SlideShare a Scribd company logo
โครงการพัฒนาบทเรียนออนไลน (e-Learning) ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๙
สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
--------------------------------------------------------
๑. หลักการและเหตุผล
ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น เนื้อหารายวิชาตางๆ
ที่ใชเรียนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมีหลากหลายของสาขาวิชา และสามารถบูรณาการความรูเขาดวยกัน
ดังนั้นการศึกษาหาความรูจึงไมจําเปนตองเรียนเฉพาะในหองเรียนเทานั้น ผูเรียนสามารถแสวงหาความรูจาก
แหลงตางๆ ผานระบบออนไลนได การพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนการสอน เชน บทเรียน e-learning จึงมี
ความสําคัญเพิ่มมากขึ้น เพื่อเปนเครืองมือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนในมีประสิทธิภาพมากขึ้น ใน
ขณะเดียวกันบางหลักสูตรสามารถพัฒนาจนสามารถนํามาใชแทนระบบการเขาชั้นเรียนปกติไดทั้งหลักสูตร
นับเปนการเปดโอกาสทางการศึกษาใหเปดกวางมากขึ้นกวาในอดีต ทําใหนักศึกษามีทางเลือกในการศึกษามาก
ขึ้นและสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง ซึ่งเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนากําลังคนที่มีคุณภาพของชาติ ดวยเหตุนี้
สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในฐานะหนวยงานสนับสนุนและดูแลดานเทคโนโลยี
สารสนเทศใหแกมหาวิทยาลัย จึงไดจัดทํา “โครงการพัฒนาบทเรียน e-learning ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๙”
เพื่อพัฒนาและสงเสริมการใชบทเรียนออนไลน (e- learning) ใหมีการนําไปใชสนับสนุนการเรียนการสอนมาก
ขึ้น และสามารถเผยแพรเนื้อหาดังกลาวผานระบบออนไลนใหแกนักศึกษาและผูที่สนใจทั้งภายในและภายนอก
มหาวิทยาลัยได เปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต
๒. วัตถุประสงคของโครงการ
๒.๑ เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน (E-Learning) ในรายวิชาที่เปดสอนในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๙ จํานวน
อยางนอย ๑๘ รายวิชา และมีเการพัฒนาบทเรียนออนไลนที่ครอบคลุมเนื้อหาในรายวิชาละไมต่ํากวา รอยละ
๕๐ ของเนื้อหารายวิชานั้น ๆ
๒.๒ เพื่อสนับสนุนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน โดย
นักศึกษาสามารถเขาถึงเนื้อหารายวิชา สื่อการสอน และแหลงขอมูลประกอบการสอน ไดหลากหลาย และ
ตลอดเวลาผานระบบออนไลน
๓. เปาหมายโครงการ
๓.๑ คณาจารย อยางนอย ๑๘ คน เขารวมโครงการพัฒนาบทเรียนออนไลน (E-Learning)
๓.๒ มีบทเรียนออนไลน (E-Learning) ที่พัฒนาและสามารถใชสอนในปการศึกษา ๒/๒๕๕๙ ครอบคลุม
เนื้อหาในรายวิชาละไมต่ํากวา รอยละ ๕๐ อยางนอย ๑๘ รายวิชา
๔. คุณสมบัติของผูเขารวมโครงการ
๔.๑ รายวิชาที่เขารวมโครงการเปนรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนในปการศึกษา ๒/๒๕๕๘
๔.๒ คณาจารยที่รวมพัฒนาบทเรียนออนไลน (E-Learning) เปนอาจารยที่มาจากคณะ ๖ คณะ ของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และมีเอกสารประกอบการสอน หรือสื่อการสอน เชน สไลด เอกสาร วิดีโอ
เปนตน
๔.๓ ผูเขารวมโครงการตองสามารถเขารวมการฝกอบรมและรวมประชุมกับทีมพัฒนาของสํานัก
คอมพิวเตอร
๕. ขั้นตอนการดําเนินงาน
๕.๑ ประชาสัมพันธโครงการ และเปดรับสมัครคณาจารยเขารวมโครงการ
(ตั้งแตบัดนี้ ถึง วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๘)
๕.๒ ประชุมชี้แจงผูเขารวมโครงการ
๕.๓ การฝกอบรมการออกแบบและพัฒนาสื่อการสอนออนไลน ประกอบดวย
๕.๓.๑ การอบรมเชิงปฏิบัติการการใชระบบการจัดการเรียนรู (LMS)
๕.๓.๒ การอบรมหลักการออกแบบและพัฒนาสื่อการสอน
๕.๓.๓ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการแตงภาพดวย Photoshop CS6
๕.๓.๔ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสื่อการสอนดวยโปรแกรม Captivate 8
๕.๓.๕ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสื่อการสอนดวยโปรแกรม Flash CS6
๕.๓.๖ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการตัดตอวิดีโอและเสียง
๕.๔ ดําเนินการออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน
๕.๕ ทดลองใชบทเรียนในชั้นเรียน
๕.๖ ประเมินผลโครงการ
หมายเหตุ ๑. การฝกอบรมเปนการอบรมเฉพาะเทคนิคที่จําเปนพื้นฐานที่จําเปนตองใชในการพัฒนาสื่อการสอน
ออนไลนเทานั้น ดังนั้นการอบรมแตละหลักสูตรเปนการอบรมหลักสูตรระยะสั้น เชน ครึ่งวัน หรือ ๑ วัน
๒. สํานักคอมพิวเตอร จัดหาเจาหนาที่ดานเทคนิคและพัฒนาสื่อการสอน เพื่อดูแลและชวยอาจารย
ผูเขารวมโครงการพัฒนาสื่อการสอนออนไลน โดยอาจารยผูสอน ที่ตองการพัฒนาเปนแอนิเมชั่น หรือ ถายทํา
วิดีโอการสอน สามารถแจงเจาหนาที่เพื่อนัดหมายและออกแบบสื่อที่เหมาะสมกับรายวิชาในการประชุมกับทีม
พัฒนาในแตละครั้ง
๖. ระยะเวลาการดําเนินโครงการ
ขั้นตอนการดําเนินการ
๒๕๕๘ ๒๕๕๙
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
๑.รับสมัครผูเขารวม
โครงการ
๒.ประชุมชี้แจงโครงการ
๓.อบรมการออกแบบและ
พัฒนาบทเรียนออนไลน
๔. ดําเนินการออกแบบ
และพัฒนาบทเรียน
ออนไลน
๕. ทดลองใชบทเรียนใน
ชั้นเรียน
๔.สรุปและประเมินผล
๗. ผลที่คาดวาจะไดรับ
๗.๑ ไดบทเรียนออนไลน (E-Learning) อยางนอย ๑๘ รายวิชา ที่สามารถนําไปใชสนับสนุนการเรียน
การสอนในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๘
๗.๒ อาจารยผูเขารวมโครงการสามารถนําบทเรียนออนไลน (E-Learning) ไปพัฒนาตอยอดเปนผลงาน
เพื่อเขาสูตําแหนงทางวิชาการหรืองานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนได
๙. ผูรับผิดชอบโครงการ
งานฝกอบรมและบริการวิชาการ
อาคารบูรณวิทยาการ ชั้น ๒
สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โทรศัพท ๐๔๔-๐๐๙-๐๐๙ ตอ ๒๗๒๔

More Related Content

What's hot

โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
สมใจ จันสุกสี
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยjeabjeabloei
 
Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7
Isaiah Thuesayom
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
ssuserea9dad1
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
ssuserea9dad1
 
17[1]
17[1]17[1]
17[1]
sopida
 
ดานการศึกษา222222222222222
ดานการศึกษา222222222222222ดานการศึกษา222222222222222
ดานการศึกษา222222222222222
082464
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
Non HobBit
 
Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1
jamrat sornkla
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 6ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 6
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
Prachoom Rangkasikorn
 
004 pragradประกาศ แนวปฏิบัติ
004 pragradประกาศ แนวปฏิบัติ004 pragradประกาศ แนวปฏิบัติ
004 pragradประกาศ แนวปฏิบัติPiyarerk Bunkoson
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่  6จุดเน้นที่  6
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1Areerat Sangdao
 

What's hot (20)

Email system
Email systemEmail system
Email system
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 
17[1]
17[1]17[1]
17[1]
 
ดานการศึกษา222222222222222
ดานการศึกษา222222222222222ดานการศึกษา222222222222222
ดานการศึกษา222222222222222
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 6ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 6
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
004 pragradประกาศ แนวปฏิบัติ
004 pragradประกาศ แนวปฏิบัติ004 pragradประกาศ แนวปฏิบัติ
004 pragradประกาศ แนวปฏิบัติ
 
บทที่1test
บทที่1testบทที่1test
บทที่1test
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่  6จุดเน้นที่  6
จุดเน้นที่ 6
 
Add m6-2-link
Add m6-2-linkAdd m6-2-link
Add m6-2-link
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
 

Viewers also liked

Aida Holdings (Pvt) Ltd
Aida Holdings (Pvt) LtdAida Holdings (Pvt) Ltd
Aida Holdings (Pvt) Ltd
Chamindu S. BANDÁRA
 
Pitch
PitchPitch
Pitch
mossy1603
 
Customer ScorecardUserGuide
Customer ScorecardUserGuideCustomer ScorecardUserGuide
Customer ScorecardUserGuideStella Cella
 
Android online training overview - ErEdge
Android online training overview - ErEdgeAndroid online training overview - ErEdge
Android online training overview - ErEdge
EraEdge
 
Magazine cover and contents codes and conventions
Magazine cover and contents codes and conventionsMagazine cover and contents codes and conventions
Magazine cover and contents codes and conventions
charlicarty
 
The thriller genre
The thriller genreThe thriller genre
The thriller genre
tbgsmedia1517
 
Blog
BlogBlog
A Community Council's Role in Creating a Fairer Scotland
A Community Council's Role in Creating a Fairer ScotlandA Community Council's Role in Creating a Fairer Scotland
A Community Council's Role in Creating a Fairer Scotland
ImprovServ
 
Smith_Zachary_PCP-O_1509_4.4FinalPPPSlideshow
Smith_Zachary_PCP-O_1509_4.4FinalPPPSlideshowSmith_Zachary_PCP-O_1509_4.4FinalPPPSlideshow
Smith_Zachary_PCP-O_1509_4.4FinalPPPSlideshow
ZachSmith0215
 
Patricia M Lee Resume
Patricia M Lee ResumePatricia M Lee Resume
Patricia M Lee ResumeTrish Lee
 
Charcterstic of prophets
Charcterstic of prophetsCharcterstic of prophets
Charcterstic of prophets
Student
 
Почему сотрудничество с банками не всегда соответствует ожиданиям бизнеса
Почему сотрудничество с банками не всегда соответствует ожиданиям бизнесаПочему сотрудничество с банками не всегда соответствует ожиданиям бизнеса
Почему сотрудничество с банками не всегда соответствует ожиданиям бизнеса
Angelika Pleskachevskaya
 

Viewers also liked (14)

Aida Holdings (Pvt) Ltd
Aida Holdings (Pvt) LtdAida Holdings (Pvt) Ltd
Aida Holdings (Pvt) Ltd
 
Pitch
PitchPitch
Pitch
 
Customer ScorecardUserGuide
Customer ScorecardUserGuideCustomer ScorecardUserGuide
Customer ScorecardUserGuide
 
Android online training overview - ErEdge
Android online training overview - ErEdgeAndroid online training overview - ErEdge
Android online training overview - ErEdge
 
Magazine cover and contents codes and conventions
Magazine cover and contents codes and conventionsMagazine cover and contents codes and conventions
Magazine cover and contents codes and conventions
 
The thriller genre
The thriller genreThe thriller genre
The thriller genre
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
A Community Council's Role in Creating a Fairer Scotland
A Community Council's Role in Creating a Fairer ScotlandA Community Council's Role in Creating a Fairer Scotland
A Community Council's Role in Creating a Fairer Scotland
 
Kaviya (2)
Kaviya (2)Kaviya (2)
Kaviya (2)
 
Smith_Zachary_PCP-O_1509_4.4FinalPPPSlideshow
Smith_Zachary_PCP-O_1509_4.4FinalPPPSlideshowSmith_Zachary_PCP-O_1509_4.4FinalPPPSlideshow
Smith_Zachary_PCP-O_1509_4.4FinalPPPSlideshow
 
ADEODUN SOJI TAYO0007
ADEODUN SOJI TAYO0007ADEODUN SOJI TAYO0007
ADEODUN SOJI TAYO0007
 
Patricia M Lee Resume
Patricia M Lee ResumePatricia M Lee Resume
Patricia M Lee Resume
 
Charcterstic of prophets
Charcterstic of prophetsCharcterstic of prophets
Charcterstic of prophets
 
Почему сотрудничество с банками не всегда соответствует ожиданиям бизнеса
Почему сотрудничество с банками не всегда соответствует ожиданиям бизнесаПочему сотрудничество с банками не всегда соответствует ожиданиям бизнеса
Почему сотрудничество с банками не всегда соответствует ожиданиям бизнеса
 

Similar to โครงการE learning2559

สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์jeabjeabloei
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school networkKroo nOOy
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Curriculum
CurriculumCurriculum
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
 
Present by Nu
Present by NuPresent by Nu
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
โครงการ ไอที่
โครงการ ไอที่โครงการ ไอที่
โครงการ ไอที่Lan Bulata
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Somsak Kaeosijan
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textChangnoi Etc
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to โครงการE learning2559 (20)

สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school network
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
1
11
1
 
Curriculum
CurriculumCurriculum
Curriculum
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Present by Nu
Present by NuPresent by Nu
Present by Nu
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
Add m5-1-link
Add m5-1-linkAdd m5-1-link
Add m5-1-link
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการ ไอที่
โครงการ ไอที่โครงการ ไอที่
โครงการ ไอที่
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 

More from Pa'rig Prig

4
44
3
33
2
22
1
11
5
55
4
44
3
33
2
22
1
11
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
Pa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
Pa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
Pa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
Pa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
Pa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

โครงการE learning2559

  • 1. โครงการพัฒนาบทเรียนออนไลน (e-Learning) ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๙ สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา -------------------------------------------------------- ๑. หลักการและเหตุผล ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น เนื้อหารายวิชาตางๆ ที่ใชเรียนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมีหลากหลายของสาขาวิชา และสามารถบูรณาการความรูเขาดวยกัน ดังนั้นการศึกษาหาความรูจึงไมจําเปนตองเรียนเฉพาะในหองเรียนเทานั้น ผูเรียนสามารถแสวงหาความรูจาก แหลงตางๆ ผานระบบออนไลนได การพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนการสอน เชน บทเรียน e-learning จึงมี ความสําคัญเพิ่มมากขึ้น เพื่อเปนเครืองมือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนในมีประสิทธิภาพมากขึ้น ใน ขณะเดียวกันบางหลักสูตรสามารถพัฒนาจนสามารถนํามาใชแทนระบบการเขาชั้นเรียนปกติไดทั้งหลักสูตร นับเปนการเปดโอกาสทางการศึกษาใหเปดกวางมากขึ้นกวาในอดีต ทําใหนักศึกษามีทางเลือกในการศึกษามาก ขึ้นและสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง ซึ่งเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนากําลังคนที่มีคุณภาพของชาติ ดวยเหตุนี้ สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในฐานะหนวยงานสนับสนุนและดูแลดานเทคโนโลยี สารสนเทศใหแกมหาวิทยาลัย จึงไดจัดทํา “โครงการพัฒนาบทเรียน e-learning ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๙” เพื่อพัฒนาและสงเสริมการใชบทเรียนออนไลน (e- learning) ใหมีการนําไปใชสนับสนุนการเรียนการสอนมาก ขึ้น และสามารถเผยแพรเนื้อหาดังกลาวผานระบบออนไลนใหแกนักศึกษาและผูที่สนใจทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยได เปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ๒. วัตถุประสงคของโครงการ ๒.๑ เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน (E-Learning) ในรายวิชาที่เปดสอนในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๙ จํานวน อยางนอย ๑๘ รายวิชา และมีเการพัฒนาบทเรียนออนไลนที่ครอบคลุมเนื้อหาในรายวิชาละไมต่ํากวา รอยละ ๕๐ ของเนื้อหารายวิชานั้น ๆ ๒.๒ เพื่อสนับสนุนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน โดย นักศึกษาสามารถเขาถึงเนื้อหารายวิชา สื่อการสอน และแหลงขอมูลประกอบการสอน ไดหลากหลาย และ ตลอดเวลาผานระบบออนไลน ๓. เปาหมายโครงการ ๓.๑ คณาจารย อยางนอย ๑๘ คน เขารวมโครงการพัฒนาบทเรียนออนไลน (E-Learning) ๓.๒ มีบทเรียนออนไลน (E-Learning) ที่พัฒนาและสามารถใชสอนในปการศึกษา ๒/๒๕๕๙ ครอบคลุม เนื้อหาในรายวิชาละไมต่ํากวา รอยละ ๕๐ อยางนอย ๑๘ รายวิชา ๔. คุณสมบัติของผูเขารวมโครงการ ๔.๑ รายวิชาที่เขารวมโครงการเปนรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนในปการศึกษา ๒/๒๕๕๘ ๔.๒ คณาจารยที่รวมพัฒนาบทเรียนออนไลน (E-Learning) เปนอาจารยที่มาจากคณะ ๖ คณะ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และมีเอกสารประกอบการสอน หรือสื่อการสอน เชน สไลด เอกสาร วิดีโอ เปนตน ๔.๓ ผูเขารวมโครงการตองสามารถเขารวมการฝกอบรมและรวมประชุมกับทีมพัฒนาของสํานัก คอมพิวเตอร
  • 2. ๕. ขั้นตอนการดําเนินงาน ๕.๑ ประชาสัมพันธโครงการ และเปดรับสมัครคณาจารยเขารวมโครงการ (ตั้งแตบัดนี้ ถึง วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๘) ๕.๒ ประชุมชี้แจงผูเขารวมโครงการ ๕.๓ การฝกอบรมการออกแบบและพัฒนาสื่อการสอนออนไลน ประกอบดวย ๕.๓.๑ การอบรมเชิงปฏิบัติการการใชระบบการจัดการเรียนรู (LMS) ๕.๓.๒ การอบรมหลักการออกแบบและพัฒนาสื่อการสอน ๕.๓.๓ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการแตงภาพดวย Photoshop CS6 ๕.๓.๔ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสื่อการสอนดวยโปรแกรม Captivate 8 ๕.๓.๕ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสื่อการสอนดวยโปรแกรม Flash CS6 ๕.๓.๖ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการตัดตอวิดีโอและเสียง ๕.๔ ดําเนินการออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน ๕.๕ ทดลองใชบทเรียนในชั้นเรียน ๕.๖ ประเมินผลโครงการ หมายเหตุ ๑. การฝกอบรมเปนการอบรมเฉพาะเทคนิคที่จําเปนพื้นฐานที่จําเปนตองใชในการพัฒนาสื่อการสอน ออนไลนเทานั้น ดังนั้นการอบรมแตละหลักสูตรเปนการอบรมหลักสูตรระยะสั้น เชน ครึ่งวัน หรือ ๑ วัน ๒. สํานักคอมพิวเตอร จัดหาเจาหนาที่ดานเทคนิคและพัฒนาสื่อการสอน เพื่อดูแลและชวยอาจารย ผูเขารวมโครงการพัฒนาสื่อการสอนออนไลน โดยอาจารยผูสอน ที่ตองการพัฒนาเปนแอนิเมชั่น หรือ ถายทํา วิดีโอการสอน สามารถแจงเจาหนาที่เพื่อนัดหมายและออกแบบสื่อที่เหมาะสมกับรายวิชาในการประชุมกับทีม พัฒนาในแตละครั้ง ๖. ระยะเวลาการดําเนินโครงการ ขั้นตอนการดําเนินการ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๑.รับสมัครผูเขารวม โครงการ ๒.ประชุมชี้แจงโครงการ ๓.อบรมการออกแบบและ พัฒนาบทเรียนออนไลน ๔. ดําเนินการออกแบบ และพัฒนาบทเรียน ออนไลน ๕. ทดลองใชบทเรียนใน ชั้นเรียน ๔.สรุปและประเมินผล
  • 3. ๗. ผลที่คาดวาจะไดรับ ๗.๑ ไดบทเรียนออนไลน (E-Learning) อยางนอย ๑๘ รายวิชา ที่สามารถนําไปใชสนับสนุนการเรียน การสอนในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๘ ๗.๒ อาจารยผูเขารวมโครงการสามารถนําบทเรียนออนไลน (E-Learning) ไปพัฒนาตอยอดเปนผลงาน เพื่อเขาสูตําแหนงทางวิชาการหรืองานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนได ๙. ผูรับผิดชอบโครงการ งานฝกอบรมและบริการวิชาการ อาคารบูรณวิทยาการ ชั้น ๒ สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โทรศัพท ๐๔๔-๐๐๙-๐๐๙ ตอ ๒๗๒๔