SlideShare a Scribd company logo
1 of 97
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วยโปรแกรม  SPSS + ผศ . ศิรวัฒน์ เฮงชัยโย  e-mail :  [email_address]   mobile:  081-9781609
การเรียกใช้โปรแกรม  SPSS + ให้คลิกเลือกตามขั้นตอนต่อไปนี้ Start  Programs  SPSS for Windows  SPSS 11.5 For Windows คลิกที่ปุ่ม  Cancel จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้
การกำหนดรูปแบบตัวอักษร  ( Fonts) View>fonts.. > เลือก  font  เลือก  font style  และ  size>  แล้ว  OK
การใช้มุมมองของ  SPSS ,[object Object],[object Object],Data View Variable View
หน้าจอมุมมอง  Variable view  เมื่อมีการสร้างตัวแปรสำหรับใช้งาน
หน้าจอมุมมอง  Data view  เมื่อมีการป้อนข้อมูลในแต่ละตัวแปร
การกำหนดตัวแปร คลิกเลือกมุมมอง  Variable View   ที่คอลัมน์  Name  กำหนดชื่อตัวแปรต่าง ๆ เช่น  Sex, Edu  หรืออื่น ๆ Type   กำหนดรูปแบบของข้อมูลที่ใช้ เช่น  Numeric, String  หรืออื่นๆ   และก็กำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ จนเสร็จ   เมื่อเสร็จแล้วให้คลิกมาที่มุมมอง  Data View  จะพบตัวแปรที่กำหนดในคอลัมน์ต่าง ๆ  ตัวแปรที่กำหนด
การป้อนข้อมูล และการใช้  View Lable คลิกเลือกมุมมอง  Data View   ป้อนข้อมูลในคอลัมน์ต่าง ๆ ของตัวแปรที่ได้กำหนดไว้ ข้อมูลที่ป้อนลงในคอลัมน์ของตัวแปรต่าง ๆ  หากไม่ทราบว่ามีการป้อนข้อมูลอย่างไร ในเงื่อนไขที่กำหนดไว้ ให้คลิกที่ เมนู   View  Value Labels จากนั้น ให้คลิกเลือกยังเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูลได้เลย จะมีให้เลือกข้อมูลตามเงื่อนไขที่เรากำหนด เช่น  เพศ ก็จะมี ชายหรือหญิง ให้เราเลือกได้ เป็นต้น
การบันทึกแฟ้มข้อมูล คลิก  File  Save  หรือ  Save As   จะปรากฏไดอะล็อกบล็อกซ์ขึ้นมา  จากนั้นให้เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการจัดเก็บ จากนั้นให้ใส่ชื่อไฟล์ที่ต้องการจัดเก็บ ตรง  File name  แล้วคลิกปุ่ม  Save ชื่อไฟล์ คลิก  Save เมื่อคลิก  Save  แล้วจะปรากฏชื่อไฟล์นั้น บนส่วนหัว  Title Bar ชื่อไฟล์ที่จัดเก็บ
การเปิดแฟ้มข้อมูล คลิก  File  Open  Data   จะปรากฏไดอะล็อกบล็อกซ์ขึ้นมา  จากนั้นให้เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการเปิดใช้งาน แล้วเลือกชื่อไฟล์ที่ต้องการเปิด ตรง  File name  แล้วคลิกปุ่ม  Open เลือกโฟลเดอร์ที่จัดเก็บ คลิก  Open คลิกเลือกโฟลเดอร์ที่จัดเก็บ แล้วเลือกไฟล์ที่ต้องการ จากนั้น คลิกปุ่ม  Open
การแก้ไขและลบข้อมูล เมื่อพิมพ์ข้อมูลไปแล้ว หากต้องการแก้ไขหรือลบข้อมูล ให้เลื่อนเมาส์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการแก้ไขหรือลบ  จากนั้น  พิมพ์เพิ่ม  หรือลบโดยกดปุ่ม  Delete ,[object Object],[object Object],[object Object]
การคัดลอก  ( Copy) ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปแล้ว ต้องการนำมาใช้ เพื่อความรวดเร็วในการป้อนข้อมูล ก็สามารถคัดลอก  ( Copy)  มาได้  โดยมีขั้นตอนดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การย้าย  ( Move) ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปแล้ว มีการพิมพ์ผิดตำแหน่ง หากต้องการมีการย้ายตำแหน่งของข้อมูล เพื่อใช้งาน ก็สามารถย้าย  ( Move)  ได้  โดยมีขั้นตอนดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเรียงลำดับข้อมูล  ( Sort) Data>Sort Cases.. -->  เลือกตัวแปรที่จะเรียงลำดับ
การเรียงลำดับข้อมูล  ( Sort) 25  26  27  32  36  37  37  42  42  42  56 Age 32  36  37  42  25  26  27  56  37  42  42 ตัวอย่าง  การเรียงลำดับอายุ จากน้อยไปหามาก
การคำนวณ  ( Compute) Transform>Compute.. 32  36  37  42  25  26  27  56  37  42  42 64.00  72.00  74.00  84.00  50.00  52.00  54.00  112.00  74.00  84.00  84.00 Age   Tage เก็บข้อมูลที่ได้จากการคำนวณ ไว้ที่ตัวแปร  Tage
อายุ   รหัส น้อยกว่าหรือเท่ากับ  25  ปี 1 26-30  ปี 2 31-40  ปี 3 อายุตั้งแต่  41  ปี  4 การแปลงข้อมูลอายุ  เป็นรหัสใหม่ตามที่กำหนด  โดยใช้คำสั่ง  Recode Transform>Recode>Into Difference Variable 25   1  26   2  27   2  32   3  36   3  37   3  37   3  42   4  42   4  42   4  56   4 อายุเก่า  รหัสใหม่
ตัวอย่าง  แสดงขั้นตอนการใช้คำสั่ง  recode  โดยแปลงจากอายุ  ( age)  ไปเก็บในตัวแปร  code ให้คลิกปุ่ม  Old and New Value..
หลังจาก คลิกปุ่ม  Old and New Value..   จะปรากฏหน้าจอดังนี้ ให้ใส่ค่าข้อมูลเก่า  ( old value)  ตามเงื่อนไขการแปลงรหัส  จากนั้นกำหนดค่าใหม่  ( new value)  เมื่อกำหนดเสร็จแล้ว คลิก  Add
เมื่อคลิก  Add  แล้ว จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้ เมื่อกำหนดข้อมูลตามเงื่อนไขครบถ้วนแล้ว ให้คลิก  Continue  เพื่อออกจากการกำหนดค่า จากนั้นให้กดปุ่ม  OK
ผลลัพธ์จากการ  recode  จะเป็นดังนี้
การหาค่าความถี่ของข้อมูล   (Frequencies) Analyze>Descriptive Statistics>Frequencies
ตัวอย่าง  การหาค่าความถี่  ตามตัวแปรที่กำหนด
 
ตัวอย่าง  ผลลัพธ์ของการหาค่าความถี่ กรณี มีค่า  Missing
ตัวอย่าง  การหาค่าความถี่ กรณีมีหลายตัวแปร
ไม่มีการกำหนดค่าให้กับ  value
การหาค่าความถี่ข้อมูลแบบหลายทาง หรือใช้ตารางไขว้  ( Crosstabs) Analyze>Descriptive Statistics>Crosstabs.. ,[object Object],[object Object]
การหาค่าความถี่ข้อมูลแบบหลายทาง หรือใช้ตารางไขว้  ( Crosstabs) ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้คำสั่ง  Crosstabs..  กรณีมีค่า  Missing
ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้คำสั่ง  Crosstabs..  กรณีไม่มีค่า  Missing
การใส่ร้อยละ ( %)  ให้กับ  Crosstabs.. หลังจากใช้คำสั่ง  Analyze>Descriptive Statistics>Crosstabs..   แล้วให้คลิกที่   Cell  จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้ ให้เลือกใส่  %  ( Percentages)  ให้คลิกเลือก  Row  จากนั้นให้คลิกปุ่ม  Continue
การหาค่าความถี่ข้อมูลแบบหลายทาง หรือใช้ตารางไขว้  ( Crosstabs) ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้คำสั่ง  Crosstabs.. และมีการกำหนด  %  ตามแถว  ( row)
การหาค่าความถี่ข้อมูลแบบหลายทาง หรือใช้ตารางไขว้  ( Crosstabs) ให้เลือกใส่  %  ( Percentages)  ให้คลิกเลือก  Row  และ  Column   จากนั้นให้คลิกปุ่ม  Continue
การหาค่าความถี่ข้อมูลแบบหลายทาง หรือใช้ตารางไขว้  ( Crosstabs) ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้คำสั่ง  Crosstabs.. และมีการกำหนด  %  ตาม   row   และ  Column
การหาค่าความถี่ข้อมูลแบบหลายทาง หรือใช้ตารางไขว้  ( Crosstabs) ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้คำสั่ง  Crosstabs.. และมีการกำหนด  %  ตาม   Column
คำถาม   เหตุผลที่ท่านสมัครเข้าอบรมวิจัย  ( ตอบได้ >1 ข้อ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คำถามให้มีการเลือกตอบได้มากกว่า  1  ข้อ ตัวแปรแต่ละตัวจะมีการกำหนดค่า  2  คือ  (0 ,1)  ถ้า  เลือก ให้กำหนดเป็น  1   ไม่เลือก 0 ตัวแปร reason1 reason2 reason3 reason4
สามารถใช้วิธีการหาค่าความถี่แต่ละตัวแปร Analyze>Descriptive Statistics>Frequencies
ผลลัพธ์ที่ได้
 
การดูผลลัพธ์ให้ดูที่ ค่าความถี่ของการ  เลือก  (1)   จะไม่ดูที่  ไม่เลือก (0) โดยดูว่า ถ้าตัวแปรไหนมีค่า ความถี่สูงสุด  ก็จะเป็นเหตุผลใน การเลือกอบรมมากที่สุด นั่นเอง
การใช้คำสั่งหาความถี่ดังกล่าว จะ มีปัญหายุ่งยากในการดูผลลัพธ์ที่ได้   เนื่องจากต้องดูผลลัพธ์จากตัวแปรในแต่ละตาราง จากนั้น จึงนำค่าที่ได้มาเขียนใหม่ เรียงลำดับจาก การค่าที่เป็น เลือก จึงใช้คำสั่ง  Multiple Response..  แทน
การใช้คำสั่ง  Multiple Response.. ,[object Object],ต้องกำหนด  Set  ขึ้นมาก่อน โดยใช้คำสั่ง  Define Set.. Analyze>Multiple Response>Define Sets.. หลังจากเลือกตัวแปรที่ใช้กำหนด  set  แล้ว จากนั้นตั้งชื่อ  reason  จึงคลิกที่ปุ่ม  Add
การใช้คำสั่ง  Multiple Response.. หาค่าความถี่ จากตัวแปรที่ได้กำหนด  Set  แล้ว คือ ตัวแปร  Reason Analyze>Multiple Response>Frequencies.. หลังจากเลือกตัวแปร   set  แล้ว จึงคลิกที่ปุ่ม  OK
Group $REASON  เหตุผลการฝึกอบรม (Value tabulated = 1) Pct of  Pct of Dichotomy label  Name  Count  Responses  Cases อยากมีความรู้   REASON1  7  25.9  63.6 นำความรู้ไปใช้ในการทำวิจัย   REASON2  7  25.9  63.6 นำความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ร่วมงาน   REASON3  6  22.2  54.5 ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย   REASON4  7  25.9  63.6 -------  -----  ----- Total responses  27  100.0  245.5 0 missing cases;  11 valid cases ผลลัพธ์ที่ได้
การหาค่าเฉลี่ย  ( Mean)  หรือตัวกลางเลขคณิต  ( Arithmetic Mean) ค่าเฉลี่ย หรือตัวกลางเลขคณิต คือ ค่าที่ได้จากการเอาผลรวมของข้อมูลทั้งหมดหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด X  =  X N
การหาค่าเฉลี่ย  ( Mean) โจทย์   ท่านสามารถนำความรู้ในหัวข้อต่อไปนี้ไปใช้ประโยชน์ได้มากน้อยเพียงใด จะใช้ในการหาค่าของข้อมูล เช่น อายุ  เงินเดือน  หรือรายได้ เป็นต้น  หรือการหาค่าของระดับความคิดเห็น หรือทัศนคติ เป็นต้น  เช่น 5.  การเขียนรายงานการวิจัย (order5) 4.  การวิเคราะห์ข้อมูล (order4) 3.  การสร้างเครื่องมือ (order3) 2.  การออกแบบการวิจัย (order2) 1.  การเขียนโครงร่างการวิจัย (order1) น้อยที่สุด (1) น้อย (2) ปานกลาง (3) มาก  (4) มากที่สุด (5) ข้อความ
การหาค่าเฉลี่ย  ( Mean) Analyze>Descriptive Statistics>Descriptives..
การหาค่าเฉลี่ย  ( Mean)
การหาค่าเฉลี่ย ของอายุ
การหาค่าสถิติเบื้องต้นแบบจำแนกตามกลุ่มตัวอย่าง ตัวอย่าง   คำนวณหาค่าสถิติของอายุ   ( Age)   จำแนก ตามเพศ (sex) Analyze>compare means> mean..
ตัวอย่าง การหาค่าเฉลี่ยของอายุ จำแนกตามเพศ
ตัวอย่าง การหาค่าเฉลี่ยของอายุ จำแนกตามการศึกษา
การทดสอบค่าเฉลี่ยในหนึ่งตัวอย่าง ในการทดสอบ จะต้องตั้งสมมุติฐานในการวิจัย และสมมุติฐานทางสถิติ H 0  : U = 5000  ( เงินรายได้เฉลี่ยเท่ากับ  5000  บาท ) H 1  : U  > 5000     ( เงินรายได้เฉลี่ยมากกว่า  5000  บาท ) จะมีการทดสอบที่ระดับความเชื่อมั่น  95 % โดยที่ ถ้าค่า  Sig. >= .05  แปลผลตาม  H o   แต่ถ้าค่า  Sig. < .05  แปลผลตาม  H 1 สมมุติฐานวิจัย   :  รายได้เฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมีค่าเท่ากับ  5000  บาท สมมุติฐานทางสถิติ  :
การทดสอบค่าเฉลี่ยในหนึ่งตัวอย่าง Analyze>compare means>one-Sample t-Test
การทดสอบค่าเฉลี่ยในหนึ่งตัวอย่าง ผลลัพธ์ที่ได้ ค่า  sig.  น้อยกว่า  .05  แสดงว่า ปฏิเสธ  H 0   ยอมรับ  H 1
การทดสอบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน H 0  : U 1 = U 2   ( เงินรายได้เฉลี่ยของเพศชายและเพศหญิงเท่ากัน ) H 1  : U 1 <> U 2   ( เงินรายได้เฉลี่ยของเพศชายและเพศหญิงแตกต่างกัน ) กำหนดให้  U 1   คือค่าเฉลี่ยของรายได้ของเพศชาย  กลุ่มที่  1   U 2   คือค่าเฉลี่ยของรายได้ของเพศหญิง   กลุ่มที่  2 Analyze>compare means>Independent Sample t-Test สมมุติฐานการวิจัย คือ ต้องการทดสอบรายได้เฉลี่ยของผู้ชายและผู้หญิง
การทดสอบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน
การทดสอบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน ผลลัพธ์ที่ได้ ค่า  sig.  มากกว่า  .05  แสดงว่า ยอมรับ  H 0   ปฏิเสธ  H 1
การทดสอบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน ค่า  sig.  น้อยกว่า  .05  แสดงว่า ปฏิเสธ  H 0   ยอมรับ  H 1
การทดสอบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน 23  18  32  17  23  30  21  27  26  29  21 33  28  38  37  33  40  32  37  45  39  40 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  11 ผู้เรียนคนที่ Pretest Postest ตัวอย่าง  ต้องการทดสอบคะแนนทดสอบก่อนเรียน ( Pretest)  และคะแนนทดสอบหลังเรียน ( Postest)  ของผู้เรียน  โดยมีคะแนนดังนี้
Ho : U 1  =  0  หรือ คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียนไม่แตกต่างกัน   H1 : U 1     0   หรือ คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกัน   สมมุติฐานการวิจัย :  ต้องการทดสอบว่าผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่  จึงได้มีการทดสอบความรู้ก่อนเรียน และหลังการเรียน
Analyze>compare means>Paired Sample t-Test
ผลลัพธ์ที่ได้
ค่า  sig.  น้อยกว่า  .05  แสดงว่า ปฏิเสธ  H 0   ยอมรับ  H 1
ตัวอย่างการทดสอบ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
 
การวิเคราะห์ความแปรปรวน  ( Analysis of Variances) เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตั้งแต่  3  กลุ่มขึ้นไป  เรียกว่า  การวิเคราะห์ความแปรปรวน  ซึ่งเรียกย่อ ๆ ว่า  ANOVA  ( แอน - โน - วา ) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร  2  ประเภท คือ ตัวแปรตาม  ( dependent)  และตัวแปรอิสระ  ( indepepent)  โดยตัวแปรอิสระจะเป็นตัวแบ่งกลุ่มข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อทดสอบว่าในแต่ละกลุ่มที่แตกต่างกันนั้นจะทำให้ตัวแปรตามแตกต่างกันหรือไม่
ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความแปรปรวน ,[object Object],[object Object],[object Object]
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบมี  1  ตัวประกอบ ( one-way analysis of variances)   หรือการวิเคราะห์แบบทางเดียว  ( One-way Classicfication) ใช้สำหรับทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย  ( Mean)  ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างตั้งแต่  3  กลุ่มขึ้นไป  เพื่อตรวจสอบว่าตัวแปรอิสระ  1  ตัว ซึ่งแบ่งออกเป็น   k  ประเภทจะส่งผลแตกต่างกันหรือไม่ ตัวอย่าง   จุดมุ่งหมายของงานวิจัยต่อไปนี้ 1.  เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  มัธยมศึกษาตอนปลาย และอาชีวศึกษา
ตัวอย่าง   จุดมุ่งหมายของงานวิจัยต่อไปนี้ 2.  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาระหว่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  ที่เรียนโดยใช้สื่อ เรียนโดยใช้ผู้บรรยายประกอบสื่อ และ เรียนโดยวิธีบรรยายอย่างเดียว 3.  เพื่อเปรียบเทียบ แรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรมหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานี   ตามระดับการศึกษา   รายได้   / เดือน   และตำแหน่งงาน
ตัวอย่าง   ตัวแปรอิสระ 1.  อาชีพ  เช่น  เกษตรกร  ธุรกิจการค้า  รับราชการ  และรับจ้าง เป็นต้น 2.  ระดับการศึกษา เช่น ต่ำกว่า ปริญญาตรี  ปริญญาตรี  และสูงกว่าปริญญาตรี 3.  รายได้ เช่น ต่ำกว่า  5 ,000  บาท  5 ,000-10,000  บาท   และมากกว่า  10 ,000  บาท
สมมุติฐานทางสถิติ H 0  :  อายุเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างในแต่ละระดับการศึกษาไม่แตกต่างกัน H 1  :  มีอย่างน้อย  2  ระดับการศึกษาที่มีอายุเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างแตกต่างกัน H 0  : U 1 =U 2 =U 3 H 1  :  U i  <> U j
Analyze>compare means>one-way ANOVA..
ให้เลือกตัวแปรตาม (dependent List)  คือ  Age  และตัวแปรอิสระ ( Factor)  คือ  Edu   จากนั้นให้คลิกปุ่ม  Options…
เมื่อคลิกเลือกปุ่ม  Options… แล้วให้คลิกเลือก  descriptive  และ  Homogeneity-of-variance  มีเครื่องหมาย     จากนั้นคลิก  Continue
เมื่อคลิกเลือกปุ่ม  Continue  จะกลับมาที่หน้าจอ  จากนั้นให้คลิกปุ่ม  OK
เมื่อคลิก   OK  จะปรากฏผลลัพธ์ ดังนี้ ตารางทดสอบความแปรปรวนว่าแตกต่างกันหรือไม่  พบว่า  Sig.  มีค่ามากกว่า  0.05  จึงสรุปว่า ความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน
เมื่อคลิก   OK  จะปรากฏผลลัพธ์ ดังนี้ ตารางทดสอบค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ย  พบว่า  Sig.  มีค่าน้อยกว่า  0.05  จึงสรุปว่า มีระดับการศึกษาอย่างน้อย  2  ระดับที่มีอายุเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ  0.05
กรณีที่มีค่า  Sig.  น้อยกว่า  0.05  จะต้องไปตรวจสอบดูคู่ที่มีอายุเฉลี่ยแตกต่างกัน โดยให้เข้าไปใช้คำสั่ง  Analyze>compare means>one-way ANOVA..   อีก จากนั้นให้คลิกเลือก  Post Hoc..
เลือกวิธีการทดสอบรายคู่ ดังนี้
จากนั้นให้คลิกเลือก  Scheffe  แล้วคลิก  contnue  ออกมา และให้คลิก  OK  Post Hoc Tests ระดับการศึกษาที่มีอายุแตกต่างกัน คือ - ( ต่ำกว่า ป . ตรี , ป . ตรี ) ( ต่ำกว่า ป . ตรี , สูงกว่า ป . ตรี ) ระดับการศึกษาที่มีอายุไม่แตกต่างกัน คือ - (  ป . ตรี , สูงกว่า ป . ตรี )
สมมุติฐานทางสถิติ H 0  :  ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานไม่แตกต่างกัน H 1  :  ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานแตกต่างกันอย่างน้อย  2  ระดับ H 0  : U 1 =U 2 =U 3 H 1  :  U i  <> U j
 
 
 
 
 
 
 
 
 
การหาค่าความเชื่อมั่น  ( Reliability) ความเชื่อมั่น  หมายถึง เครื่องมือนั่นมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน  เครื่องมือที่มีความเชื่อมั่นสูง คือ เครื่องมือที่มีคุณสมบัติสามารถวัดสิ่งเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง แล้วได้ค่าหรือคำตอบใกล้เคียงกัน หรือแตกต่างกันน้อยมาก การหาค่าความเชื่อมั่น ด้วยวิธีการของ  Cronbach’s Alpha  ใช้กับการหาค่าการตอบคำถามแบบเรียงอันดับ  ( Rating Scale)  เช่น  5 4 3 2 1
คำสั่ง การหาค่าความเชื่อมั่น  ( Reliability) Analyze  scale  reliability analyze เลือกตัวแปรที่ต้องการหาค่าความเชื่อมั่น  ไปไว้ที่  items ถ้าต้องการเพิ่มค่าสถิติให้คลิกที่ปุ่ม  statistics  จะปรากฏหน้าต่างให้เลือก
คำสั่ง การหาค่าความเชื่อมั่น  ( Reliability) สมมุติว่า เลือกค่าสถิติ  Scale if item deleted  ที่อยู่ในส่วนของ  Descriptives for  เพื่อใช้วิเคราะห์คำถามแต่ละข้อ เมื่อเลือกเสร็จให้กดปุ่ม  continue เลือก จากนั้นให้กดปุ่ม  OK  เพื่อดูผลลัพธ์ที่ได้ เลือก
ผลลัพธ์ที่ได้ ดังนี้ Scale  Scale  Corrected Mean  Variance  Item-  Alpha if Item  if Item  Total  if Item Deleted  Deleted  Correlation  Deleted N1  31.0000  18.0690  .6228  .8525 N2  31.1000  18.0931  .6548  .8505 N3  31.5000  17.5690  .5518  .8591 N4  31.1667  17.0402  .7886  .8387 N5  31.1667  17.1782  .8380  .8365 N6  31.2333  18.3230  .6730  .8503 N7  31.5000  17.9828  .4513  .8695 N8  30.9667  18.2402  .4992  .8626 N9  31.3667  18.3092  .4353  .8695 N10  31.3000  19.5276  .4917  .8627 Reliability Coefficients N of Cases =  30.0  N of Items = 10 Alpha =  .8680
ถ้าตัดข้อ  N7  ออก เพื่อให้ได้ค่าความเชื่อมั่นสูง  .8695 Scale  Scale  Corrected Mean  Variance  Item-  Alpha if Item  if Item  Total  if Item Deleted  Deleted  Correlation  Deleted N1  27.8000  14.3034  .6608  .8504 N2  27.9000  14.5759  .6366  .8529 N3  28.3000  14.2172  .5134  .8667 N4  27.9667  13.4126  .8226  .8344 N5  27.9667  13.6885  .8379  .8349 N6  28.0333  14.6540  .6864  .8498 N8  27.7667  14.5989  .5019  .8660 N9  28.1667  14.7644  .4176  .8766 N10  28.1000  15.7483  .5022  .8645 Reliability Coefficients N of Cases =  30.0  N of Items =  9 Alpha =  .8695

More Related Content

What's hot

Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระLacus Methini
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)kruthanyaporn
 

What's hot (14)

สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
Epi info unit07
Epi info unit07Epi info unit07
Epi info unit07
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
Weka introducing
Weka introducingWeka introducing
Weka introducing
 
1 weka introducing
1 weka introducing1 weka introducing
1 weka introducing
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 

Similar to Spss jan2010

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาSani Satjachaliao
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelพัน พัน
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาsupatra178
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาjack4212
 
Statistics for research by spss program
Statistics for research by spss programStatistics for research by spss program
Statistics for research by spss programPunyapon Tepprasit
 

Similar to Spss jan2010 (20)

Spss
SpssSpss
Spss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
Land use 58670354 3301
Land use 58670354 3301Land use 58670354 3301
Land use 58670354 3301
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงาน
 
51011211079
5101121107951011211079
51011211079
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
207
207207
207
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
Statistics for research by spss program
Statistics for research by spss programStatistics for research by spss program
Statistics for research by spss program
 
1
11
1
 

Spss jan2010