SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
บทที่ 6
                                             การจัดการแฟมขอมูล ดวย
                                          โปรแกรมยอย Analyze Data

             ภายหลังจากตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare เสร็จแลว กอน
เขาสูขั้นตอนการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ควรทําความเขาใจ
และเรีย นรูเ กี่ย วกั บโปรแกรมยอ ยดัง กล า วก อน เพื่อ ใหการปฏิบั ติ จ ริง เปน ไปไดอยางคล องตัว
และมีป ระสิทธิ ภ าพ ดั งนั้ น ในบทนี้จึง ไดแ นะนําหนาตางและรายการคําสั่งของโปรแกรมยอย
Analyze Data ทั้งหมด รวมถึงวิธีการใชงานคําสั่งสําคัญในการจัดการแฟมขอมูล ซึ่งประกอบดวย
คําสั่ง Read(Import) คําสั่ง Relate คําสั่ง Write(Export) คําสั่ง Merge และคําสั่ง Delete File/Table

                      6.1 หนาตางและรายการคําสังของโปรแกรมยอย Analyze Data
                                                ่

            เมื่อเขาสูโปรแกรม Analyze Data จะมีหนาตางหลัก 3 สวน ดังรูปที่ 6.1




                                                                                  สวนที่ 3
          สวนที่ 1




                                                                                  สวนที่ 2



                         รูปที่ 6.1 หนาตางหลักของโปรแกรมยอย Analyze Data
            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
92                          บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




           จากรูปหนาแรกของโปรแกรมยอย Analyze Data สามารถอธิบายหนาตางหลักในแตละ
สวน ไดดังนี้
           6.1.1 หนาตางหลักสวนที่ 1
                 เปนสวนของรายการคําสั่งหลักในการทํางาน ประกอบดวยรายละเอียดตางๆดังนี้

                 (1) รายการคําสั่งกลุม Data
      Read (Import) เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเปดแฟมขอมูลใหม ซึ่งสามารถเรียกจากแฟม
                       ที่สรางจากโปรแกรมอื่นได เชน Excel Foxpro Paradox Html เปนตน
      Relate           เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเชื่อมแฟมขอมูล 2 แฟมที่มีโครงสรางขอมูล
                       ตางกัน แตมีตัวแปรที่รวมกันอยู เพื่อนําขอมูลทั้งสองแฟมรวมกัน
      Write (Export) เปนรายการคําสั่งที่ใชในสําเนาแฟมขอมูลทั้งหมด หรือบางสวนไปยัง
                       แฟมขอมูลใหมที่กําหนดไว
      Merge            เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเชื่อมแฟมขอมูล 2 แฟมที่มีโครงสรางขอมูล
                       เหมือนกัน เพื่อนําขอมูลทั้งสองแฟมรวมกัน
      Delete File/Table เปนรายการคําสั่งที่ใชในการลบแฟมขอมูล(Project)/ตารางขอมูล(View)
      Delete Records เปนรายการคําสั่งที่ใชในการลบเรคคอรด
      Undelete Records เปนรายการคําสั่งที่ใชในการยกเลิกการลบเรคคอรด ที่เคยลบโดยใช
                       รายการคําสั่งยอย Delete Records มากอนหนานี้

               (2) รายการคําสั่งกลุม Variables
      Define         เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางตัวแปรใหม
      Undefine       เปนรายการคําสั่งที่ใชในการยกเลิกตัวแปรใหมที่ถูกสรางขึ้นจากการใช
                     รายการคําสั่ง Define มากอนหนานี้
      Assign         เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางตัวแปรขึ้นมาใหม พรอมกับระบุคา
                     หรือขอมูลให หรือสรางขึ้นมาใหมภายใตเงื่อนไขที่ระบุตามมา
      Recode         เป น รายการคํ าสั่ ง ที่ใ ช ใ นการแปลงค า ของข อมู ลให เ ป น คา ใหม ต ามที่
                     กําหนด
      Display        เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการแสดงรายละเอี ย ดคุ ณ สมบั ติ ข องฟ ล ด ที่
                     กําหนด

          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    93




          (3) รายการคําสั่งกลุม Select/If
Select          เปนรายการคําสั่งที่ใชในการระบุเลือกเฉพาะบางคาของตัวแปรโดยการ
                กําหนดเงื่อนไขใหเปนไปตามที่ตองการ
Cancel Select เป น รายการคํา สั่ งที่ ใ ชใ นการยกเลิ ก เงื่ อนไขที่ ร ะบุ ไ ปก อ นหน านี้ ด ว ย
                รายการคําสั่ง Select
If              เปนรายการคําสั่งที่ใชในการกําหนดเงื่อนไขของขอมูลใหทํางานตามที่
                ระบุไวในเงื่อนไข
Sort            เปนรายการคําสั่ งที่ใ ชในการจัด เรี ย งลําดับของคาข อมู ลของตั ว แปรที่
                กําหนด
Cancel Sort     เปนรายการคําสั่งที่ใชในการยกเลิกการจัดเรียงลําดับของคาขอมูลของ
                ตัวแปรที่กําหนดที่ระบุไปกอนหนานี้ดวยรายการคําสั่ง Sort

         (4) รายการคําสั่งกลุม Statistics
List           เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเรียกดูคาขอมูลของตัวแปรตางๆที่มีอยูใน
               แฟมขอมูล
Frequencies เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจงความถี่ของ
               ตัวแปร ซึ่งแสดงไดเพียงหนึ่งตัวแปร
Tables         เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจงความถี่ของ
               ตั ว แปร ซึ่ ง แสดงได ม ากกว า หนึ่ ง ตั ว แปร ทั้ ง มี ก ารวิ เ คราะห ท างสถิ ติ
               เกี่ยวกับคา Odd Ratio(OR), Relative Risk(RR), Chi-square เปนตน ซึ่ง
               เหมาะสมสําหรับกรณีขอมูลแจงนับ(Categorical data)
Match          เปนรายการคําสั่งที่ใชในการวิเคราะหขอมูลกรณีการศึกษาแบบ Match
               case-control study
Means          เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจงความถี่ของ
               ตัวแปร ซึ่งแสดงไดมากกวาหนึ่งตัวแปร เหมาะสมสําหรับกรณีขอมูล
               ตอเนื่อง(Continuous data) และมีการวิเคราะหทางสถิติเกี่ยวกับคา Mean,
               Standard Deviation, Variance, t-test, ANOVA เปนตน




    ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
94                         บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




     Summarize                                เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการสร า งและแสดงตารางที่ มี
                                              ค า สถิ ติพื้ น ฐานของข อมู ลทั้ ง หมดในตั ว แปรที่ร ะบุ หรื อ
                                              แสดงในลักษณะของการแบงกลุม
     Graph                                    เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการสร า งและแสดงกราฟใน
                                              รู ป แบบต า งๆ อาทิ เ ช น แบบแท ง ฮี ส โตแกรม เส น จุ ด
                                              ประมิด เปนตน
     Map                                      เปนรายการคําสั่งที่ใชในการวิเคราะหขอมูลรวมกับการใช
                                              แผนที่ในโปรแกรมยอย Create Maps

                (5) รายการคําสั่งกลุม Advanced Statistics
     Linear Regression               เปนรายการคําสั่งในการวิเคราะห Regression
     Logistics Regression            เปนรายการคําสั่งที่ใชในการวิเคราะห Logistics Regression
     Kaplan-Meier Survival           เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการวิ เ คราะห Kaplan-Meier
                                     Survival
     Cox Proportional Hazards เปนรายการคําสั่งที่ใชในการวิเคราะห Cox Proportional
                                     Hazards
     Complex Sample Frequencies เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจง
                                     ความถี่ของตัวแปร ภายใตขอตกลงเบื้องวา ขอมูลมาจาก
                                     การสุมแบบงาย
     Complex Sample Tables           เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการสร า งและแสดงตารางที่ มี
                                     คาสถิติพื้นฐานของขอมูลทั้งหมดในตัวแปรที่ระบุภายใต
                                     ขอตกลงเบื้องวา ขอมูลมาจากการสุมแบบงาย
     Complex Sample Mean             เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจง
                                     ความถี่ของตัวแปร ซึ่งแสดงไดมากกวาหนึ่งตัวแปร ภายใต
                                     ขอตกลงเบื้องวา ขอมูลมาจากการสุมแบบงาย




         ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    95




          (6) รายการคําสั่งกลุม Output
Header                เปนรายการคําสั่งที่ใชในการระบุขอความประกอบหัวกระดาษของ
                      ผลลัพธทุกหนา
Type                  เปนรายการคําสั่งที่ใชในการระบุขอความใหแสดงบนหนาตางของ
                      ผลลัพธ
RouteOut              เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดให ผ ลลั พ ธ ที่ เ กิ ด จากการ
                      วิ เ คราะห ทั้ ง หมดไปอยู ยั ง แฟ ม ข อ มู ล ที่ ร ะบุ ชื่ อ และตํ า แหน ง ที่
                      ตองการ
CloseOut              เปนรายการคําสั่งที่ใชในการยกเลิกขั้นตอนการใชงานจากรายการ
                      คําสั่ง RouteOut กอนหนานี้
PrintOut              เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการส ง แฟ ม ที่ บ รรจุ ผ ลลั พ ธ อ อกทาง
                      เครื่องพิมพ
Report                เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแกไขรูปแบบรายงาน
Storing Output        เป น รายการคํ าสั่ งที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดและตรวจสอบการจั ด เก็ บ
                      ผลลัพธ

          (7) รายการคําสั่งกลุม User-Defined Command
Define Command        เปนรายการคําสั่งที่ใชในการตั้งชื่อและสรางคําสั่งใหม
User Command           เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเรียกคําสั่งที่สรางใหมดวยรายการ
                      คําสั่ง Define Command กอนหนานี้
Run Saved Program เปนรายการคําสั่งที่ใชในการ run โปรแกรมคําสั่งที่มีการบันทึกไว
                      กอนหนานี้
Execute File          เปนรายการคําสั่งที่ใชในการ run โปรแกรมตางๆจากระบบของ
                      Windows ได หรือ run โปรแกรมคําสั่งที่มีการบันทึกไวกอนหนานี้




    ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
96                             บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




                 (8) รายการคําสั่งกลุม User Interaction
       Dialog                เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางหนาตางโตตอบกับผูใชงานกรณี
                             ที่มีการเขียนโปรแกรมคําสั่ง
       Beep                   เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางเสียง เมื่อมีการเรียกใชฟงกชั่น
                             บางอยาง
       Help                  เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการเรี ย กแฟ ม ข อ มู ล ที่ จั ด เก็ บ ความ
                             ชวยเหลือตางๆ
       Quit Program          เปนรายการคําสั่งที่ใชในการปดแฟมขอมูล ยกเลิกการทํางานของ
                             ชุดคําสั่งและออกจากการทํางานของโปรแกรม Analyze Data

                      (9) รายการคําสั่งกลุม Options
       Set                        เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการติ ด ตั้ ง ค า ต า งๆให กั บ ระบบของ
                                  โปรแกรม

             6.1.2 หนาตางหลักสวนที่ 2
                   เปนสวนของการเขียนชุดคําสั่งในการทํางาน ดังรูปที่ 6.2




                 รูปที่ 6.2 หนาตางการเขียนชุดคําสั่งของโปรแกรมยอย Analyze Data

                    หนาตางนี้เปนหนาตางที่รองรับการเขียนภาษาชุดคําสั่งของโปรแกรม ซึ่งผูใชงาน
ในสวนนี้ อาจตองมีทักษะและประสบการณใชงานโปรแกรม Epi Info มาพอสมควรในเวอรช่ัน
กอนหนานี้ และขณะเดียวกันควรมีพื้นความรูเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาบาง แตอยางไรก็ตาม
เมื่อผูใชงานเลือกคําสั่งโดยผานรายการกลุมคําสั่ง บนหนาตางนี้ ก็จะปรากฏรูปแบบชุดคําสั่งในการ
ทํางานทุกครั้งเชนเดียวกัน ดังนั้นจึงสามารถเรียนรูรูปแบบชุดคําสั่งในการทํางานของโปรแกรมยอย
Analyze Data ได บนหนาตางหลักสวนนี้
             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    97




           6.1.3 หนาตางหลักสวนที่ 3
                 เปนสวนแสดงขอมูลที่เปนผลลัพธจากการใชคําสั่งตางๆ ดังรูปที่ 6.3




                   รูปที่ 6.3 หนาตางแสดงผลลัพธของโปรแกรมยอย Analyze Data

รายละเอียดของปุมตางๆบนหนาตางผลลัพธ




   ดูผลลัพธกอน            ดูผลลัพธหนา                   เปดแฟม                      สงออก
       หนานี้                 สุดทาย                       ผลลัพธ                    เครื่องพิมพ
              ดูผลลัพธหนา                    ดูคําสั่ง                  ระบุชื่อ                      แสดงผล
                  ถัดไป                       ยอนหลัง                   Bookmark                      เต็มหนาจอ


     รูปที่ 6.4 รายการปุมเครื่องมือบนหนาตางแสดงผลลัพธของโปรแกรมยอย Analyze Data


           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
98                           บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




                            6.2 การเปดแฟมขอมูล ดวยคําสัง Read (Import)
                                                           ่

                เปนการเปดแฟมขอมูลที่ถูกสรางจากโปรแกรม Epi Info หรือโปรแกรมอื่น มาใช
งาน ซึ่งจําแนกออกเปนขั้นตอนในการปฏิบัติจริงไดดังนี้

    . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data โดยเลื่อนตัวชี้เมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งหลัก
Programs แลวเลือกคลิกที่รายการคําสั่งยอย Analyze Data หรือคลิกเมาสที่ปุม Analyze Data บน
หนาตางหลักของโปรแกรม Epi Info จากนั้นจะเขาสูการทํางานของโปรแกรมยอย Analyze Data
ดังรูปที่ 6.5



                                                                          หรือ




                         รูปที่ 6.5 การเรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                   99




    . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Read(Import) ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.6




                 รูปที่ 6.6 รายการคําสั่ง Read(Import) ของโปรแกรมยอย Analyze Data

   . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง Read ขึ้นมา หากแฟมขอมูลนําเขา                                    Access2000
ถูกสรางจากโปรแกรมอื่น ใหเลือกประเภทของโปรแกรม โดยคลิก                                         Access97
ที่ บนแถบ Data Formats ดังรูปที่ 6.7                                                            dBASE 5.0
                                                                                                dBASE III
                                                                                                dBASE IV
                                                                                                Epi 2000
                                                                                                Epi 6
                                                                                                Epi 6 Direct Read
                                                                                                Excel 3.0
                                                                                                Excel 4.0
                                                                                                Excel 5.0
                                                                                                Excel 8.0
                                                                                                Foxpro 2.0
                                                                                                Foxpro 2.5
                                                                                                Foxpro 2.6
                                                                                                Foxpro 3.0
                                                                                                HTML
                                                                                                ODBC
                                                                                                Paradox 3.x
                                                                                                Paradox 4.x
                                                                                                Paradox 5.x
                                                                                                Text
รูปที่ 6.7 หนาตาง Read(Import) ของโปรแกรมยอย Analyze Data
                                                                                                Text(Delimite)
                                                                                                Text(Fixed)
            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
100                             บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




   . จากนั้นเลื่อนเมาสมาคลิกที่ปุม                บนแถบรายการ Data Source เพื่อเลือกตําแหนงที่อยูของ
แฟมขอมูล

   . กรณีแฟมขอมูลที่เลือก ถูกสรางจากโปรแกรม Epi Info for Windows จะปรากฏรายชื่อ View
หรือตารางยอยในแฟมขอมูลใหเลือก บนแถบรายการ Views จากนั้นจึงคลิกเมาสบนชื่อ View ที่
ตองการเปดใชงาน (กรณีแฟมขอมูลถูกสรางจากโปรแกรมอื่นจะไมปรากฏรายชื่อ View ในสวนนี้
แตจะปรากฏสวนยอยอื่นของโปรแกรมนั้นๆแทน เชน หากแฟมขอมูลถูกสรางดวยโปรแกรม
Microsoft Excel ในสวนนี้จะปรากฏเปนรายชื่อ Sheet ทั้งหมดที่มีอยูใหเลือก เปนตน)

      . เมื่อเลือกแฟมขอมูล และ View เสร็จสิ้น จึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม

    . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหกําหนดชื่อ temporary link ซึ่งสามารถระบุเปนชื่อใดก็ได
หรืออาจกําหนดใหตามที่ปรากฏก็ได จากนั้นจึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม          ก็จะสามารถ
เรียกแฟมขอมูลดังกลาว มาใชในโปรแกรมยอย Analyze Data ได ดังรูปที่ 6.8




               รูปที่ 6.8 หนาตางกําหนด temporary link ของโปรแกรมยอย Analyze Data

                    6.3 การเชื่อมโยงแฟมขอมูลที่มีโครงสรางตางกัน ดวยคําสั่ง Relate

                  เปนการนําแฟมขอมูลสองแฟม ที่มีโครงสรางของฐานขอมูลตางกัน มาเชื่อมโยง
กัน โดยใชตัวแปรรวมที่มีอยูในทั้งสองแฟม เปนตัวเชื่อม เชน มีแฟมขอมูลชื่อ MAIN และ
แฟมขอมูลชื่อ SICK โดยมีรายชื่อฟลด ดังรูปที่ 6.9

                      แฟมขอมูล : MAIN                                    แฟมขอมูล : SICK
                          ID                                                 ID
                          SEX                                                SICKNESS
                          AGE
              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    101




        รูปที่ 6.9 รายการขอมูลใน 2 แฟมขอมูลที่ตองการนํามาเชื่อมโยงดวยคําสั่ง Relate

                  หากตองการนําแฟมขอมูลสองแฟมมารวมกันเปนแฟมเดียวกัน ก็สามารถทําได
แตเ ป นการรวมกั น ชั่ว คราวเพื่ อการวิเ คราะหเ ทานั้น และจะไม มีผลกระทบใดๆตอ แฟมขอมู ล
ตนฉบับทั้งสอง ซึ่งในการปฏิบัติจริงจําแนกออกเปนขั้นตอนไดดังนี้

   . เขาสูการทํางานของโปรแกรมยอย Analyze Data จากนั้นเลือกรายการคําสั่ง Read ในกลุม
คําสั่ง Data แลวเปดแฟมขอมูลที่ 1 ชื่อ MAIN ดังรูปที่ 6.10




                รูปที่ 6.10 หนาตาง Read(Import) ของโปรแกรมยอย Analyze Data




           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
102                             บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




    . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหกําหนดชื่อ temporary link ซึ่งสามารถระบุเปนชื่อใดก็ได
หรืออาจกําหนดใหตามที่ปรากฏก็ได จากนั้นจึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม          ก็จะสามารถ
เรียกแฟมขอมูลดังกลาว มาใชในโปรแกรมยอย Analyze Data ได ดังรูปที่ 6.11




              รูปที่ 6.11 หนาตางกําหนด temporary link ของโปรแกรมยอย Analyze Data

      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Relate ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.12




                     รูปที่ 6.12 รายการคําสั่ง Relate ของโปรแกรมยอย Analyze Data

     . เมื่อปรากฏหนาตาง RELATE ใหระบุ Data Source เปนชื่อแฟมขอมูลที่ตองการนํามาเชื่อม
คือ SICKNESS และระบุ Key ในการเชื่อมโยงเปน ID::ID แลวคลิกที่ปุม                    ดังรูป
ที่ 6.13




              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    103




                รูปที่ 6.13 การระบุชื่อแฟมขอมูลและ Key บนหนาตางคําสั่ง Relate

   . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหกําหนดชื่อ temporary link ซึ่งสามารถระบุเปนชื่อใดก็ได ใน
กรณีนี้กําหนดใหชื่อเปน temp จากนั้นจึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม      ก็จะสามารถเชื่อมโยง
แฟมขอมูลทั้งสองเขาดวยกันได ดังรูปที่ 6.14




            รูปที่ 6.14 การกําหนด temporary link และผลจากการเชือมโยงแฟมขอมูล
                                                               ่
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
104                           บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




             ดังที่กลาวไปขางตน การเชื่อมโยงแฟมขอมูลดวยคําสั่ง Relate นี้ เปนการเชื่อมโยง
ชั่วคราว เพื่อการวิเคราะหเทานั้น แตเมื่อออกจากโปรแกรม หรือปดแฟมขอมูลทั้งสอง การเชื่อมโยง
ดังกลาวจะถูกยกเลิก ดังนั้นหากผูใชงานตองการเชื่อมโยงแบบถาวร ก็สามารถทําไดโดยใชรายการ
คําสั่ง Write(Export) ซึ่งจะกลาวถึงในหัวขอถัดไป

                              6.4 การโอนยายขอมูล ดวยคําสัง Write (Export)
                                                            ่

            เปนรายการคําสั่งที่ใชในการจัดเก็บขอมูลทุกฟลด หรือบางฟลดของแฟมขอมูลที่กําลัง
ทํา งานอยู ไปยังแฟ ม ข อมู ลใหม หรื อ แฟ มข อมู ลที่มี อยู กอ นหน านี้แ ลว เช น จากการเชื่ อ มโยง
แฟมขอมูลดวยรายการคําสั่ง Relate ที่ผานมา จะเกิดฐานขอมูลชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางแฟมขอมูล
ชื่อ MAIN กับ SICKNESS และหากผูใชงานตองการนําผลของการเชื่อมโยงขอมูลใหคงอยูอยาง
ถาวร ก็สามารถทําไดโดยใชรายการคําสั่ง Write(Export) โดยมีแนวทางในการปฏิบัติจริงจําแนก
เปนขั้นตอนไดดังนี้

    . ภายหลังจากการเชื่อมโยงแฟมขอมูลทั้งสอง ดวยรายการคําสั่ง Relate สามารถเรียกดูขอมูล
ทั้งหมด โดยใชรายการคําสั่ง List ไดเปนดังรูปที่ 6.15




                      รูปที่ 6.15 ผลของการเชื่อมโยงแฟมขอมูล 2 แฟมเขาดวยกัน

   . ตองการใหผลของการเชื่อมโยงเปนไปอยางถาวร ดังนั้นจึงตองทําการบันทึกจัดเก็บเปนอีก
แฟมขอมูลหนึ่ง โดยเรียกใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.16




            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    105




             รูปที่ 6.16 รายการคําสั่ง Write(Export) ของโปรแกรมยอย Analyze Data

   . จากนั้นจะปรากฏหนาตางชื่อ WRITE โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                                              เป น ส ว นที่ ใ ช ใ นการระบุ ตั ว แปรที่ ต อ งการ
                                                         จัดเก็บ โดยการคลิก
                                                                   All (*)             เมื่อตองการตัวแปรทั้งหมด
                                                                   All (*) Except เมื่อตองการตัวแปรบางตัว




                                                               เป น ส ว นที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดรู ป แบบในการ
                                                          จัดเก็บ โดยแบงเปน
                                                               ( ) Append               แบบเพิ่มตอทายขอมูลเดิม
                                                              ( ) Replace               ทับหรือแทนที่ขอมูลเดิม

                                              เป น ส ว นที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดรู ป แบบของ
                                           โปรแกรมที่ ต อ งการจั ด เก็ บ ซึ่ ง สามารถระบุ ไ ด
หลายโปรแกรม เชน Access Epi Info Excel Paradox และ Text เปนตน

                                                                     เปนสวนที่ใชในการกําหนดชื่อแฟมขอมูล
                                                                  ใหมที่ตองการนําขอมูลไปจัดเก็บ


           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
106                          บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




                                                                   เปนสวนที่ใชในการกําหนดชื่อตารางของ
                                                               แฟมขอมูลใหมที่ตองการนําขอมูลไปจัดเก็บ

   . หากตองการจัดเก็บขอมูลในรูปแบบ Epi Info for Windows และกําหนดแฟมขอมูลชื่อ SICK
และ Data Table(View) ชื่อ SICKNESS โดยมีตัวแปรประกอบดวย ID SEX AGE SICKNESS
และกําหนดลงในหนาตาง WRITE เสร็จแลว จึงเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม                   ดัง
รูปที่ 6.17




                 รูปที่ 6.17 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตางคําสั่ง Write(Export)

   . ดังนั้นจะไดแฟมขอมูลใหมในรูปแบบของโปรแกรม Epi Info for Windows ชื่อ SICK โดยมี
Data Table(View) ชื่อ SICKNESS และมีตัวแปรทั้งหมด 4 ตัวแปรไดแก ID SEX AGE
SICKNESS ซึ่งเมื่อเปดแฟมขอมูลใหมดังกลาวดวยคําสั่ง Read และเรียกแสดงขอมูลดวยคําสั่ง List
จะไดขอมูลแสดง ดังรูปที่ 6.18




                    รูปที่ 6.18 ผลลัพธที่ไดจากการใชรายการคําสั่ง Write(Export)
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    107




               6.5 การเชื่อมโยงแฟมขอมูลที่มีโครงสรางเหมือนกัน ดวยคําสั่ง Merge

                  เป น การนํ า แฟ ม ข อ มู ล สองแฟ ม ที่ มี โ ครงสร า งของฐานข อ มู ล เหมื อ นกั น มา
เชื่อมโยงกัน โดยใชตัวแปรรวมที่มีอยูในทั้งสองแฟม เปนตัวเชื่อม เชน มีแฟมขอมูลชื่อ SICK1 และ
แฟมขอมูลชื่อ SICK2 โดยมีรายชื่อฟลด ดังรูปที่ 6.19

                   แฟมขอมูล : SICK1                                   แฟมขอมูล : SICK2
                ( ID SEX AGE SICKNESS )                             ( ID SEX AGE SICKNESS )




        รูปที่ 6.19 รายการขอมูลใน 2 แฟมขอมูลที่ตองการนํามาเชื่อมโยงดวยคําสั่ง Merge

                 หากตองการนําแฟมขอมูลสองแฟมมารวมเปนแฟมเดียวกัน ก็สามารถทําได ซึ่ง
ในการรวมแฟมดวยคําสั่ง Merge นี้จะเปนการรวมแฟมขอมูลแบบถาวร ดังนั้นในการปฏิบัติจริง
จําแนกออกเปนขั้นตอนไดดังนี้

   . เขาสูการทํางานของโปรแกรมยอย Analyze Data จากนั้นเลือกรายการคําสั่ง Read ในกลุม
คําสั่ง Data แลวเปดแฟมขอมูลหลักที่ตองการใหเปนแฟมตนฉบับ กรณีนี้ช่อ SICK1 ดังรูปที่ 6.20
                                                                         ื




                                     รูปที่ 6.20 หนาตางรายการคําสั่ง Read
            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
108                             บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Merge ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.21




                รูปที่ 6.21 รายการคําสั่ง Merge บนหนาตางโปรแกรมยอย Analyze Data

   . เมื่อปรากฏหนาตาง MERGE ใหระบุ Data Source เปนชื่อแฟมขอมูลที่ตองการนํามาเชื่อมคือ
SICK2 และระบุ Key ในการเชื่อมโยงเปน ID::ID แลวคลิกที่ปุม                  ดังรูปที่ 6.22




                         รูปที่ 6.22 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตางคําสั่ง Merge

   . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหกําหนดชื่อ temporary link ซึ่งสามารถระบุเปนชื่อใดก็ได ใน
กรณีนี้กําหนดใหชื่อเปน temp จากนั้นจึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม      ก็จะสามารถเชื่อมโยง
แฟมขอมูลทั้งสองเขาดวยกันได ดังรูปที่ 6.23

              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    109




             รูปที่ 6.23 ผลลัพธจากการเชื่อมโยงแฟมขอมูล ดวยรายการคําสั่ง Merge

                 ดังที่กลาวไปขางตน การเชื่อมโยงแฟมขอมูลดวยคําสั่ง Merge นี้ เปนการ
เชื่อมโยงแฟมขอมูลแบบถาวร ดังนั้นหากผูใชงานตองการเชื่อมโยงหลายแฟมขอมูล ควรกําหนด
แฟมขอมูลที่ตองการใหเปนแฟมตนฉบับเปดขึ้นมากอนเปนแฟมแรก จากนั้นจึงใชรายการคําสั่ง
Merge เรียกแฟมที่เหลือมารวมกัน

                   6.6 การลบแฟมขอมูลและตาราง ดวยคําสัง Delete File / Table
                                                        ่

             เป น การลบแฟ ม ข อ มู ล (Project) ตาราง(Table)และแบบฟอร ม (View) โดยมี
แนวทางในการปฏิบัติจริงเปนดังนี้

   . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data

   . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Read(Import) ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.24




       รูปที่ 6.24 รายการคําสั่ง Delete File/Table บนหนาตางโปรแกรมยอย Analyze Data
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
110                            บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




      . จะปรากฏหนาตาง DELETE ดังรูปที่ 6.25




                             รูปที่ 6.25 หนาตางรายการคําสั่ง Delete File/Table

   . หากตองการลบแฟมขอมูล สามารถทําไดโดยการเลือกตําแหนงและชื่อแฟมขอมูลที่ตองการ
ลบที่ปุม บนแถบรายการ File Name และกรณี Run Silent มีความหมายดังนี้
                          Run Silent  แสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง
                          Run Silent  ไมตองแสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง
จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปม
                              ุ          ก็ถือเปนการเสร็จสิ้นการลบแฟมขอมูล

  . หากตองการลบตาราง(Table) สามารถทําไดโดยการเลื่อนเมาสไปคลิกที่ตัวเลือก Table บน
แถบรายการ Delete ดังรูปที่ 6.26




             รูปที่ 6.26 การกําหนดลบตารางบนหนาตางรายการคําสั่ง Delete File/Table

             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    111




    . หากตองการลบตารางในแฟมปจจุบันใหวางไวในแถบรายการ Database แลวเลือกชื่อตารางที่
ตองการลบที่ปุม บนแถบรายการ Table Name จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม
ก็ถือเปนการเสร็จสิ้นการลบตารางขอมูล

  . หากตองการลบแบบฟอรม(View) สามารถทําไดโดยการเลื่อนเมาสไปคลิกที่ตัวเลือก View
บนแถบรายการ Delete ดังรูปที่ 6.27




        รูปที่ 6.27 การกําหนดลบแบบฟอรมบนหนาตางรายการคําสั่ง Delete File/Table

    . หากตองการลบแบบฟอรมในแฟมปจจุบันใหวางไวในแถบรายการ Database แลวเลือกชื่อ
แบบฟอรมที่ตองการลบที่ปุม บนแถบรายการ View Name และกรณี Save Data Tables มี
ความหมายดังนี้
                        Save Data Tables จะไมบันทึกขอมูลลงในตาราง เมื่อลบแบบฟอรมแลว
                        Save Data Tables จะบันทึกขอมูลลงในตาราง เมื่อลบแบบฟอรมแลว
       จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม            ก็ถือเปนการเสร็จสิ้นการลบแบบฟอรม
นําเขาขอมูล




          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
112                           บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




                                                      6.7 บทสรุป

             การจั ด การแฟ ม ข อ มู ล ถื อ เป น เทคนิ ค หนึ่ ง ในการประมวลผลข อ มู ล เพื่ อ จั ด ระบบ
ฐานขอมูลใหสอดคลองและเอื้อตอการนําขอมูลมาวิเคราะหผล ดวยระบบคอมพิวเตอร ซึ่งใน
โปรแกรม Epi Info for Windows สามารถทําได โดยใชโปรแกรมยอย Analyze Data ประกอบดวย
การเปดแฟมขอมูลดวยคําสั่ง Read(Import) การเชื่อมโยงแฟมขอมูลกรณีโครงสรางตางกันดวย
คําสั่ง Relate การโอนยายขอมูลดวยคําสั่ง Write(Export) การเชื่อมโยงแฟมขอมูลกรณีโครงสราง
เหมือนกันดวยคําสั่ง Merge และการลบแฟมขอมูลและตารางดวยคําสั่ง Delete File/Tables




            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

More Related Content

What's hot

การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSเบญจวรรณ กลสามัญ
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpsskuankaaw
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 

What's hot (20)

การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
9 spss
9 spss9 spss
9 spss
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 

Viewers also liked

Descriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nernDescriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nern16nerns
 
Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012gaztanodi
 
Socialização e formação escolar dubet
Socialização e formação escolar   dubetSocialização e formação escolar   dubet
Socialização e formação escolar dubetbarbara martins
 
Descriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital ConnectionsDescriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital Connections16reneshs
 
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.Abdellatif El Yazizi
 
Cristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação internaCristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação internabarbara martins
 
Introduction to Psychotherapy
Introduction to PsychotherapyIntroduction to Psychotherapy
Introduction to Psychotherapywindstar2002
 
Introduction to Psychology
Introduction to PsychologyIntroduction to Psychology
Introduction to Psychologywindstar2002
 

Viewers also liked (12)

Epi info unit04
Epi info unit04Epi info unit04
Epi info unit04
 
Descriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nernDescriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nern
 
Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012
 
William blake
William blakeWilliam blake
William blake
 
Socialização e formação escolar dubet
Socialização e formação escolar   dubetSocialização e formação escolar   dubet
Socialização e formação escolar dubet
 
Descriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital ConnectionsDescriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital Connections
 
Guía afiche!
Guía afiche!Guía afiche!
Guía afiche!
 
K2005
K2005K2005
K2005
 
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
 
Cristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação internaCristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação interna
 
Introduction to Psychotherapy
Introduction to PsychotherapyIntroduction to Psychotherapy
Introduction to Psychotherapy
 
Introduction to Psychology
Introduction to PsychologyIntroduction to Psychology
Introduction to Psychology
 

Similar to Epi info unit06

การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลการแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลkorn27122540
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Chompooh Cyp
 

Similar to Epi info unit06 (20)

สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลการแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
OpenOffice.org 3.0
OpenOffice.org 3.0OpenOffice.org 3.0
OpenOffice.org 3.0
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
Database analysis & pivot table
Database analysis & pivot tableDatabase analysis & pivot table
Database analysis & pivot table
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4
 

Epi info unit06

  • 1. บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูล ดวย โปรแกรมยอย Analyze Data ภายหลังจากตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare เสร็จแลว กอน เขาสูขั้นตอนการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ควรทําความเขาใจ และเรีย นรูเ กี่ย วกั บโปรแกรมยอ ยดัง กล า วก อน เพื่อ ใหการปฏิบั ติ จ ริง เปน ไปไดอยางคล องตัว และมีป ระสิทธิ ภ าพ ดั งนั้ น ในบทนี้จึง ไดแ นะนําหนาตางและรายการคําสั่งของโปรแกรมยอย Analyze Data ทั้งหมด รวมถึงวิธีการใชงานคําสั่งสําคัญในการจัดการแฟมขอมูล ซึ่งประกอบดวย คําสั่ง Read(Import) คําสั่ง Relate คําสั่ง Write(Export) คําสั่ง Merge และคําสั่ง Delete File/Table 6.1 หนาตางและรายการคําสังของโปรแกรมยอย Analyze Data ่ เมื่อเขาสูโปรแกรม Analyze Data จะมีหนาตางหลัก 3 สวน ดังรูปที่ 6.1 สวนที่ 3 สวนที่ 1 สวนที่ 2 รูปที่ 6.1 หนาตางหลักของโปรแกรมยอย Analyze Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 2. 92 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data จากรูปหนาแรกของโปรแกรมยอย Analyze Data สามารถอธิบายหนาตางหลักในแตละ สวน ไดดังนี้ 6.1.1 หนาตางหลักสวนที่ 1 เปนสวนของรายการคําสั่งหลักในการทํางาน ประกอบดวยรายละเอียดตางๆดังนี้ (1) รายการคําสั่งกลุม Data Read (Import) เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเปดแฟมขอมูลใหม ซึ่งสามารถเรียกจากแฟม ที่สรางจากโปรแกรมอื่นได เชน Excel Foxpro Paradox Html เปนตน Relate เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเชื่อมแฟมขอมูล 2 แฟมที่มีโครงสรางขอมูล ตางกัน แตมีตัวแปรที่รวมกันอยู เพื่อนําขอมูลทั้งสองแฟมรวมกัน Write (Export) เปนรายการคําสั่งที่ใชในสําเนาแฟมขอมูลทั้งหมด หรือบางสวนไปยัง แฟมขอมูลใหมที่กําหนดไว Merge เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเชื่อมแฟมขอมูล 2 แฟมที่มีโครงสรางขอมูล เหมือนกัน เพื่อนําขอมูลทั้งสองแฟมรวมกัน Delete File/Table เปนรายการคําสั่งที่ใชในการลบแฟมขอมูล(Project)/ตารางขอมูล(View) Delete Records เปนรายการคําสั่งที่ใชในการลบเรคคอรด Undelete Records เปนรายการคําสั่งที่ใชในการยกเลิกการลบเรคคอรด ที่เคยลบโดยใช รายการคําสั่งยอย Delete Records มากอนหนานี้ (2) รายการคําสั่งกลุม Variables Define เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางตัวแปรใหม Undefine เปนรายการคําสั่งที่ใชในการยกเลิกตัวแปรใหมที่ถูกสรางขึ้นจากการใช รายการคําสั่ง Define มากอนหนานี้ Assign เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางตัวแปรขึ้นมาใหม พรอมกับระบุคา หรือขอมูลให หรือสรางขึ้นมาใหมภายใตเงื่อนไขที่ระบุตามมา Recode เป น รายการคํ าสั่ ง ที่ใ ช ใ นการแปลงค า ของข อมู ลให เ ป น คา ใหม ต ามที่ กําหนด Display เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการแสดงรายละเอี ย ดคุ ณ สมบั ติ ข องฟ ล ด ที่ กําหนด ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 3. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 93 (3) รายการคําสั่งกลุม Select/If Select เปนรายการคําสั่งที่ใชในการระบุเลือกเฉพาะบางคาของตัวแปรโดยการ กําหนดเงื่อนไขใหเปนไปตามที่ตองการ Cancel Select เป น รายการคํา สั่ งที่ ใ ชใ นการยกเลิ ก เงื่ อนไขที่ ร ะบุ ไ ปก อ นหน านี้ ด ว ย รายการคําสั่ง Select If เปนรายการคําสั่งที่ใชในการกําหนดเงื่อนไขของขอมูลใหทํางานตามที่ ระบุไวในเงื่อนไข Sort เปนรายการคําสั่ งที่ใ ชในการจัด เรี ย งลําดับของคาข อมู ลของตั ว แปรที่ กําหนด Cancel Sort เปนรายการคําสั่งที่ใชในการยกเลิกการจัดเรียงลําดับของคาขอมูลของ ตัวแปรที่กําหนดที่ระบุไปกอนหนานี้ดวยรายการคําสั่ง Sort (4) รายการคําสั่งกลุม Statistics List เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเรียกดูคาขอมูลของตัวแปรตางๆที่มีอยูใน แฟมขอมูล Frequencies เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจงความถี่ของ ตัวแปร ซึ่งแสดงไดเพียงหนึ่งตัวแปร Tables เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจงความถี่ของ ตั ว แปร ซึ่ ง แสดงได ม ากกว า หนึ่ ง ตั ว แปร ทั้ ง มี ก ารวิ เ คราะห ท างสถิ ติ เกี่ยวกับคา Odd Ratio(OR), Relative Risk(RR), Chi-square เปนตน ซึ่ง เหมาะสมสําหรับกรณีขอมูลแจงนับ(Categorical data) Match เปนรายการคําสั่งที่ใชในการวิเคราะหขอมูลกรณีการศึกษาแบบ Match case-control study Means เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจงความถี่ของ ตัวแปร ซึ่งแสดงไดมากกวาหนึ่งตัวแปร เหมาะสมสําหรับกรณีขอมูล ตอเนื่อง(Continuous data) และมีการวิเคราะหทางสถิติเกี่ยวกับคา Mean, Standard Deviation, Variance, t-test, ANOVA เปนตน ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 4. 94 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data Summarize เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการสร า งและแสดงตารางที่ มี ค า สถิ ติพื้ น ฐานของข อมู ลทั้ ง หมดในตั ว แปรที่ร ะบุ หรื อ แสดงในลักษณะของการแบงกลุม Graph เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการสร า งและแสดงกราฟใน รู ป แบบต า งๆ อาทิ เ ช น แบบแท ง ฮี ส โตแกรม เส น จุ ด ประมิด เปนตน Map เปนรายการคําสั่งที่ใชในการวิเคราะหขอมูลรวมกับการใช แผนที่ในโปรแกรมยอย Create Maps (5) รายการคําสั่งกลุม Advanced Statistics Linear Regression เปนรายการคําสั่งในการวิเคราะห Regression Logistics Regression เปนรายการคําสั่งที่ใชในการวิเคราะห Logistics Regression Kaplan-Meier Survival เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการวิ เ คราะห Kaplan-Meier Survival Cox Proportional Hazards เปนรายการคําสั่งที่ใชในการวิเคราะห Cox Proportional Hazards Complex Sample Frequencies เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจง ความถี่ของตัวแปร ภายใตขอตกลงเบื้องวา ขอมูลมาจาก การสุมแบบงาย Complex Sample Tables เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการสร า งและแสดงตารางที่ มี คาสถิติพื้นฐานของขอมูลทั้งหมดในตัวแปรที่ระบุภายใต ขอตกลงเบื้องวา ขอมูลมาจากการสุมแบบงาย Complex Sample Mean เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแสดงตารางแจกแจง ความถี่ของตัวแปร ซึ่งแสดงไดมากกวาหนึ่งตัวแปร ภายใต ขอตกลงเบื้องวา ขอมูลมาจากการสุมแบบงาย ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 5. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 95 (6) รายการคําสั่งกลุม Output Header เปนรายการคําสั่งที่ใชในการระบุขอความประกอบหัวกระดาษของ ผลลัพธทุกหนา Type เปนรายการคําสั่งที่ใชในการระบุขอความใหแสดงบนหนาตางของ ผลลัพธ RouteOut เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดให ผ ลลั พ ธ ที่ เ กิ ด จากการ วิ เ คราะห ทั้ ง หมดไปอยู ยั ง แฟ ม ข อ มู ล ที่ ร ะบุ ชื่ อ และตํ า แหน ง ที่ ตองการ CloseOut เปนรายการคําสั่งที่ใชในการยกเลิกขั้นตอนการใชงานจากรายการ คําสั่ง RouteOut กอนหนานี้ PrintOut เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการส ง แฟ ม ที่ บ รรจุ ผ ลลั พ ธ อ อกทาง เครื่องพิมพ Report เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางและแกไขรูปแบบรายงาน Storing Output เป น รายการคํ าสั่ งที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดและตรวจสอบการจั ด เก็ บ ผลลัพธ (7) รายการคําสั่งกลุม User-Defined Command Define Command เปนรายการคําสั่งที่ใชในการตั้งชื่อและสรางคําสั่งใหม User Command เปนรายการคําสั่งที่ใชในการเรียกคําสั่งที่สรางใหมดวยรายการ คําสั่ง Define Command กอนหนานี้ Run Saved Program เปนรายการคําสั่งที่ใชในการ run โปรแกรมคําสั่งที่มีการบันทึกไว กอนหนานี้ Execute File เปนรายการคําสั่งที่ใชในการ run โปรแกรมตางๆจากระบบของ Windows ได หรือ run โปรแกรมคําสั่งที่มีการบันทึกไวกอนหนานี้ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 6. 96 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data (8) รายการคําสั่งกลุม User Interaction Dialog เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางหนาตางโตตอบกับผูใชงานกรณี ที่มีการเขียนโปรแกรมคําสั่ง Beep เปนรายการคําสั่งที่ใชในการสรางเสียง เมื่อมีการเรียกใชฟงกชั่น บางอยาง Help เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการเรี ย กแฟ ม ข อ มู ล ที่ จั ด เก็ บ ความ ชวยเหลือตางๆ Quit Program เปนรายการคําสั่งที่ใชในการปดแฟมขอมูล ยกเลิกการทํางานของ ชุดคําสั่งและออกจากการทํางานของโปรแกรม Analyze Data (9) รายการคําสั่งกลุม Options Set เป น รายการคํ า สั่ ง ที่ ใ ช ใ นการติ ด ตั้ ง ค า ต า งๆให กั บ ระบบของ โปรแกรม 6.1.2 หนาตางหลักสวนที่ 2 เปนสวนของการเขียนชุดคําสั่งในการทํางาน ดังรูปที่ 6.2 รูปที่ 6.2 หนาตางการเขียนชุดคําสั่งของโปรแกรมยอย Analyze Data หนาตางนี้เปนหนาตางที่รองรับการเขียนภาษาชุดคําสั่งของโปรแกรม ซึ่งผูใชงาน ในสวนนี้ อาจตองมีทักษะและประสบการณใชงานโปรแกรม Epi Info มาพอสมควรในเวอรช่ัน กอนหนานี้ และขณะเดียวกันควรมีพื้นความรูเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาบาง แตอยางไรก็ตาม เมื่อผูใชงานเลือกคําสั่งโดยผานรายการกลุมคําสั่ง บนหนาตางนี้ ก็จะปรากฏรูปแบบชุดคําสั่งในการ ทํางานทุกครั้งเชนเดียวกัน ดังนั้นจึงสามารถเรียนรูรูปแบบชุดคําสั่งในการทํางานของโปรแกรมยอย Analyze Data ได บนหนาตางหลักสวนนี้ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 7. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 97 6.1.3 หนาตางหลักสวนที่ 3 เปนสวนแสดงขอมูลที่เปนผลลัพธจากการใชคําสั่งตางๆ ดังรูปที่ 6.3 รูปที่ 6.3 หนาตางแสดงผลลัพธของโปรแกรมยอย Analyze Data รายละเอียดของปุมตางๆบนหนาตางผลลัพธ ดูผลลัพธกอน ดูผลลัพธหนา เปดแฟม สงออก หนานี้ สุดทาย ผลลัพธ เครื่องพิมพ ดูผลลัพธหนา ดูคําสั่ง ระบุชื่อ แสดงผล ถัดไป ยอนหลัง Bookmark เต็มหนาจอ รูปที่ 6.4 รายการปุมเครื่องมือบนหนาตางแสดงผลลัพธของโปรแกรมยอย Analyze Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 8. 98 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data 6.2 การเปดแฟมขอมูล ดวยคําสัง Read (Import) ่ เปนการเปดแฟมขอมูลที่ถูกสรางจากโปรแกรม Epi Info หรือโปรแกรมอื่น มาใช งาน ซึ่งจําแนกออกเปนขั้นตอนในการปฏิบัติจริงไดดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data โดยเลื่อนตัวชี้เมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งหลัก Programs แลวเลือกคลิกที่รายการคําสั่งยอย Analyze Data หรือคลิกเมาสที่ปุม Analyze Data บน หนาตางหลักของโปรแกรม Epi Info จากนั้นจะเขาสูการทํางานของโปรแกรมยอย Analyze Data ดังรูปที่ 6.5 หรือ รูปที่ 6.5 การเรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 9. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 99 . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Read(Import) ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.6 รูปที่ 6.6 รายการคําสั่ง Read(Import) ของโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง Read ขึ้นมา หากแฟมขอมูลนําเขา Access2000 ถูกสรางจากโปรแกรมอื่น ใหเลือกประเภทของโปรแกรม โดยคลิก Access97 ที่ บนแถบ Data Formats ดังรูปที่ 6.7 dBASE 5.0 dBASE III dBASE IV Epi 2000 Epi 6 Epi 6 Direct Read Excel 3.0 Excel 4.0 Excel 5.0 Excel 8.0 Foxpro 2.0 Foxpro 2.5 Foxpro 2.6 Foxpro 3.0 HTML ODBC Paradox 3.x Paradox 4.x Paradox 5.x Text รูปที่ 6.7 หนาตาง Read(Import) ของโปรแกรมยอย Analyze Data Text(Delimite) Text(Fixed) ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 10. 100 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นเลื่อนเมาสมาคลิกที่ปุม บนแถบรายการ Data Source เพื่อเลือกตําแหนงที่อยูของ แฟมขอมูล . กรณีแฟมขอมูลที่เลือก ถูกสรางจากโปรแกรม Epi Info for Windows จะปรากฏรายชื่อ View หรือตารางยอยในแฟมขอมูลใหเลือก บนแถบรายการ Views จากนั้นจึงคลิกเมาสบนชื่อ View ที่ ตองการเปดใชงาน (กรณีแฟมขอมูลถูกสรางจากโปรแกรมอื่นจะไมปรากฏรายชื่อ View ในสวนนี้ แตจะปรากฏสวนยอยอื่นของโปรแกรมนั้นๆแทน เชน หากแฟมขอมูลถูกสรางดวยโปรแกรม Microsoft Excel ในสวนนี้จะปรากฏเปนรายชื่อ Sheet ทั้งหมดที่มีอยูใหเลือก เปนตน) . เมื่อเลือกแฟมขอมูล และ View เสร็จสิ้น จึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหกําหนดชื่อ temporary link ซึ่งสามารถระบุเปนชื่อใดก็ได หรืออาจกําหนดใหตามที่ปรากฏก็ได จากนั้นจึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม ก็จะสามารถ เรียกแฟมขอมูลดังกลาว มาใชในโปรแกรมยอย Analyze Data ได ดังรูปที่ 6.8 รูปที่ 6.8 หนาตางกําหนด temporary link ของโปรแกรมยอย Analyze Data 6.3 การเชื่อมโยงแฟมขอมูลที่มีโครงสรางตางกัน ดวยคําสั่ง Relate เปนการนําแฟมขอมูลสองแฟม ที่มีโครงสรางของฐานขอมูลตางกัน มาเชื่อมโยง กัน โดยใชตัวแปรรวมที่มีอยูในทั้งสองแฟม เปนตัวเชื่อม เชน มีแฟมขอมูลชื่อ MAIN และ แฟมขอมูลชื่อ SICK โดยมีรายชื่อฟลด ดังรูปที่ 6.9 แฟมขอมูล : MAIN แฟมขอมูล : SICK ID ID SEX SICKNESS AGE ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 11. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 101 รูปที่ 6.9 รายการขอมูลใน 2 แฟมขอมูลที่ตองการนํามาเชื่อมโยงดวยคําสั่ง Relate หากตองการนําแฟมขอมูลสองแฟมมารวมกันเปนแฟมเดียวกัน ก็สามารถทําได แตเ ป นการรวมกั น ชั่ว คราวเพื่ อการวิเ คราะหเ ทานั้น และจะไม มีผลกระทบใดๆตอ แฟมขอมู ล ตนฉบับทั้งสอง ซึ่งในการปฏิบัติจริงจําแนกออกเปนขั้นตอนไดดังนี้ . เขาสูการทํางานของโปรแกรมยอย Analyze Data จากนั้นเลือกรายการคําสั่ง Read ในกลุม คําสั่ง Data แลวเปดแฟมขอมูลที่ 1 ชื่อ MAIN ดังรูปที่ 6.10 รูปที่ 6.10 หนาตาง Read(Import) ของโปรแกรมยอย Analyze Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 12. 102 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหกําหนดชื่อ temporary link ซึ่งสามารถระบุเปนชื่อใดก็ได หรืออาจกําหนดใหตามที่ปรากฏก็ได จากนั้นจึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม ก็จะสามารถ เรียกแฟมขอมูลดังกลาว มาใชในโปรแกรมยอย Analyze Data ได ดังรูปที่ 6.11 รูปที่ 6.11 หนาตางกําหนด temporary link ของโปรแกรมยอย Analyze Data . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Relate ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.12 รูปที่ 6.12 รายการคําสั่ง Relate ของโปรแกรมยอย Analyze Data . เมื่อปรากฏหนาตาง RELATE ใหระบุ Data Source เปนชื่อแฟมขอมูลที่ตองการนํามาเชื่อม คือ SICKNESS และระบุ Key ในการเชื่อมโยงเปน ID::ID แลวคลิกที่ปุม ดังรูป ที่ 6.13 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 13. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 103 รูปที่ 6.13 การระบุชื่อแฟมขอมูลและ Key บนหนาตางคําสั่ง Relate . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหกําหนดชื่อ temporary link ซึ่งสามารถระบุเปนชื่อใดก็ได ใน กรณีนี้กําหนดใหชื่อเปน temp จากนั้นจึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม ก็จะสามารถเชื่อมโยง แฟมขอมูลทั้งสองเขาดวยกันได ดังรูปที่ 6.14 รูปที่ 6.14 การกําหนด temporary link และผลจากการเชือมโยงแฟมขอมูล ่ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 14. 104 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ดังที่กลาวไปขางตน การเชื่อมโยงแฟมขอมูลดวยคําสั่ง Relate นี้ เปนการเชื่อมโยง ชั่วคราว เพื่อการวิเคราะหเทานั้น แตเมื่อออกจากโปรแกรม หรือปดแฟมขอมูลทั้งสอง การเชื่อมโยง ดังกลาวจะถูกยกเลิก ดังนั้นหากผูใชงานตองการเชื่อมโยงแบบถาวร ก็สามารถทําไดโดยใชรายการ คําสั่ง Write(Export) ซึ่งจะกลาวถึงในหัวขอถัดไป 6.4 การโอนยายขอมูล ดวยคําสัง Write (Export) ่ เปนรายการคําสั่งที่ใชในการจัดเก็บขอมูลทุกฟลด หรือบางฟลดของแฟมขอมูลที่กําลัง ทํา งานอยู ไปยังแฟ ม ข อมู ลใหม หรื อ แฟ มข อมู ลที่มี อยู กอ นหน านี้แ ลว เช น จากการเชื่ อ มโยง แฟมขอมูลดวยรายการคําสั่ง Relate ที่ผานมา จะเกิดฐานขอมูลชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางแฟมขอมูล ชื่อ MAIN กับ SICKNESS และหากผูใชงานตองการนําผลของการเชื่อมโยงขอมูลใหคงอยูอยาง ถาวร ก็สามารถทําไดโดยใชรายการคําสั่ง Write(Export) โดยมีแนวทางในการปฏิบัติจริงจําแนก เปนขั้นตอนไดดังนี้ . ภายหลังจากการเชื่อมโยงแฟมขอมูลทั้งสอง ดวยรายการคําสั่ง Relate สามารถเรียกดูขอมูล ทั้งหมด โดยใชรายการคําสั่ง List ไดเปนดังรูปที่ 6.15 รูปที่ 6.15 ผลของการเชื่อมโยงแฟมขอมูล 2 แฟมเขาดวยกัน . ตองการใหผลของการเชื่อมโยงเปนไปอยางถาวร ดังนั้นจึงตองทําการบันทึกจัดเก็บเปนอีก แฟมขอมูลหนึ่ง โดยเรียกใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.16 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 15. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 105 รูปที่ 6.16 รายการคําสั่ง Write(Export) ของโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นจะปรากฏหนาตางชื่อ WRITE โดยมีรายละเอียดดังนี้ เป น ส ว นที่ ใ ช ใ นการระบุ ตั ว แปรที่ ต อ งการ จัดเก็บ โดยการคลิก All (*) เมื่อตองการตัวแปรทั้งหมด All (*) Except เมื่อตองการตัวแปรบางตัว เป น ส ว นที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดรู ป แบบในการ จัดเก็บ โดยแบงเปน ( ) Append แบบเพิ่มตอทายขอมูลเดิม ( ) Replace ทับหรือแทนที่ขอมูลเดิม เป น ส ว นที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดรู ป แบบของ โปรแกรมที่ ต อ งการจั ด เก็ บ ซึ่ ง สามารถระบุ ไ ด หลายโปรแกรม เชน Access Epi Info Excel Paradox และ Text เปนตน เปนสวนที่ใชในการกําหนดชื่อแฟมขอมูล ใหมที่ตองการนําขอมูลไปจัดเก็บ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 16. 106 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data เปนสวนที่ใชในการกําหนดชื่อตารางของ แฟมขอมูลใหมที่ตองการนําขอมูลไปจัดเก็บ . หากตองการจัดเก็บขอมูลในรูปแบบ Epi Info for Windows และกําหนดแฟมขอมูลชื่อ SICK และ Data Table(View) ชื่อ SICKNESS โดยมีตัวแปรประกอบดวย ID SEX AGE SICKNESS และกําหนดลงในหนาตาง WRITE เสร็จแลว จึงเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม ดัง รูปที่ 6.17 รูปที่ 6.17 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตางคําสั่ง Write(Export) . ดังนั้นจะไดแฟมขอมูลใหมในรูปแบบของโปรแกรม Epi Info for Windows ชื่อ SICK โดยมี Data Table(View) ชื่อ SICKNESS และมีตัวแปรทั้งหมด 4 ตัวแปรไดแก ID SEX AGE SICKNESS ซึ่งเมื่อเปดแฟมขอมูลใหมดังกลาวดวยคําสั่ง Read และเรียกแสดงขอมูลดวยคําสั่ง List จะไดขอมูลแสดง ดังรูปที่ 6.18 รูปที่ 6.18 ผลลัพธที่ไดจากการใชรายการคําสั่ง Write(Export) ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 17. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 107 6.5 การเชื่อมโยงแฟมขอมูลที่มีโครงสรางเหมือนกัน ดวยคําสั่ง Merge เป น การนํ า แฟ ม ข อ มู ล สองแฟ ม ที่ มี โ ครงสร า งของฐานข อ มู ล เหมื อ นกั น มา เชื่อมโยงกัน โดยใชตัวแปรรวมที่มีอยูในทั้งสองแฟม เปนตัวเชื่อม เชน มีแฟมขอมูลชื่อ SICK1 และ แฟมขอมูลชื่อ SICK2 โดยมีรายชื่อฟลด ดังรูปที่ 6.19 แฟมขอมูล : SICK1 แฟมขอมูล : SICK2 ( ID SEX AGE SICKNESS ) ( ID SEX AGE SICKNESS ) รูปที่ 6.19 รายการขอมูลใน 2 แฟมขอมูลที่ตองการนํามาเชื่อมโยงดวยคําสั่ง Merge หากตองการนําแฟมขอมูลสองแฟมมารวมเปนแฟมเดียวกัน ก็สามารถทําได ซึ่ง ในการรวมแฟมดวยคําสั่ง Merge นี้จะเปนการรวมแฟมขอมูลแบบถาวร ดังนั้นในการปฏิบัติจริง จําแนกออกเปนขั้นตอนไดดังนี้ . เขาสูการทํางานของโปรแกรมยอย Analyze Data จากนั้นเลือกรายการคําสั่ง Read ในกลุม คําสั่ง Data แลวเปดแฟมขอมูลหลักที่ตองการใหเปนแฟมตนฉบับ กรณีนี้ช่อ SICK1 ดังรูปที่ 6.20 ื รูปที่ 6.20 หนาตางรายการคําสั่ง Read ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 18. 108 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Merge ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.21 รูปที่ 6.21 รายการคําสั่ง Merge บนหนาตางโปรแกรมยอย Analyze Data . เมื่อปรากฏหนาตาง MERGE ใหระบุ Data Source เปนชื่อแฟมขอมูลที่ตองการนํามาเชื่อมคือ SICK2 และระบุ Key ในการเชื่อมโยงเปน ID::ID แลวคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 6.22 รูปที่ 6.22 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตางคําสั่ง Merge . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหกําหนดชื่อ temporary link ซึ่งสามารถระบุเปนชื่อใดก็ได ใน กรณีนี้กําหนดใหชื่อเปน temp จากนั้นจึงเลื่อนมาคลิกเมาสที่ ปุม ก็จะสามารถเชื่อมโยง แฟมขอมูลทั้งสองเขาดวยกันได ดังรูปที่ 6.23 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 19. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 109 รูปที่ 6.23 ผลลัพธจากการเชื่อมโยงแฟมขอมูล ดวยรายการคําสั่ง Merge ดังที่กลาวไปขางตน การเชื่อมโยงแฟมขอมูลดวยคําสั่ง Merge นี้ เปนการ เชื่อมโยงแฟมขอมูลแบบถาวร ดังนั้นหากผูใชงานตองการเชื่อมโยงหลายแฟมขอมูล ควรกําหนด แฟมขอมูลที่ตองการใหเปนแฟมตนฉบับเปดขึ้นมากอนเปนแฟมแรก จากนั้นจึงใชรายการคําสั่ง Merge เรียกแฟมที่เหลือมารวมกัน 6.6 การลบแฟมขอมูลและตาราง ดวยคําสัง Delete File / Table ่ เป น การลบแฟ ม ข อ มู ล (Project) ตาราง(Table)และแบบฟอร ม (View) โดยมี แนวทางในการปฏิบัติจริงเปนดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Read(Import) ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 6.24 รูปที่ 6.24 รายการคําสั่ง Delete File/Table บนหนาตางโปรแกรมยอย Analyze Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 20. 110 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . จะปรากฏหนาตาง DELETE ดังรูปที่ 6.25 รูปที่ 6.25 หนาตางรายการคําสั่ง Delete File/Table . หากตองการลบแฟมขอมูล สามารถทําไดโดยการเลือกตําแหนงและชื่อแฟมขอมูลที่ตองการ ลบที่ปุม บนแถบรายการ File Name และกรณี Run Silent มีความหมายดังนี้ Run Silent แสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง Run Silent ไมตองแสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปม ุ ก็ถือเปนการเสร็จสิ้นการลบแฟมขอมูล . หากตองการลบตาราง(Table) สามารถทําไดโดยการเลื่อนเมาสไปคลิกที่ตัวเลือก Table บน แถบรายการ Delete ดังรูปที่ 6.26 รูปที่ 6.26 การกําหนดลบตารางบนหนาตางรายการคําสั่ง Delete File/Table ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 21. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 111 . หากตองการลบตารางในแฟมปจจุบันใหวางไวในแถบรายการ Database แลวเลือกชื่อตารางที่ ตองการลบที่ปุม บนแถบรายการ Table Name จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม ก็ถือเปนการเสร็จสิ้นการลบตารางขอมูล . หากตองการลบแบบฟอรม(View) สามารถทําไดโดยการเลื่อนเมาสไปคลิกที่ตัวเลือก View บนแถบรายการ Delete ดังรูปที่ 6.27 รูปที่ 6.27 การกําหนดลบแบบฟอรมบนหนาตางรายการคําสั่ง Delete File/Table . หากตองการลบแบบฟอรมในแฟมปจจุบันใหวางไวในแถบรายการ Database แลวเลือกชื่อ แบบฟอรมที่ตองการลบที่ปุม บนแถบรายการ View Name และกรณี Save Data Tables มี ความหมายดังนี้ Save Data Tables จะไมบันทึกขอมูลลงในตาราง เมื่อลบแบบฟอรมแลว Save Data Tables จะบันทึกขอมูลลงในตาราง เมื่อลบแบบฟอรมแลว จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม ก็ถือเปนการเสร็จสิ้นการลบแบบฟอรม นําเขาขอมูล ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 22. 112 บทที่ 6 การจัดการแฟมขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data 6.7 บทสรุป การจั ด การแฟ ม ข อ มู ล ถื อ เป น เทคนิ ค หนึ่ ง ในการประมวลผลข อ มู ล เพื่ อ จั ด ระบบ ฐานขอมูลใหสอดคลองและเอื้อตอการนําขอมูลมาวิเคราะหผล ดวยระบบคอมพิวเตอร ซึ่งใน โปรแกรม Epi Info for Windows สามารถทําได โดยใชโปรแกรมยอย Analyze Data ประกอบดวย การเปดแฟมขอมูลดวยคําสั่ง Read(Import) การเชื่อมโยงแฟมขอมูลกรณีโครงสรางตางกันดวย คําสั่ง Relate การโอนยายขอมูลดวยคําสั่ง Write(Export) การเชื่อมโยงแฟมขอมูลกรณีโครงสราง เหมือนกันดวยคําสั่ง Merge และการลบแฟมขอมูลและตารางดวยคําสั่ง Delete File/Tables ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน