นาย
ทะเบียน ออกเลขทะเบียนยากาหนด รายการข้อมูลยา (Attribute) ให้มีความเป็นมาตรฐานและสากล ขอ
ความร่วมมือผู้ผลิตนาเข้า /ปรับปรุงข้อมูลยาที่มี ทะเบียนยาและออกระเบียบ เพื่อให้ผู้ผลิต / นาเข้าต้องแสดง
ข้อมูลโลจิสติกส์เพิ่มจากข้อมูลตารับยา และข้อมูลทางคลินิก
2. ผู้ให้บริการสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาลและร้านขายยา ร่วมมือกันประยุกต์ใช้รหัสและข้อมูล
ในฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นบนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ผู้เข้ารับบริการทางสาธารณสุข สามารถค้นหาข้อมูลตารับยาและข้อมูลทางคลินิก ซึ่งเป็นแหล่ง
ความรู้และเพื่อรักษาสุขภาพด้วยตนเอง
4. ระบบหลักประกันสุขภาพ เช่น สานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ, กรมบัญชีกลาง, สานักงาน
ประกันสังคม ออกรหัสยา 24 หลัก สามารถแยกรายการยาที่จ่ายแทนการเหมาจ่ายรายหัว
หน้า 24
Eucomed. Unique Device Identification (UDI) Technical Information Sheet. Published April
2011; [ Cited 2012 Jul. 7]. Available from: http://www.eucomed.org/uploads
/_key_themes/Regulatory/110405_technical _sheet_UDI.pdf.
Grimald P. Roche Argentina : Fighting counterfeit medicines using a traceability system based
on GS1 Standards. GS1 Healthcare Reference Book 2011/ 2012. 2012. p.4-9.
GS1 Thailand. ชนิดของบาร์โค้ด มาตรฐานสากล GS1 System [อินเตอร์เน็ต]. 2552 [เข้าถึงเมื่อ 2555
กันยายน 27]. เข้าถึงได้จาก www.gs1thailand.org/index.php?option=com_content&view
=category&layout=blog&id =90&Itemid=60
GS1 US. Healthcare supplier tool kits [Internet]. 2009 [cited 2012 Sep 4]. Available from:
www.gs1us.org
Hitoshi Hoshino. (2013). GS1 Japan: Medical Safety in Japan. [PowerPoint slide]
LogHealth. Factsheet - National Drug Code and Database (NDD). มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.
Lohkamp K. A Provider’s Guide to System Readiness for GS1 Standards Hospital, Supplier,
and Technology Provider Perspectives [PDF File]. 2010 [Cited 2012 Jul. 6]. Available
from: http://swe.lawson.com/www/resource.nsf/
McKinsey&Company. Strength in unity: The promise of global standards in healthcare
October 2012 [Internet]. [cited 2013 Aug 11]. Available from: http://www.gs1.org/
docs/healthcare/McKinsey_Healthcare_Report_Strength_in_Unity.pdf
Melbourne D. Health Corporate Network leverages the GS1 System for eProcurement
success. GS1 Healthcare Reference Book 2011/ 2012. 2012. p.10-14.
Naus M. and Exan R. Enabling vaccine traceability in Canada using GS1 Standard The Public
Health Agency of Canada’s Automated Identification of Vaccine Project. GS1
Healthcare Reference Book 2011/ 2012. 2012. p.21-25.
จิรพรรณ เลี่ยงโรคาพาธ และคณะ. (2554). โครงการพัฒนาฐานข้อมูลยาระดับชาติและระบบสืบค้นทาง
อินเตอร์เน็ต เพื่อการเชื่อมโยงของข้อมูลในโซ่อุปทานสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพและยกระดับ
ความปลอดภัยในการใช้ยาของประชาชน, สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ดวงพรรณ กริชชาญชัย และคณะ. (2550). โครงการวิจัยและพัฒนาการจัดการโลจิสติกส์และ โซ่อุปทาน
ต้นแบบในอุตสาหกรรมบริการ : โรงพยาบาล, สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ดวงพรรณ กริชชาญชัย และคณะ. (2554 – 2556). โครงการรหัสยามาตรฐาน : รูปแบบการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ยาที่มีประสิทธิภาพในโซ่อุปทานสาธารณสุขเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของผู้เข้ารับบริการ
สาธารณสุข, โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ, มหาวิทยาลัยมหิดล – สานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา.
เอกสารอ้างอิง5..
หน้า 25
ดวงพรรณ กริชชาญชัย และคณะ. (2554 – 2556). โครงการออกแบบสถาปัตยกรรมทางธุรกิจและการวัด
สมรรถนะแบบบูรณาการสาหรับธุรกิจโรงพยาบาลในประเทศไทย โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ,
มหาวิทยาลัยมหิดล – สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ดวงพรรณ กริชชาญชัย. Healthcare Logistics and Supply Chain Management. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.
ดวงพรรณ กริชชาญชัย. Research in Thailand Healthcare Logistics and Supply Chain. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2556). รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์เบื้องต้น (Inception Reportโครงการจัดจ้างที่
ปรึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศและระบบบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ สานักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2556

More Related Content

What's hot

Genogram
GenogramGenogram
Genogram
George Sonthi
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Utai Sukviwatsirikul
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
Watcharin Chongkonsatit
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
Utai Sukviwatsirikul
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
Gawewat Dechaapinun
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
Chokchai Taveecharoenpun
 
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.Pongsatorn Sirisakorn
 
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2Thanamon Bannarat
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Utai Sukviwatsirikul
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิต
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
Nitinop Tongwassanasong
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
 
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิต
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
 
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 

Viewers also liked

A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
Utai Sukviwatsirikul
 
Healthcare logistics for service improvement
Healthcare logistics for service improvementHealthcare logistics for service improvement
Healthcare logistics for service improvement
Health Informatics New Zealand
 
Startup Pitfall
Startup PitfallStartup Pitfall
Startup Pitfall
Paiboon Panusbordee
 
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Nopporn Thepsithar
 
ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน นิสิตใหม่จุฬา 58
ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน นิสิตใหม่จุฬา 58ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน นิสิตใหม่จุฬา 58
ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน นิสิตใหม่จุฬา 58
Permyot Vipoosanapat
 
ITL Keppel Presentation 2015
ITL Keppel Presentation 2015ITL Keppel Presentation 2015
ITL Keppel Presentation 2015
Alex Tran Quy Hien
 
IExplorer: Triumph for Supply Chain
IExplorer: Triumph for Supply ChainIExplorer: Triumph for Supply Chain
IExplorer: Triumph for Supply Chain
Marc Hizola
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
Rungnapa Rungnapa
 
Strategic Brand Management
Strategic Brand Management Strategic Brand Management
Strategic Brand Management
Filiberto Amati
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
tumetr1
 
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
Kamolwan Korphaisarn
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Strategic management for health care organization
Strategic management for health care organization Strategic management for health care organization
Strategic management for health care organization
ibrahimzubairu2003
 
Drug Storage & Maintenance
Drug Storage & MaintenanceDrug Storage & Maintenance
Drug Storage & Maintenance
Naveen Kumar Sharma
 
Supply Chain Management in healthcare
Supply Chain Management  in healthcareSupply Chain Management  in healthcare
Supply Chain Management in healthcare
Anurag Gupta
 
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Sabio Bernard
 
Supply Chain Management in the Motor Vehicle Industry, the Example of Mini.
Supply Chain Management in the Motor Vehicle Industry, the Example of Mini.Supply Chain Management in the Motor Vehicle Industry, the Example of Mini.
Supply Chain Management in the Motor Vehicle Industry, the Example of Mini.
aguesdon
 

Viewers also liked (20)

A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
 
Healthcare logistics for service improvement
Healthcare logistics for service improvementHealthcare logistics for service improvement
Healthcare logistics for service improvement
 
LogHealth
LogHealthLogHealth
LogHealth
 
Startup Pitfall
Startup PitfallStartup Pitfall
Startup Pitfall
 
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
 
ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน นิสิตใหม่จุฬา 58
ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน นิสิตใหม่จุฬา 58ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน นิสิตใหม่จุฬา 58
ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน นิสิตใหม่จุฬา 58
 
ITL Keppel Presentation 2015
ITL Keppel Presentation 2015ITL Keppel Presentation 2015
ITL Keppel Presentation 2015
 
IExplorer: Triumph for Supply Chain
IExplorer: Triumph for Supply ChainIExplorer: Triumph for Supply Chain
IExplorer: Triumph for Supply Chain
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
Strategic Brand Management
Strategic Brand Management Strategic Brand Management
Strategic Brand Management
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
 
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
Strategic management for health care organization
Strategic management for health care organization Strategic management for health care organization
Strategic management for health care organization
 
Drug Storage & Maintenance
Drug Storage & MaintenanceDrug Storage & Maintenance
Drug Storage & Maintenance
 
Supply Chain Management in healthcare
Supply Chain Management  in healthcareSupply Chain Management  in healthcare
Supply Chain Management in healthcare
 
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
 
Supply Chain Management in the Motor Vehicle Industry, the Example of Mini.
Supply Chain Management in the Motor Vehicle Industry, the Example of Mini.Supply Chain Management in the Motor Vehicle Industry, the Example of Mini.
Supply Chain Management in the Motor Vehicle Industry, the Example of Mini.
 

Similar to Healthcare logistics 2558

Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Thai Informatics Year In Review 2014
Thai Informatics Year In Review 2014Thai Informatics Year In Review 2014
Thai Informatics Year In Review 2014
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
chutithamnillaphat
 
Stks Opac Presentation
Stks Opac PresentationStks Opac Presentation
Stks Opac Presentation
DMS Library
 
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
nawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
nawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
nawaporn khamseanwong
 
Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี... Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
nawaporn khamseanwong
 
Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluation
Thira Woratanarat
 
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdfแนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
ssusercd124f
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร... Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
nawaporn khamseanwong
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Kamol Khositrangsikun
 
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
BAINIDA
 
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
nawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
nawaporn khamseanwong
 
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to Healthcare logistics 2558 (20)

Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
Thai Informatics Year In Review 2014
Thai Informatics Year In Review 2014Thai Informatics Year In Review 2014
Thai Informatics Year In Review 2014
 
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
 
Stks Opac Presentation
Stks Opac PresentationStks Opac Presentation
Stks Opac Presentation
 
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 
Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี... Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 
Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluation
 
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdfแนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร... Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
 
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
 
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
 
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Healthcare logistics 2558

  • 1. บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) ภาพรวมงานวิจัย Healthcare Logistics ของประเทศไทย ปี 2554-2558 โดย รศ.ดร.ดวงพรรณ กริชชาญชัย มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2. หน้า 1 ภาพรวมโครงการวิจัย Healthcare Logistics ของประเทศไทย ปี 2554-2558 ภาพที่ 1 แสดงภาพรวมของงานวิจัย Healthcare Logistics ประเทศไทยปี 2554-2558 จุดเริ่มต้นงานวิจัย งานวิจัยเริ่มจากการเห็นความสาคัญของการสร้างโซ่อุปทานสุขภาพและการจัดการ โดยใช้ระบบโลจิสติกส์ โดยในระยะแรกเริ่มจากการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้ทั้งสายโซ่อุปทานมีการ เชื่อมโยงการทางานกันได้ด้วยรหัสยามาตรฐาน (Drug Standard Code) โดย “โครงการรหัสยามาตรฐาน : รูปแบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลยาที่มีประสิทธิภาพในโซ่อุปทานสาธารณสุขเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพ ที่ดีของผู้เข้ารับบริการสาธารณสุข” (1.รหัสยามาตรฐาน : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยวิจัย แห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2554-2556) และการเชื่อมโยงกระบวนการโดย “โครงการ การออกแบบสถาปัตยกรรมทางธุรกิจและการวัดสมรรถนะแบบบูรณาการสาหรับธุรกิจโรงพยาบาล ในประเทศไทย” (Business Architecture: BA : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2554) ผนวกกับการสร้างฐานข้อมูลรวบรวมข้อมูลในโซ่อุปทานเชื่อมโยงกับ รหัสยาที่ใช้ในโซ่อุปทาน โดย “โครงการพัฒนาฐานข้อมูลยาระดับชาติและระบบสืบค้นทางอินเตอร์เน็ตเพื่อ การเชื่อมโยงของข้อมูลในโซ่อุปทานสาธารณะสุขอย่างมีประสิทธิภาพและยกระดับความปลอดภัยในการ ใช้ยาของประชาชน” (2. Datapool : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแหง ชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2554) User สานักการสาธารณสุข ระหว่างประเทศ (สรป.) กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) โรงพยาบาลชุมชน
  • 3. หน้า 2 การต่อยอดโครงการ เมื่อได้โครงสร้างพื้นฐานโซ่อุปทานแล้วจึงต้องพัฒนาการแลกเปลี่ยนข้อมูลในโซ่อุปทานโดย “โครงการวิจัยการพัฒนาการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ในโซ่อุปทานสุขภาพ” (3.Electronic Data Interchange: EDI : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2556) โดยโครงการวิจัยการพัฒนาการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ในโซ่อุปทานสุขภาพ นี้ใช้ข้อมูล จากฐานข้อมูลในข้อ (2) และรหัสมาตรฐานในข้อ (1) พร้อมทั้งทาการสร้าง Application บน EDI Portal นี้ คือ ระบบติดตามและสอบกลับยาและเวชภัณฑ์ (Traceability) และระบบการจัดการสินค้าคงคลังโดยผู้ขาย (Vendor Managed Inventory) โดย “โครงการการสอบกลับข้อมูลเพื่อการจัดการระบบโลจิสติกส์และ โซ่อุปทานยาอย่างมีประสิทธิภาพ” (4.Traceability : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการ วิจัยแหง ชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2556) ดังภาพที่ 1 และ 2 ภาพที่ 2 แสดงระบบโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์สุขภาพ (Healthcare Logistics Infrastructure)
  • 4. หน้า 3 การนาไปใช้จริง ทีมวิจัยร่วมกับสถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “กรอก ข้อมูล Database ใน Web application” เพื่อขอความร่วมมือกับ Suppliers ในการนาเข้าข้อมูลยาและ เวชภัณฑ์เข้าระบบ DRUGNET ซึ่งเป็นฐานข้อมูลกลางที่ ทีมวิจัย พัฒนาขึ้น และเริ่มติดบาร์โค้ดบนบรรจุภัณฑ์ ของยาและสินค้าที่ส่งให้โรงพยาบาลด้วยเพื่อให้การดาเนินการกระบวนการทางโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน สุขภาพเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และรวดเร็ว ดังภาพที่ 3 ภาพที่ 3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “กรอกข้อมูล Database ใน Web application” เพื่อขอความร่วมมือ Suppliers นาเข้าข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ใน DRUGNET วันที่ 26 พฤศจิกายน 2556 และ 22 มกราคม 2557 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ 1.การกรอกข้อมูลเข้าระบบจริง
  • 5. หน้า 4 หลังจากที่ Supplier ได้นาเข้าข้อมูลยาและเวชภัณฑ์สู่ระบบฐานข้อมูล DRUGNET แล้ว ทีมวิจัยได้นา ร่องการส่งเอกสารจากโรงพยาบาลไปยัง Supplier ผ่านระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI: Electronic Data Interchange) ได้สาเร็จ พร้อมพัฒนาต้นแบบการติดตามและสอบย้อนกลับยาและเวชภัณฑ์ ตลอดโซ่อุปทานได้ (Traceability) จากนั้นทีมวิจัยร่วมมือกับสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)และ มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกันจัดงานประชุมสัมมนาวิชาการเรื่อง GO LIVE : Healthcare Supply Chain & Logistics การขึ้นระบบจริง : การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลวิจัย เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2557 เวลา 13.00 น. – 16.00 น. ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มีผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนา จานวน 150 คน ประกอบไปด้วย ผู้อานวยการและผู้.แทนจากโรงพยาบาล ผู้แทนจากหน่วยงานสาธารณสุข และผู้แทนจาก Suppliers ดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4 งานประชุมสัมมนาวิชาการเรื่อง GO LIVE : Healthcare Supply Chain & Logistics การขึ้น ระบบจริง : การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ วันที่ 20 สิงหาคม 2557 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติ สิริกิติ์ 2.การขึ้นระบบจริง
  • 6. หน้า 5 นอกจากนี้การทาให้ภาพที่ 2 เกิดขึ้นจริง จึงมีการนาระบบโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์สุขภาพ (Healthcare Logistics Infrastructure) มาประยุกต์ใช้จริงระหว่างคู่ค้าโรงพยาบาลรามาธิบดี และบริษัท เยเนอรัล ฮอสปิตัล โปรดัคส์ จากัด (มหาชน) โดยเริ่มต้นการใช้ระบบจริงครั้งแรก เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2557 ในการรับ-ส่งเอกสาร PO และ ASN จานวน 6 ครั้ง โดยผ่านระบบ HC Links (EDI Portal) อย่างเต็มรูปแบบ ดังภาพที่ 5 ภาพที่ 5 การนาร่องการใช้ระบบ HC Links (EDI Portal) ในการรับ-ส่งเอกสาร PO และ ASN โดยผ่านระบบ HC Links (EDI Portal) อย่างเต็มรูปแบบ ระหว่างคู่ค้าโรงพยาบาลรามาธิบดี และบริษัท เยเนอรัล ฮอสปิตัล โปรดัคส์ จากัด (มหาชน) วันที่ 9 ธันวาคม 2557 ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี 3.การใช้จริงระหว่างคู่ค้า
  • 7. หน้า 6 การขยายผล ทีมวิจัยได้พัฒนาและทดสอบ Application ระบบการติดตามและสอบกลับยาและเวชภัณฑ์ (Traceability) ซึ่งผ่านการทดสอบโดยผู้ใช้ และผ่านการนาเสนอรูปแบบของระบบเบื้องต้นแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง แล้ว ทีมวิจัยจึงได้จัดอบรมหลักสูตร “Healthcare Supply Chain and Logistics การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชนในหน่วยบริการสาธารณสุข” วันที่ 27-28 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มี วัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดความรู้ เผยแพร่ผลงานวิจัย และขยายผลสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โรงพยาบาล รัฐ เอกชน และผู้ผลิตยาและเวชภัณฑ์ จานวน 10 องค์กร ผลจากการถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่ผลงานวิจัย พบว่าผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในหน่วยบริการสาธารณสุข โดยเฉพาะระบบการติดตามและสอบกลับยาและเวชภัณฑ์มากขึ้น ตลอดจนมีความตระหนักถึงปัญหาที่องค์กร ของตนไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่นได้ ดังภาพที่ 6 ภาพที่ 6 การอบรมหลักสูตร “Healthcare Supply Chain and Logistics การจัดการโลจิสติกส์และ ซัพพลายเชนในหน่วยบริการสาธารณสุข” วันที่ 27-28 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติ สิริกิติ์
  • 8. หน้า 7 โครงการวิจัยต่อเนื่อง ภาพที่ 2 นี้จะถูกทาการขยายผลสู่โรงพยาบาลในวงกว้าง โดยเลือกโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิเป็น เป้าหมายแรก โดยงานวิจัยแบ่งเป็นการประยุกต์ใช้ 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การประยุกต์ใช้กับโรงพยาบาล ชุมชนทั่วประเทศ โดย “โครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบโลจิสติกส์โรงพยาบาลชุมชน” (5.รพ.ชุมชน : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2558)1 และระยะที่ 2 การประยุกต์ใช้ต้นแบบเชิงลึก โดย “โครงการการ ประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์เพื่อความปลอดภัยของผู้รับบริการในระบบเครือข่ายโรงพยาบาลปฐมภูมิ” (6.ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2558) ในขณะเดียวกันโครงการข้างต้นทั้งหมดยังคงศึกษาในบริบทใหญ่คือระดับภูมิภาคอาเซียน โดย “โครงการการพัฒนาความสามารถและโอกาสของประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลาง ผู้ให้บริการโลจิสติกส์สุขภาพในภูมิภาคอาเซียนตามแนวโน้มของโลจิสติกส์สุขภาพโลก” (7. ASEAN : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหิดล และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2557) ทาการศึกษาระบบ Healthcare Logistics ในแต่ละประเทศ เพื่อได้สถานะสาหรับประเมินศักยภาพ ของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลาง Healthcare Logistics และได้คาดการณ์การขยายผลสู่การเชื่อมต่อ Healthcare Logistics ในภูมิภาค เพื่อเกิดความไหลลื่นของระบบ Healthcare Logistics ในภูมิภาค โดย “โครงการ ASEAN Healthcare Logistics Supply Chain Logistics Connectivity” (8. ASEAN Connectivity : ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหิดล และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2558)1 โดยภาพรวมงานวิจัยทั้งหมดนี้จะสร้างความเข้มแข็งของระบบ Healthcare Logistics ทั้งระดับมหภาคและจุลภาค 1 หมายเหตุ อยู่ในช่วงกาลังดาเนินการจัดทาสัญญาเพื่ออนุมัติทุน
  • 9. หน้า 8 ประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ การเชื่อมโยงกระบวนการทางานและการประสานข้อมูลเป็นหนึ่งเดียวกัน มีความสาคัญมากต่อ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการของระบบสาธารณสุขประเทศไทย ทีมวิจัยประยุกต์ใช้หลักการโซ่อุปทาน และโลจิสติกส์ในการบริหารจัดการยาในระบบสาธารณสุข เพื่อให้ทุกกระบวนการและทุกส่วนประสานการ ทางานกันอย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งแต่กระบวนการการจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การกระจาย การจัดการวัสดุคง คลัง การจ่ายยา และระบบบริหารจัดการข้อมูล โดยมี Stakeholders ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ผู้จาหน่ายวัตถุดิบ ผู้ผลิต โรงพยาบาล จนถึงผู้ป่วย โดยได้นาเสนอระบบโลจิสติกส์ยาและทาการออกแบบ 1) รหัสบ่งชี้ยา ที่ระบุอัตลักษณ์ได้และใช้ได้ทั่วโลก 2) ฐานข้อมูลยา ที่เก็บข้อมูลมาตรฐานเพื่อทาให้เชื่อมโยงข้อมูลและการประสานการทางานได้ทั้ง โซ่อุปทาน 3) ระบบติดตามและสอบย้อนกลับยา เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาและเรียกคืนยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4) การเชื่อมโยงและสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ 5) กระบวนการทางานของระบบโลจิสติกส์ในโรงพยาบาล โดยทีมวิจัยได้วิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์เพื่อประเมินมูลค่าผลลัพธ์ที่เกิดจากงานวิจัยดังนี้ รหัสบ่งชี้อัตลักษณ์ยา2 สามารถบ่งชี้และมองเห็นยาในระบบได้อย่างชัดเจน จัดการสต็อกยาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการสต็อกยาได้ถึง 979.91 – 1,306.55 ล้านบาทต่อปี ลด ค่าใช้จ่ายที่เสียไปจากยาหมดอายุได้ถึง 3,103.06 – 4,409.61 ล้านบาทต่อปี และเมื่อสามารถบ่งชี้ยาได้อย่าง ถูกต้องแล้ว ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายอันเกิดจากการจ่ายยาผิดพลาด อันเป็นผลต่อความปลอดภัยของผู้ป่วยได้ ถึง 3,437.86 – 8,092.45 ล้านบาทต่อปี อีกทั้งช่วยลดขั้นตอนการจับคู่รายการยาระหว่างโรงพยาบาลกับซัพ พลายเออร์ (Mapping) ส่งผลให้ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างบุคลากรในการจับคู่ข้อมูลดังกล่าว ฐานข้อมูลเพื่อการเชื่อมโยงข้อมูลเป็นหนึ่งเดียวกันในโซ่อุปทาน2 ส่งผลให้หน่วยงานในโซ่อุปทาน เช่น ซัพพลายเออร์และโรงพยาบาลสามารถสื่อสารใช้ข้อมูลชุดเดียวกันได้ วางแผนการจัดการสต็อกยาร่วมกัน ส่งผลให้สต็อกยาทั้งโซ่อุปทานลดลงได้ถึง 653.28 – 979.91 ล้านบาทต่อปี ช่วยลดพื้นที่ในสต็อก และเมื่อ หน่วยงานในโซ่อุปทานใช้ฐานข้อมูลเดียวกันทาให้ลดค่าใช้จ่ายในการสร้างฐานข้อมูลของแต่ละหน่วยงานได้อีก ด้วย ระบบติดตามและสอบย้อนกลับยา2 เพื่อกระบวนการในการเรียกคืนยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผล ให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการเรียกคืนยาได้ถึง 163.32 ล้านบาทต่อปี และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการค้นหายา การเชื่อมโยงและสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์2 เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลมาตรฐาน ทาให้ สื่อสารกันได้ผ่านอิเล็กทรอนิกส์ ลดการทางานซ้าซ้อน ลดเวลาการทางานแบบใช้แรงงาน (Manual) และลด ค่าใช้จ่ายในการจัดการข้อมูลได้ถึง 163.32 – 326.64 ล้านบาทต่อปี 2 จากการคานวณของนักวิจัย คิดจากมูลค่ายาทั้งประเทศ 136,154.51 ล้านบาทต่อปี (IMS Health Thailand, 2544) หากนาผลวิจัยไปสู่ การปฏิบัติอย่างแท้จริง
  • 10. หน้า 9 กระบวนการทางานของระบบโลจิสติกส์ในโรงพยาบาล3 โดยการรีเอ็นจิเนียระบบโลจิสติกส์ใน โรงพยาบาล จัดการกระบวนการต่างๆให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพิ่มความสะดวกแก่ผู้รับบริการ ส่งผลให้เวลา ในการรอพบแพทย์ของผู้ป่วยลดลงประมาณ 59.18% อีกทั้งสามารถลดพื้นที่ในการจัดเก็บยา อัตราการ หมุนเวียนสต็อกเพิ่มขึ้น ลดข้อผิดพลาด (Error) ในการหยิบยาผิดคิดเป็นมูลค่า 6,875.72 – 16,184.90 ล้าน บาทต่อปี และช่วยลดปริมาณยาที่หมดอายุ ผลจากการวิเคราะห์นี้แสดงให้เห็นถึงการจัดการโลจิสติกส์ในระบบสาธารณสุข โดยการจัดการ กระบวนการในโซ่อุปทาน ส่งผลให้เกิดทั้งประสิทธิภาพการบริหารจัดการและยังส่งผลต่อถึงความปลอดภัยของ ผู้รับบริการ และหากนาระบบที่ได้ออกแบบนี้ใช้ในการจัดการโลจิสติกส์ยาในประเทศจะสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ เกิดจากการบริหารจัดการยาของประเทศได้ถึง 9,970.68 – 24,750.98 ล้านบาทต่อปี 3 จากการเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลกรณีศึกษา
  • 12. หน้า 11 1. โซ่อุปทานยาและเวชภัณฑ์ การจัดการโซ่อุปทาน หมายถึงการบริหารแบบเชิงกลยุทธ์ที่คานึงถึงความเกี่ยวเนื่อง หรือ ความสัมพันธ์กันแบบบูรณาการของหน่วยงานหรือแผนกภายในองค์กรและคู่ค้าที่เกี่ยวข้องในโซ่อุปทาน (Supply Chain Council, 2013) โดยโซ่อุปทานยาและเวชภัณฑ์ (Healthcare Supply Chain) เป็นการ เชื่อมโยงการทางานของกระบวนการต่างๆ มีการไหลของวัสดุ (Material Flow) เช่น ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ (ยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ ฯลฯ) ผู้ป่วย และการไหลของสารสนเทศ (Information Flow) เป็นสาคัญ เป็น การจัดการการไหลบนกระบวนการตั้งแต่ต้นน้า (ผู้ผลิต) ถึงปลายน้า (คนไข้) ทาให้ทั้งสองการไหลนี้ไหลผ่านผู้ เล่น (Stakeholder) มากมายในประเทศไทย สรุปผู้เล่นทั้งหมดดังนี้ ภาพที่ 7 แผนที่โซ่อุปทานสุขภาพประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับผู้เล่นต่างๆ (Stakeholder Map) (ที่มา: โครงการจัดจ้างที่ปรึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศและระบบบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2556) จากวัตถุดิบที่ไหลเข้าประเทศมีทั้งจากผู้ผลิตสารตั้งต้น (Active ingredient, Additive ingredient, Package material ) ผู้ผลิตยาสาเร็จรูป (Finished Good) จากต่างประเทศ ไหลเข้ามาในประเทศ โดยผ่าน ศุลกากรเพื่อการตรวจสอบ จากนั้นจึงเข้ามาสู่ผู้ผลิต, ผู้แบ่งบรรจุ และผู้นาเข้า ทั้งนี้จะรวมถึงผู้ผลิตทุกรายทั้ง รัฐและเอกชน เช่น องค์การเภสัชกรรม องค์การเภสัชกรรมทหาร สถานบริการสุขภาพที่ผลิตยาเอง โดยผู้เล่น ในส่วนนี้จะต้องแจ้งต่อ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสาหรับยาทุกชนิด, สรรพสามิตสาหรับสินค้า ควบคุมทุกรายการ และกรมตารวจสาหรับสารเสพติด จากนั้นจึงทาการตลาดตรง หรือผ่านผู้จัดจาหน่ายไปสู่ สถานบริการสุขภาพทั้งสถานบริการสุขภาพ คลินิค และร้านขายยา ร้านค้า ร้านสะดวกซื้อ ก่อนจะไหลสู่ ผู้บริโภคคนสุดท้ายไม่ว่าจะเป็นผู้รับบริการหรือลูกค้า (สถานเสาวภา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) รวมถึงการ ไหลของข้อมูลและการเบิกจ่ายที่มีผู้เล่นที่เกี่ยวข้องคือ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรมบัญชีกลาง ประกันสังคม บริษัทประกัน และกองทุนต่างๆ โซ่อุปทานยาและเวชภัณฑ์1..
  • 13. หน้า 12 เพื่อให้การทางานแต่ละจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับยาตั้งแต่ “ต้นน้า” จนถึง “ปลายน้า” ข้างต้นนั้น สามารถเชื่อมโยงและประสานเป็นหนึ่งเดียวกันได้ ทาให้การบริหารจัดการการทางานระหว่างกันมี ประสิทธิภาพมากที่สุด ปัจจัยหนึ่งที่สาคัญในการทางานเชื่อมโยงกัน นั่นคือ “ข้อมูล” กระบวนการ โลจิสติกส์ไม่ว่าจะเป็นการบริหารจัดการการผลิตเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค การจัดการเก็บ สินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม การจัดการการขนส่งให้ทันเวลากับความต้องการ การจัดการส่งต่อ ข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน การเก็บและใช้ข้อมูลร่วมกันเพื่อการตัดสินใจ จากการศึกษาระบบโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของระบบสาธารณสุขไทย พบว่า ความสามารถเบื้องต้น พื้นฐานที่จาเป็นมากที่สุดในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน คือ ภาษาที่ใช้ในการบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ยาที่ไหลระหว่าง กันต้องเป็น “มาตรฐาน” ที่เข้าใจและเชื่อมโยงในระบบร่วมกันได้ หากแต่เมื่อศึกษาสถานการณ์ในประเทศไทย แล้วพบว่า หน่วยงานบนโซ่อุปทานยานี้ใช้ภาษาเชื่อมโยงข้อมูลยานี้แตกต่างกันไป แต่ละหน่วยงานมีรหัสยา ของหน่วยงานตนเพื่อใช้สาหรับวัตถุประสงค์ของหน่วยงานเท่านั้น ดังเช่นตารางที่ 1 รูปแบบรหัสยาที่ใช้งานในหน่วยงานต่างๆ ในระบบสาธารณสุขไทยตารางที่ 1 หน่วยงาน Description Digit Length Lowest Level สานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ (สปสช.) Drug type, generic name, strength, dosage form, manufacturer code 24 Generic name สานักงานคณะกรรมการอาหารและ ยา (อย.) Tax identifier, manufacturer code, class, group and GTIN code 30 Trade name กรมบัญชีกลาง (มาตรฐาน รหัสสินค้าและบริการภาครัฐ: GPSC) Class, category, and running number 22 Class องค์การเภสัชกรรม (อภ.) GTIN 13 of GS1 standards 13 Trade Name กรมบัญชีกลาง Running number - Trade name กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Source, manufacturer code, active ingredients 11 Generic name กรมศุลกากร Class, subclass, and statistical information 16 Class นอกเหนือจากรหัสยาต่างๆ ที่ถูกกาหนดและใช้งานโดยหลายหน่วยงานแล้ว ระบบบริการสาธารณสุข ของประเทศไทยได้มีการนารูปแบบรหัสยาของต่างประเทศใช้งานอยู่ด้วย รหัสยาดังกล่าวแสดงในตารางที่ 2
  • 14. หน้า 13 รูปแบบรหัสยาต่างประเทศที่ใช้งานในระบบสาธารณสุขไทยตารางที่ 2 รหัสยา รูปแบบโครงสร้างรหัสยา ความละเอียด AHFS Pharmacologic- Therapeutic Classification 2008 7 หลัก แบ่งตามกลุ่มการรักษา และประเภทยา เป็นหลัก เช่น 8:12.06.04 - First Generation Cephalosporins ชื่อสามัญทางยา British National Formulary (BNF) 8 หลัก แบ่งตามหมวดหมู่ของระบบในร่างกาย ประเภทยา และประเภทการรักษา เช่น 02.05.05.01 Angiotensin- converting enzymes inhibitors ชื่อสามัญทางยา The anatomical therapeutic chemical classification system (ATC) 7 หลัก แบ่งตามหมวดหมู่ของระบบในร่างกาย ประเภทยา ประเภทการรักษาและตัวยาสาคัญ เช่น N 05 B A 01 Diazepam ชื่อสามัญทางยา IOWA Code Modified 16 หลัก แบ่งตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เช่น 040000 00008 190 00 Chlorpheniramine maleate ชื่อสามัญทางยาและ เหมาะกับยาเดี่ยวที่มีตัวยา สาคัญเพียงตัวเดียว จากการศึกษารูปแบบรหัสยาทั้งรูปแบบของประเทศไทยและของต่างประเทศที่ใช้งานในระบบ สาธารณสุขไทย พบว่ามีความพยายามสื่อข้อมูลต่างๆ ผ่านรหัสยา ส่งผลให้รหัสมีตัวอักษรและตัวเลขปนกัน มากและซับซ้อนเกินความจาเป็น ท้ายที่สุดความยาวของแต่ละรหัสจะไม่เพียงพอต่อจานวนข้อมูลที่เพิ่มขึ้นใน อนาคต รวมถึงยากต่อการนาไปปรับใช้กับเวชภัณฑ์อื่นที่มีข้อมูลต่างกันออกไป การคัดเลือกรูปแบบรหัสใดรหัส หนึ่งมาปรับใช้ร่วมกัน เป็นวิธีที่เหมาะสมสาหรับการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการสื่อสารบนโซ่อุปทาน สาธารณสุข หากเราพิจารณารหัสยาที่พัฒนาโดยหน่วยงานของรัฐและใช้งานอย่างแพร่หลายที่สุด คือ รหัสยา 24 หลัก ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งมีข้อจากัดดังนี้ 1. การสร้างรหัสยาจะครอบคลุมเฉพาะรายการในบัญชียาหลักแห่งชาติเท่านั้น 2. การใช้งานถูกจากัดอยู่เฉพาะในโรงพยาบาลที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 3. รหัสสามารถอ้างอิงอัตลักษณ์ของยาได้เฉพาะภายในประเทศเท่านั้น 4. รหัสยาขาดความเป็นเอกลักษณ์ เนื่องจากโครงการสร้างของรหัสถูกพัฒนาขึ้นตามชื่อสามัญทางยา (Generic Name) ดังนั้น ชื่อทางการค้า (Trade Name) ที่ต่างกัน ก็จะมีรหัสเดียวกันได้ ถึงแม้ว่ารหัสยาของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และองค์การเภสัชกรรม มีการจาแนกยา ด้วยชื่อทางค้า อีกทั้งยังพบข้อจากัด คือ เลขทะเบียนยา (รหัสยาของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) มี การจาแนกลักษณะที่ไม่ครอบคลุมถึงขนาดบรรจุภัณฑ์ (Pack Size) เช่น ยามี 2 ขนาดบรรจุ คือขวดละ 100 เม็ด และ 1,000 เม็ด มีการใช้เลขทะเบียนยาเดียวกัน ข้อมูลจากรหัสนั้น จึงไม่ได้บอกขนาดบรรจุภัณฑ์ นอกจากนี้ ยาที่ผลิตโดยองค์การเภสัชกรรมและโรงงานเภสัชกรรมทหาร ได้รับสิทธิยกเว้นในการขึ้นทะเบียน ยาตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 ดังนั้น หากจะนาเลขทะเบียนยามาปรับใช้ร่วมกันจะต้องทาการปรับแก้ข้อ
  • 15. หน้า 14 กฎหมาย ให้หน่วยงานดังกล่าวต้องมีการขึ้นทะเบียนยาด้วย แต่อย่างไรก็ตาม เลขทะเบียนยายังขาดลักษณะ ความเป็นสากล เนื่องจากเลขทะเบียนยาถูกตั้งขึ้นสาหรับใช้งานในประเทศเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ การคัดเลือก รูปแบบรหัสใด รหัสหนึ่ง ที่มีการพัฒนาขึ้นและใช้อยู่แล้วบนระบบสาธารณสุขไทย จึงมีข้อจากัด การระบุอัต ลักษณ์ยาสามารถระบุใช้เพียงภายในประเทศไทยเท่านั้น ทั้งที่กลไกเริ่มต้นของยาที่จะเข้าสู่ระบบบริการ สาธารณสุข จะต้องผ่านการตรวจสอบและขึ้นทะเบียนยาจากองค์การอาหารและยา ทีมวิจัยพบว่าสมาชิกบนโซ่อุปทานสาธารณสุขทั้งหมด ได้แก่ ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้า โรงพยาบาล จนถึงหน่วยงานประกันสุขภาพ ควรมีรหัสที่มีคุณสมบัติเพื่อสนับสนุนการจัดการทั้งทางด้านกิจกรรมโลจิสติกส์ และทางด้านการรักษาพยาบาล ดังนี้ 1) รหัสควรมีคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์หรือไม่ซ้ากัน (Unique Identification) เช่นเดียวกับเลขบัตร ประชาชนที่ 1 เลขหมาย หมายถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้น โดยการจาแนกยาควรสามารถจาแนกชื่อ ทางการค้า (Trade Name) และบรรจุภัณฑ์ (Pack Size) 2) รหัสเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติและมีการใช้งานในระดับสากล (Globalization) ยาชนิดเดียวกัน อาจทาการผลิตจากประเทศต่างๆ มากกว่าหนึ่งประเทศ หรือยาที่ทาการผลิตในประเทศอาจถูกส่งไปขายยัง ต่างประเทศ การจาแนกจึงไม่ถูกจากัดภายในประเทศไทยเท่านั้น ดังนั้นรูปแบบรหัสยาควรเป็นที่ยอมรับใน ระดับสากล 3) สามารถอ่านด้วยเครื่องมือ (Machine Readable) เป็นคุณสมบัติที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ทางาน ซึ่งในกิจกรรมทางโลจิสติกส์นั้น กิจกรรมการบันทึกข้อมูลเป็นงานประจาซึ่งต้องใช้ทั้งเวลาและบุคลากร ในการปฏิบัติงานสูง และมีโอกาสเกิดความผิดพลาดได้ง่าย ทั้งนี้ McKinsey (2012) ได้ศึกษาและรายงานประโยชน์ของการประยุกต์ใช้รหัสยามาตรฐานสากล (Global Trade Item Number: GTIN) และเปรียบเทียบคุณสมบัติกับรหัสยาที่พัฒนาโดย The Health Industry Business Communications Council (HIBCC) และรหัสยามาตรฐานแห่งชาติ (National Code) ดังสรุปในตารางที่ 3 การเปรียบเทียบคุณสมบัติรหัสมาตรฐานสากล (GTIN) กับรหัสอื่นๆ (Mckinsey, 2012)ตารางที่ 3 ประเด็น GS1 Standards HIBCC Standards National codes มี Data Carrier เพื่อเชื่อมโยง ข้อมูลปริมาณมากได้ มี (GS1 Data Matrix และ RFID) มี (3 ISO 2D Matrix and RFID) ไม่มี (Linear barcode) ความครอบคลุมของมาตรฐาน ในการระบุอัตลักษณ์ ครอบคลุมการระบุอัตลักษณ์ถึง 10 ประเภท เช่น  ระบุอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ (Global Trade Identification Number: GTIN),  สถานที่ (Global Localtion Number: GLN) ฯลฯ เป็นต้น ระบุอัตลักษณ์ได้เพียง  ผลิตภัณฑ์ (Universal Product Number : UPN)  สถานที่ (Health Industry Number: HIN) ระบุอัตลักษณ์ได้เพียง ผลิตภัณฑ์เท่านั้น
  • 16. หน้า 15 ประเด็น GS1 Standards HIBCC Standards National codes Master Data Synchronization มี The Global Data Synchronization Network: GDSN (เครือข่ายสากล) มี Master Data ชื่อ UPN ไม่มี Master Data มาตรฐานในการติดตามและ สอบย้อนกลับ มีมาตรฐานในการติดตามและ สอบย้อนกลับสากลสาหรับ ระบบสาธารณสุข ไม่มี ไม่มี ความสามารถในการทางาน ร่วมกัน (Interoperability) กับ National ID สามารถทางานร่วมกับ National ID ได้ ไม่สามารถทางานร่วมกับ National ID สาหรับเครื่องมือ แพทย์ได้ รหัสถูกจากัดให้ใช้ได้เฉพาะ ในประเทศ ไม่สามารถใช้ งานกับต่างประเทศได้ มีความเป็นสากล ใช้กับ ต่างประเทศได้ ใช้ได้ทุกประเทศ ใช้ได้เกือบทุกประเทศ ยกเว้น ประเทศญี่ปุ่น รหัสถูกจากัดให้ใช้ได้เฉพาะ ในประเทศ ไม่สามารถใช้ งานกับต่างประเทศได้ ความสามารถในการใช้กับยา และเครื่องมือแพทย์ สามารถใช้ได้ทั้งยาและ เครื่องมือแพทย์ ใช้ได้เฉพาะเครื่องมือแพทย์ (ใช้ได้กับยาเฉพาะประเทศ เนเธอร์แลนด์) ใช้ได้เฉพาะยาเท่านั้น องค์กรสากลที่ทาหน้าที่ สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานของ รหัส มีองค์กรสากลและสานักงาน ใหญ่ จานวน 111 องค์กร ประจาประเทศต่างๆ ทั่วโลก ทาหน้าที่สนับสนุนการใช้รหัส มาตรฐานสากลให้แก่ประเทศ ต่างๆ สหรัฐอเมริกา; และมีเจ้าหน้าที่ สนับสนุนในออสเตรเลียและ ยุโรป ภายในประเทศ ความครอบคลุมกับอุตสาหกรรม อื่น ครอบคลุมกับอุตสาหกรรมค้า ปลีก, Healthcare, การขนส่ง และโลจิสติกส์ และ อุตสาหกรรมอื่นอีก 20 ประเภท เฉพาะอุตสาหกรรม Healthcare เท่านั้น เฉพาะอุตสาหกรรมยา เท่านั้น องค์กรของรัฐที่ยอมรับการใช้ มาตรฐาน องค์กรของรัฐใน 65 ประเทศ องค์กรของรัฐในประเทศตุรกี เท่านั้น องค์กรของรัฐในประเทศ จีน, เยอรมนี, อิตาลี, เบลเยียม และโปรตุเกส จากการศึกษารหัสต่างๆ ที่ถูกพัฒนาขึ้นสาหรับใช้ในระบบการให้บริการสาธารณสุขทั้งภายในประเทศ ไทยและในต่างประเทศ โดยได้ทาการเปรียบเทียบกับคุณสมบัติที่กล่าวมาข้างต้น ทีมวิจัยพบว่า รหัสยาที่ สามารถระบุอัตลักษณ์ครบ มีคุณลักษณะการบ่งชี้ที่ดี คือ GTIN (Global Trade Item Number) ของ หน่วยงาน The Global Language of Business (GS1) (โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ, 2554) อีก ทั้ง GTIN ได้รับความนิยมในการนามาประยุกต์ใช้บนโซ่อุปทานสาธารณสุขอย่างแพร่หลาย (Naus and Exan,
  • 17. หน้า 16 2012; Eucomed, 2011; Grimald, 2012; Melbourne, 2012) จึงเหมาะสมสาหรับการเป็นรหัสยา มาตรฐาน (National Drug Code: NDC) GTIN คือหมายเลขประจาตัวสินค้า และ The Global Language of Business หรือที่รู้จักกันในชื่อ GS1 เป็นผู้ควบคุมการออกรหัสที่มีเครือข่ายทั่วโลก สามารถพิมพ์บาร์โค้ดให้ อยู่ในรูปรหัสแท่งหรือบาร์โค้ด 2 มิติ มีความสามารถในการบรรจุข้อมูลและอ่านได้ด้วยเครื่องอ่านบาร์โค้ด โดย รหัสยามาตรฐานมีโครงสร้าง ดังภาพที่ 8 ภาพที่ 17 รหัสยามาตรฐาน ภาพที่ 8 โครงสร้างรหัสยามาตรฐาน ส่วนที่ 1 – ประเทศผู้ผลิตยาและเวชภัณฑ์ ส่วนที่ 2 – รหัสบริษัทผู้ผลิตที่ขึ้นทะเบียนกับสถาบันรหัสสากล ของประเทศผู้ผลิต ส่วนที่ 3 – รหัสยาและเวชภัณฑ์ที่ผู้ผลิตตั้งขึ้นจานวน 4 หลัก ตัวเลขส่วนนี้จะเรียงลาดับกันตามบรรจุ ภัณฑ์ที่ผลิต ส่วนที่ 4 – ตัวเลข 1 หลักที่เกิดจากการคานวณ เพื่อให้เครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถอ่านได้ซึ่งรหัส GTIN มีหลายรูปแบบ ได้แก่ GTIN 8, GTIN 12, GTIN 13, GTIN 14, GS1 128 รูปแบบ GTIN จึงเป็นรูปแบบที่มีความเหมาะสม สาหรับนามาเป็นรหัสยามาตรฐานสาหรับประเทศ ไทย  GTIN 8: ระบุชนิดสินค้า  GTIN 12: ระบุบริษัทผู้ผลิต และชนิดสินค้า  GTIN 13: ระบุประเทศที่มีการผลิตสินค้า บริษัทผู้ผลิต และชนิดสินค้า  GTIN 14: ประเทศที่มีการผลิตสินค้า บริษัทผู้ผลิต ชนิดสินค้า และระบุระดับชั้นของบรรจุภัณฑ์  GS1 128 : เป็นบาร์โค้ดที่ใช้ทางด้านโลจิสติกส์ สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งตัวเลขและตัวอักษร จึง สามารถบันทึกข้อมูลของสินค้าได้มาก เช่น หน่วยวัดต่างๆ, เลขหมายลาดับการขนส่ง, เลขหมาย batch/lot, วันหมดอายุและสถานที่ตั้ง เป็นต้น การที่รหัสมาตรฐาน GTIN สามารถนาไปใช้ประโยชน์สาหรับการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่ อุปทานได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จาเป็นต้องมีการเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่บรรจุข้อมูลตามที่ผู้ใช้งานในห่วงโซ่ อุปทานสุขภาพต้องการ เพื่อประโยชน์สาหรับการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ที่มีประสิทธิภาพ รวมถึง ลดความผิดพลาดจากการทางานของมนุษย์ (Human Error) เพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการโลจิสติกส์และ โซ่อุปทานสาธารณสุข โดยต้องเริ่มต้นจากการสร้างความเชื่อมโยงข้อมูลและการสื่อสารบนโซ่อุปทานเป็น สาคัญ 123 12345 1234 1 321 4
  • 18. หน้า 17 จากผลการศึกษาวิจัยพบว่า การที่จะสร้างการเชื่อมโยงข้อมูลบนระบบโซ่อุปทานสาธารณสุข จาเป็นต้องพัฒนาส่วนประกอบต่างๆ ได้แก่ 1. รหัสยามาตรฐาน 2. ชุดข้อมูลที่สาคัญต่อผู้ใช้งานตลอดโซ่อุปทานสาธารณสุข 3. วิธีการประยุกต์ใช้รหัสและข้อมูลที่เป็นมาตรฐานบนโซ่อุปทานสาธารณสุข ส่วนประกอบเหล่านี้ ถือเป็นรากฐานสาคัญที่นาไปสู่ความสามารถในการติดตาม (Tracking) ตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ยา และเพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผู้เข้ารับบริการทางการแพทย์ อย่างไรก็ตาม จากสถานการณ์ในประเทศไทยที่มีการใช้รหัสมาตรฐานในแต่ละหน่วยงานแตกต่าง กันไป การที่จะปรับมาใช้รหัสหนึ่งรหัสใดให้ครอบคลุมทุกวัตถุประสงค์นั้นเป็นไปได้ยาก ทีมวิจัยจึงนาเสนอ การ Harmonize code โดยใช้ 3 รหัสร่วมกัน ได้แก่ 1. GTIN (Global Trade Item Number) เพื่อวัตถุประสงค์ด้านโลจิสติกส์ 2. TMT (Thai Medicines Terminology) เพื่อวัตถุประสงค์ด้าน Clinical 3. รหัสยา 24 หลัก เพื่อวัตถุประสงค์ด้านการเบิกจ่าย โดยทั้ง 3 รหัสนี้จะถูกบรรจุเป็น Reference code ในฐานข้อมูลเดียวกัน 2. ฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ Healthcare Supply Chain Excellence Centre นาเสนอแนวทางการสื่อสารข้อมูลยาระหว่าง ผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการโซ่อุปทานสาธารณสุขในรูปแบบของ“ฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์” จากการศึกษา ฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบันมีฐานข้อมูลอยู่หลายฐานข้อมูลด้วยกัน แต่ส่วนใหญ่ใช้เป็นการภายใน เช่น ฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตามมีฐานข้อมูลในรูปแบบสาธารณะอยู่หลักๆ 2 ฐานข้อมูลด้วยกัน ตามตารางที่ 4 ฐานข้อมูลยาในรูปแบบสาธารณะตารางที่ 4 ชื่อฐานข้อมูลและ URL หน่วยงานต้นสังกัด การให้บริการ Ya and You http://www.yaandyou.net/ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ร่วมกับมูลนิธิเพื่อการวิจัยและ พัฒนาระบบยา (วพย.) บริการสืบค้นข้อมูลความรู้ เรื่องยาเพื่อส่งเสริมการใช้ยา และการดูแลสุขภาพ มีข้อมูลยา เช่น ข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้ เป็นต้น สานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา http://www2.fda.moph. go.th/consumer/drug/dcenter.asp สานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา บริการสืบค้นข้อมูลตารับยามี ข้อมูลยา เช่น ส่วนผสมของยา ชื่อ สามัญ ชื่อทางการค้า รูปแบบยา เป็นต้น ฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์2.
  • 19. หน้า 18 จะเห็นได้ว่าข้อมูลต่างๆ ของยาถูกเก็บอยู่อย่างกระจัดกระจายตามองค์กรต่างๆ บนโซ่อุปทานดังนั้น เพื่อเป็นการเพิ่มระดับความปลอดภัยของผู้เข้ารับบริการทางการแพทย์ ทุกคนบนโซ่อุปทานสามารถนาข้อมูล ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงควรรวบรวมข้อมูลไว้ ณ ที่ใดที่หนึ่ง เพื่อให้มีความพร้อมทางด้าน สารสนเทศ ชุดข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานตลอดสายโซ่อุปทานสาธารณสุข (ผลจาก การทบทวนวรรณกรรม และผ่านการระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโซ่อุปทานสุขภาพ ได้แก่ แพทย์, เภสัชกร, ผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ด้านระบบโลจิสติกส์และการกระจายสินค้า) สรุปได้ 38 attributes ดังตารางที่ 5 ชุดข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานตลอดสายโซ่อุปทานสาธารณสุขตารางที่ 5 ID Attributes Description General Information 1 Registration Code เลขทะเบียนยาที่ออกให้โดยสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) 2 Trade (Brand) Name –in Thai and English ชื่อการค้า (Trade Name) 3 Generic Name –in Thai and English ชื่อสามัญทางยา (Generic Name) 4 Dosage Form รูปแบบยา เช่น Ointment 5 Net Content ขนาดบรรจุสุทธิ (ใช้กับยาน้า) 6 Route of Administration ช่องทางการให้ยา 7 Manufacturer ชื่อผู้ผลิต 8 Distributor (Local) ชื่อผู้กระจายสินค้า 9 Graphic/Image of Drugs รูปยา 10 Start Marketing Date วันที่เริ่มการขายสินค้า 11 End Marketing Date วันที่สิ้นสุดการขายสินค้า 12 Thai FDA Class การแบ่งประเภทยาตามสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 13 ATC Class ประเภทยาแบ่งตามระบบ ATC (ตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์) 14 DrugCode24 รหัสยา 24 ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ Clinical Information 15 Active Ingredient ตัวยาสาคัญ 16 Strength/ Strength Unit ความแรงของตัวยา/หน่วยความแรงของตัวยา 17 Indications ข้อบ่งใช้ 18 Contraindications ข้อห้ามใช้ 19 Dosage ขนาดและวิธีใช้ยา 20 Overdose ผลและข้อพึงปฏิบัติเมื่อได้รับยาเกินขนาด
  • 20. หน้า 19 ID Attributes Description 21 Administration วิธีการให้ยา 22 Precautions คาเตือนทั่วไป 23 Special Precautions คาเตือนพิเศษเกี่ยวกับการใช้ยา 24 Adverse Drug Reactions อาการข้างเคียงหรืออาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา 25 Drug Interactions ข้อแนะนาความเป็นปฏิกิริยาต่อกันของยาเมื่อใช้ร่วมกับยาอื่น 26 Storage Condition ข้อแนะนาการเก็บรักษา 27 Pregnancy Category กลุ่มยาแบ่งตามความปลอดภัยในสตรีมีครรภ์ Logistics Information 28 Barcode บาร์โค้ดของแต่ละบรรจุภัณฑ์ 29 Presentation Unit รูปแบบของบรรจุภัณฑ์ เช่น Blister Pack, Box 30 Based Unit (Smallest unit of manufactured) หน่วยนับที่ย่อยที่สุด (หน่วยที่ใช้ขึ้นทะเบียนยา) เช่น Tablet, Capsule 31 Conversion จานวนในหน่วยนับที่ย่อยที่สุดที่บรรจุภายในหนึ่งบรรจุภัณฑ์ 32 Net Content (Packages) ขนาดบรรจุ (ใช้กับยาน้า) ในขนาดบรรจุภัณฑ์ 33 Barcode Marked การระบุว่ามีการติดบาร์โค้ดบนบรรจุภัณฑ์ 34 Barcode Type ประเภทของบาร์โค้ด เช่น GTIN8, GTIN13 เป็นต้น 35 Dimension (Width, Length, Height) ความกว้าง ยาว สูงของบรรจุภัณฑ์ 36 Dimension Unit หน่วยของความกว้าง ยาว สูงของบรรจุภัณฑ์ 37 Weight น้าหนักของผลิตภัณฑ์ 38 Weight Unit หน่วยของน้าหนักผลิตภัณฑ์ ชุดข้อมูลนี้จะถูกเชื่อมโยงเข้ากับรหัสยามาตรฐานที่เป็นรหัสกลางสาหรับการสื่อสารบนระบบ โซ่อุปทานสาธารณสุข โดยจะรวบรวมไว้ภายในฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ เรียกแนวคิดการใช้รหัสยา มาตรฐานและฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์นี้ว่า “National Drug Code and Database หรือ NDD” ดังภาพที่ 9 ภาพที่ 9 National Drug Code and Database (NDD) ที่ให้ข้อมูลทั้งหมด ที่ทุกคนต้องการใช้ในรูปแบบมาตรฐานและสามารถแลกเปลี่ยนกันได้
  • 21. หน้า 20 3. การแบ่งปันข้อมูลไปยังฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ผลิต ผู้นาเข้ายา และโรงพยาบาล ทาหน้าที่เป็นผู้แบ่งบันข้อมูลต่างๆ เข้าสู่ฐานข้อมูลยา อิเล็กทรอนิกส์ และทางโรงพยาบาลต่างๆ จะทาการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากระบบสารสนเทศของ โรงพยาบาลเข้ากับฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ด้วยรหัสยามาตรฐาน เพื่อประโยชน์ต่างๆ เช่น ช่วยเชื่อมต่อ ข้อมูลสาหรับรายงานเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา (Adverse Drug Events: ADEs) และยังสามารถใช้ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ จากฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์สาหรับเป็นข้อมูลสนับสนุนช่วยด้านการ รักษาโรค และการบริหารจัดการงานด้านต่างๆ ในระดับโรงพยาบาลและระดับประเทศ ดังภาพที่ 10 ภาพที่ 10 หลักการทางานของฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อยาใหม่ได้รับอนุญาตให้ขายหรือใช้กับคนไข้ในโรงพยาบาล ผู้ผลิต/ผู้นาเข้ายาและเวชภัณฑ์ต้อง บันทึกข้อมูล รายละเอียด จาเพาะของยานั้นๆ เข้าไปในฐานข้อมูลยาเล็กทรอนิกส์ และต้องปรับปรุงข้อมูลให้มี ความทันสมัยอยู่เสมอ กล่าวคือ เมื่อข้อมูลต่างๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงจะต้องทาการแก้ไขในฐานข้อมูลยา อิเล็กทรอนิกส์ด้วย เมื่อมาตรฐานข้อมูลเกิด และข้อมูลต่างๆ ถูกรวบรวมไว้บนฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ องค์กรต่างๆ จะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลยาที่สาคัญผ่านการเชื่อมต่อเข้ากับฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์ได้ เพื่อประโยชน์ สาหรับการนาไปใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการรักษาและการจัดการการไหลของยาในระบบ โซ่อุปทาน ไม่เพียงแต่ประโยชน์ต่อสมาชิกบนโซ่อุปทานสาธารณสุขเท่านั้น ประชาชนทั่วไปยังสามารถเข้าถึง ข้อมูลยาเหล่านี้ (ในส่วนสาหรับการเผยแพร่สู่สาธารณะ) เป็นความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้ยา ข้อควรระวัง ผลข้างเคียง หรืออื่นๆ ให้กับประชาชน ช่วยยกระดับความรู้เกี่ยวกับยาให้กับประชาชนได้อีกช่องทางหนึ่งที่ สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเพิ่มความปลอดภัยจากการใช้ยาให้กับประชาชนด้วย การแบ่งปันข้อมูลไปยังฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์3.
  • 22. หน้า 21 4. แนวทางประยุกต์ใช้งานบนโซ่อุปทานสาธารณสุข ในการสร้างช่องทางการไหลของสารสนเทศบนระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสาธารณสุข ทุกองค์กรที่ เกี่ยวข้องจาเป็นต้องประยุกต์ใช้รหัสยามาตรฐานที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับชุดข้อมูลที่สาคัญ และเชื่อมโยงเข้า กับระบบสารสนเทศภายในองค์กร โดยรหัสยามาตรฐานนี้จะเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่ไหลบนระบบโซ่ อุปทานสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับโรงพยาบาล หรือหน่วยงานให้บริการสาธารณสุขอื่นๆ เนื่องจาก โรงพยาบาลนั้นเป็นปลายทางการไหลของยาก่อนถึงมือคนไข้ และเป็นต้นทางของการสอบย้อนกลับเมื่อเกิด เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา จากการเก็บข้อมูลพบว่า ในปัจจุบันโรงพยาบาลยังไม่สามารถบ่งชี้อัตลักษณ์ของยาได้อย่างชัดเจน เนื่องจากในบางโรงพยาบาลมีการกาหนดรหัสยาที่ระบุอัตลักษณ์ตามชื่อสามัญทางยา แต่บางโรงพยาบาลสร้าง รหัสยาเพื่อจาแนกอัตลักษณ์ตามชื่อทางการค้า นอกจากนี้ยังพบอีกว่า เมื่อมีการเปลี่ยนซัพพลายเออร์สาหรับ การสั่งซื้อยา การบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับยาดังกล่าวเป็นเพียงการแก้ไขจากข้อมูลเดิมเป็นข้อมูลใหม่ แต่อ้างอิงด้วยรหัสยาตัวเดิม ส่งผลให้การตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังถึงยาที่ผู้ป่วยเคยได้รับ ไม่สามารถตรวจสอบ ไปยังข้อมูลที่แท้จริงได้ จากเหตุผลที่กล่าวมานั้น การประยุกต์ใช้แนวคิด NDD จึงควรเริ่มต้นที่โรงพยาบาล ดังนั้น จึงได้ทา การสารวจรูปแบบการใช้รหัสยาบนกระบวนการภายในโรงพยาบาลผ่านวิธีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured Interview) โดยลักษณะการใช้รหัสแบ่งโรงพยาบาลออกเป็น 3 กลุ่ม ดังภาพที่ 11 ภาพที่ 11 การจาแนกลักษณะการใช้รหัสยาในโรงพยาบาล แนวทางประยุกต์ใช้งานบนโซ่อุปทานสาธารณสุข4.
  • 23. หน้า 22 1) กลุ่มที่ 1 Integrated System มีการใช้รหัสยาครอบคลุมกระบวนการทางธุรกิจตั้งแต่ยาเข้าสู่ โรงพยาบาล จนกระทั่งจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วยมีการใช้รหัสยาที่ตั้งขึ้นภายในโรงพยาบาล (Internal Code) เพื่อ ระบุอัตลักษณ์ยาด้วยชื่อทางการค้า (Brand Name) และรับสินค้าเข้าคลังด้วย Logistics Unit แล้วแปลงเป็น หน่วยย่อยที่สุดหรือหน่วยที่ใช้ในการสั่งจ่ายยา (Prescription Unit) 2) กลุ่มที่ 2 Separated System มีรูปแบบการใช้รหัสยาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกจะใช้รหัสยา ทาหน้าที่ระบุอัตลักษณ์ของชนิดยาตามชื่อทางการค้าเพื่อใช้บริหารจัดการคลังยา พบใน Back System และ ใช้หน่วยนับแบบ Logistics Unit (หน่วยของบรรจุภัณฑ์) ส่วนรหัสยาอีกกลุ่มทาหน้าที่ระบุอัตลักษณ์ของชนิด ยาตามชื่อสามัญ (Generic Name) สาหรับการสั่ง-จ่ายยา และการคิดค่าใช้จ่าย พบใน Front System และ ใช้หน่วยนับย่อยที่สุดหรือหน่วยที่ใช้ในการสั่งจ่ายยา (Prescription Unit) รหัสยาทั้งคู่ถูกกาหนดขึ้นและใช้ ภายในโรงพยาบาล (Internal Code) 3) กลุ่มที่ 3 Without Inventory System มีการใช้รหัสยาเฉพาะการตรวจรักษา การจ่ายยา และ การเงิน พบใน Front System เท่านั้น โดยไม่มีการใช้รหัสยาเพื่อช่วยจัดการยาในคลัง จึงมีการกาหนดรหัสที่ ใช้ในโรงพยาบาล (Internal Code) เพียงกลุ่มเดียว ซึ่งระบุอัตลักษณ์ของชนิดยาตามชื่อสามัญ (Generic Name) จะพบการใช้รหัสยาลักษณะนี้ในโรงพยาบาลที่มีขนาดเล็กมีกระบวนการทางธุรกิจไม่ซับซ้อนนัก ผลการศึกษาลักษณะรหัสยาและการไหลของสารสนเทศในโรงพยาบาล เพื่อพัฒนาการสื่อสารบน แนวคิด NDD จะเกี่ยวพัน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล การไหลของข้อมูล (Transaction) ระบบ สารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น การสร้างมาตรฐานการสื่อสารที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงข้อมูลตั้งแต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า และ ทาให้การไหลของสารสนเทศเกิดความคล่องตัวนั้น สมาชิกบนโซ่อุปทานสาธารณสุขจะมีหน้าที่ผลักดันแนวคิด NDD สู่การใช้งานจริง ดังภาพที่ 12 ภาพที่ 12 การปฏิรูปโซ่อุปทานสุขภาพและบทบาทต่อฐานข้อมูล
  • 24. หน้า 23 การปฏิรูปโซ่อุปทานสาธารณสุขให้เกิดประสิทธิภาพอย่างยั่งยืนเกิดจากความร่วมมือที่ช่วยผลักดัน และส่งเสริมแนวคิดนี้ให้เกิดการใช้งานอย่างแพร่หลาย ทุกหน่วยงานล้วนมีหน้าที่และบทบาทต่อฐานข้อมูลยา อิเล็กทรอนิกส์ในฐานะผู้ผลิต ผู้นาเข้า ผู้จัดจาหน่ายทั้งในและต่างประเทศ จะต้องขึ้นทะเบียนสมาชิกกับ GS1 ในประเทศที่ทาการผลิตยา และสร้างรหัสยามาตรฐานที่มีเลขรหัส 13 หลัก ทั้ง Trade Unit และ Prescription Unit แต่ละหน่วยงานมีหน้าที่และบทบาทต่อฐานข้อมูลยาอิเล็กทรอนิกส์แตกต่างกันดังนี้ 1. นายทะเบียน ได้แก่ GS1 Thailand ทาหน้าที่ควบคุมกากับการออกรหัส ให้แก่ ผู้ผลิตสินค้า อบรมเพื่อให้ผู้ผลิต กาหนดรหัสให้เป็นไปตามมาตรฐานของ GS1 ประสานผลักดันกับนานาประเทศในการออก รหัสผลิตภัณฑ์ ในระดับ Prescription Unit และสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ทาหน้าที่นาย ทะเบียน ออกเลขทะเบียนยากาหนด รายการข้อมูลยา (Attribute) ให้มีความเป็นมาตรฐานและสากล ขอ ความร่วมมือผู้ผลิตนาเข้า /ปรับปรุงข้อมูลยาที่มี ทะเบียนยาและออกระเบียบ เพื่อให้ผู้ผลิต / นาเข้าต้องแสดง ข้อมูลโลจิสติกส์เพิ่มจากข้อมูลตารับยา และข้อมูลทางคลินิก 2. ผู้ให้บริการสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาลและร้านขายยา ร่วมมือกันประยุกต์ใช้รหัสและข้อมูล ในฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นบนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ผู้เข้ารับบริการทางสาธารณสุข สามารถค้นหาข้อมูลตารับยาและข้อมูลทางคลินิก ซึ่งเป็นแหล่ง ความรู้และเพื่อรักษาสุขภาพด้วยตนเอง 4. ระบบหลักประกันสุขภาพ เช่น สานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ, กรมบัญชีกลาง, สานักงาน ประกันสังคม ออกรหัสยา 24 หลัก สามารถแยกรายการยาที่จ่ายแทนการเหมาจ่ายรายหัว
  • 25. หน้า 24 Eucomed. Unique Device Identification (UDI) Technical Information Sheet. Published April 2011; [ Cited 2012 Jul. 7]. Available from: http://www.eucomed.org/uploads /_key_themes/Regulatory/110405_technical _sheet_UDI.pdf. Grimald P. Roche Argentina : Fighting counterfeit medicines using a traceability system based on GS1 Standards. GS1 Healthcare Reference Book 2011/ 2012. 2012. p.4-9. GS1 Thailand. ชนิดของบาร์โค้ด มาตรฐานสากล GS1 System [อินเตอร์เน็ต]. 2552 [เข้าถึงเมื่อ 2555 กันยายน 27]. เข้าถึงได้จาก www.gs1thailand.org/index.php?option=com_content&view =category&layout=blog&id =90&Itemid=60 GS1 US. Healthcare supplier tool kits [Internet]. 2009 [cited 2012 Sep 4]. Available from: www.gs1us.org Hitoshi Hoshino. (2013). GS1 Japan: Medical Safety in Japan. [PowerPoint slide] LogHealth. Factsheet - National Drug Code and Database (NDD). มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555. Lohkamp K. A Provider’s Guide to System Readiness for GS1 Standards Hospital, Supplier, and Technology Provider Perspectives [PDF File]. 2010 [Cited 2012 Jul. 6]. Available from: http://swe.lawson.com/www/resource.nsf/ McKinsey&Company. Strength in unity: The promise of global standards in healthcare October 2012 [Internet]. [cited 2013 Aug 11]. Available from: http://www.gs1.org/ docs/healthcare/McKinsey_Healthcare_Report_Strength_in_Unity.pdf Melbourne D. Health Corporate Network leverages the GS1 System for eProcurement success. GS1 Healthcare Reference Book 2011/ 2012. 2012. p.10-14. Naus M. and Exan R. Enabling vaccine traceability in Canada using GS1 Standard The Public Health Agency of Canada’s Automated Identification of Vaccine Project. GS1 Healthcare Reference Book 2011/ 2012. 2012. p.21-25. จิรพรรณ เลี่ยงโรคาพาธ และคณะ. (2554). โครงการพัฒนาฐานข้อมูลยาระดับชาติและระบบสืบค้นทาง อินเตอร์เน็ต เพื่อการเชื่อมโยงของข้อมูลในโซ่อุปทานสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพและยกระดับ ความปลอดภัยในการใช้ยาของประชาชน, สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). ดวงพรรณ กริชชาญชัย และคณะ. (2550). โครงการวิจัยและพัฒนาการจัดการโลจิสติกส์และ โซ่อุปทาน ต้นแบบในอุตสาหกรรมบริการ : โรงพยาบาล, สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ดวงพรรณ กริชชาญชัย และคณะ. (2554 – 2556). โครงการรหัสยามาตรฐาน : รูปแบบการแลกเปลี่ยนข้อมูล ยาที่มีประสิทธิภาพในโซ่อุปทานสาธารณสุขเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของผู้เข้ารับบริการ สาธารณสุข, โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ, มหาวิทยาลัยมหิดล – สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา. เอกสารอ้างอิง5..
  • 26. หน้า 25 ดวงพรรณ กริชชาญชัย และคณะ. (2554 – 2556). โครงการออกแบบสถาปัตยกรรมทางธุรกิจและการวัด สมรรถนะแบบบูรณาการสาหรับธุรกิจโรงพยาบาลในประเทศไทย โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ, มหาวิทยาลัยมหิดล – สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ดวงพรรณ กริชชาญชัย. Healthcare Logistics and Supply Chain Management. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. ดวงพรรณ กริชชาญชัย. Research in Thailand Healthcare Logistics and Supply Chain. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. มหาวิทยาลัยมหิดล. (2556). รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์เบื้องต้น (Inception Reportโครงการจัดจ้างที่ ปรึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศและระบบบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ สานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2556