SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1 
เรื่อง คาสั่งพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมภาษาซี 
คาสั่งพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้นมีอยู่มากมาย ซึ่งสามารถสรุปออกมาเป็นคาสั่งพื้นฐานได้สองคาสั่งคือ คาสั่งในการแสดงผลข้อมูล และคาสั่งในการรับค่าข้อมูล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 
1. คาสั่งแสดงผลข้อมูล หรือ printf() เป็นคาสั่งพื้นฐานในการแสดงผลข้อมูลทุกชนิดออกทางหน้าจอไม่ว่าจะเป็น จานวนเต็ม( int ) ทศนิยม ( float ) ข้อความ ( string ) หรืออักขระ นอกจากนี้คาสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยเราสามารถ กาหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความต้องการได้อีกด้วย 
รูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง printf() แสดงได้ดังนี้ 
ตัวอย่างรหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ รหัสควบคุมรูปแบบ การนาไปใช้งาน %d แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนเต็ม %u แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนเต็มบวก %f แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนทศนิยม %c แสดงผลอักขระ 1 ตัว %s แสดงผลข้อความ หรืออักขระมากกว่า 1 ตัว 
รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 
ผู้สอน นางสาวมณฑกานต์ ภักดีศรี 
ข้อมูลที่ต้องการแสดงออกทางหน้าจอโดยข้อมูล นี้ต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย “ ” 
ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ต้องการนาค่าไปแสดงผล 
ตัวอย่าง printf(“Enter your number : ”);
2 
อักขระควบคุมการแสดงผล อักขระควบคุมการแสดงผล ความหมาย 
n 
ขึ้นบรรทัดใหม่ 
t 
เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร) 
r 
กาหนดให้เคอร์เซอร์อยู่ที่ต้นบรรทัด 
f 
เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ 
b 
ลบอักขระสุดท้ายออก 1 ตัว 
ตัวอย่างคาสั่ง printf() 
#include <stdio.h> 
int main() 
{ 
printf("Hello!n"); 
printf("How are you today?n"); 
return 0; 
} 
Hello 
How are you today? 
ผลลัพธ์หน้าจอ
3 
2. คาสั่งรับค่าข้อมูล หรือ scanf() คือฟังก์ชันการรับข้อมูลของภาษา C ที่ใช้ในการรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด ซึ่งเป็น คาสั่งที่รับค่ามาจากแป้นพิมพ์โดยตรง เพื่อจะนาไปใช้ประมวลต่อไป การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทาได้โดยการเรียกใช้ ฟังก์ชัน scanf() ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสาหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นจานวน เต็ม ทศนิยม อักขระหรือข้อความ 
รูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง scanf() แสดงได้ดังนี้ 
ตัวอย่างการใช้งานคาสั่ง printf และ scanf 
รหัสรูปแบบข้อมูล (format code) โดยจะต้อง เขียนอยู่ภายใต้เครื่องหมาย “……..” 
ชื่อตัวแปรที่ใช้เก็บข้อมูลโดยจะต้อง ใช้เครื่องหมาย & นาหน้าชื่อตัวแปร 
ตัวอย่าง scanf(“%d”,&high);

More Related Content

What's hot

บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูลteedee111
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีmycomc55
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นApinyaphorn
 
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตารางMeaw Sukee
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมBaramee Chomphoo
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 

What's hot (19)

บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
4 1
4 14 1
4 1
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
 
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
การพิมพ์และการรับข้อมูล
การพิมพ์และการรับข้อมูล การพิมพ์และการรับข้อมูล
การพิมพ์และการรับข้อมูล
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
งานน
งานนงานน
งานน
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
content 3
content 3content 3
content 3
 
content 2
content 2content 2
content 2
 
Web2 0
Web2 0Web2 0
Web2 0
 
Google Docs
Google DocsGoogle Docs
Google Docs
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Expression Language 3.0
Expression Language 3.0Expression Language 3.0
Expression Language 3.0
 

Similar to lesson 4

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณีBeam Suna
 
ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 Orapan Chamnan
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดคำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดเทวัญ ภูพานทอง
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 

Similar to lesson 4 (20)

12
1212
12
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
การแสดงผลออกทางหน้าจอ
การแสดงผลออกทางหน้าจอการแสดงผลออกทางหน้าจอ
การแสดงผลออกทางหน้าจอ
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
 
ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4
 
C lu
C luC lu
C lu
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
Unit7
Unit7Unit7
Unit7
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดคำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 

lesson 4

  • 1. 1 เรื่อง คาสั่งพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมภาษาซี คาสั่งพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้นมีอยู่มากมาย ซึ่งสามารถสรุปออกมาเป็นคาสั่งพื้นฐานได้สองคาสั่งคือ คาสั่งในการแสดงผลข้อมูล และคาสั่งในการรับค่าข้อมูล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. คาสั่งแสดงผลข้อมูล หรือ printf() เป็นคาสั่งพื้นฐานในการแสดงผลข้อมูลทุกชนิดออกทางหน้าจอไม่ว่าจะเป็น จานวนเต็ม( int ) ทศนิยม ( float ) ข้อความ ( string ) หรืออักขระ นอกจากนี้คาสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยเราสามารถ กาหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความต้องการได้อีกด้วย รูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง printf() แสดงได้ดังนี้ ตัวอย่างรหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ รหัสควบคุมรูปแบบ การนาไปใช้งาน %d แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนเต็ม %u แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนเต็มบวก %f แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนทศนิยม %c แสดงผลอักขระ 1 ตัว %s แสดงผลข้อความ หรืออักขระมากกว่า 1 ตัว รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้สอน นางสาวมณฑกานต์ ภักดีศรี ข้อมูลที่ต้องการแสดงออกทางหน้าจอโดยข้อมูล นี้ต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย “ ” ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ต้องการนาค่าไปแสดงผล ตัวอย่าง printf(“Enter your number : ”);
  • 2. 2 อักขระควบคุมการแสดงผล อักขระควบคุมการแสดงผล ความหมาย n ขึ้นบรรทัดใหม่ t เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร) r กาหนดให้เคอร์เซอร์อยู่ที่ต้นบรรทัด f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ b ลบอักขระสุดท้ายออก 1 ตัว ตัวอย่างคาสั่ง printf() #include <stdio.h> int main() { printf("Hello!n"); printf("How are you today?n"); return 0; } Hello How are you today? ผลลัพธ์หน้าจอ
  • 3. 3 2. คาสั่งรับค่าข้อมูล หรือ scanf() คือฟังก์ชันการรับข้อมูลของภาษา C ที่ใช้ในการรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด ซึ่งเป็น คาสั่งที่รับค่ามาจากแป้นพิมพ์โดยตรง เพื่อจะนาไปใช้ประมวลต่อไป การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทาได้โดยการเรียกใช้ ฟังก์ชัน scanf() ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสาหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นจานวน เต็ม ทศนิยม อักขระหรือข้อความ รูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง scanf() แสดงได้ดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานคาสั่ง printf และ scanf รหัสรูปแบบข้อมูล (format code) โดยจะต้อง เขียนอยู่ภายใต้เครื่องหมาย “……..” ชื่อตัวแปรที่ใช้เก็บข้อมูลโดยจะต้อง ใช้เครื่องหมาย & นาหน้าชื่อตัวแปร ตัวอย่าง scanf(“%d”,&high);