SlideShare a Scribd company logo
คำ�นำ�
	 เอกสารการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เล่มนี้
เรียบเรียงโดย นายอนุสรณ์   ฟูเจริญ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี
เขต 1 เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา โครงการขยายผล
การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ตลอดจนเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทั้งในระดับสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา  โรงเรียน และ
ห้องเรียน ซึ่งเป็นการนำ�การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไปใช้ในการแก้ปัญหาขาดแคลนครู ครูสอน
ไม่ตรงสาขาวิชาเอก
	 ภายในเล่มประกอบด้วย ส่วนที่ 1 การดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยี
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่ประสบผลสำ�เร็จ ของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1 และส่วนที่ 2 การขยายผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรียน
ขนาดเล็กทั่วประเทศ เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและเป็นการเทิดพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
	 ผู้เรียบเรียงหวังว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สำ�หรับผู้เข้ารับการอบรมและผู้เกี่ยวข้อง
ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป นำ�หลักการและแนวดำ�เนินการสู่การปฏิบัติในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผล
ให้นักเรียน ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลอันมีค่า  และเป็นปัจจัยสำ�คัญในการพัฒนาประเทศ ได้รับความรู้และ
พัฒนาได้เป็นอย่างดี
	 	 	 นายอนุสรณ์  ฟูเจริญ
	 	 	 ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 1
ความเป็นมา
	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีโรงเรียนในสังกัดทั้งสิ้น
145 โรงเรียน จำ�นวนนักเรียนทั้งสิ้น 33,868 คน จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 จากผลการดำ�เนินงานที่ผ่านมา พบว่าผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง (พ.ศ.2549-2551)
มีโรงเรียนไม่ผ่านการรับรองมาตรฐาน จำ�นวน 43 โรงเรียน โดยมีมาตรฐานที่ไม่ผ่านการรับรอง
สามลำ�ดับแรก ได้แก่ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะที่จำ�เป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียน
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและ
มีวิสัยทัศน์  มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ การประเมิน
คุณภาพนักเรียนระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2552 พบว่า คะแนนเฉลี่ยในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ) ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 และต่ำ�กว่าค่าเฉลี่ยของระดับประเทศ
รวมทั้งผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับเขตพื้นที่การศึกษาสำ�หรับนักเรียนระดับ
ชั้นประถมศึกษาปีที่2  ชั้นประถมศึกษาปีที่5  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2และชั้นมัธยมศึกษาปีที่5ของทุกโรงเรียน
ในเขตพื้นที่การศึกษา (LAS : Local Assessment System) พบว่า คะแนนเฉลี่ยในกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  
และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  ต่ำ�กว่าร้อยละ 50   
	 จากการศึกษาหาสาเหตุของปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่ำ�ในสถานศึกษา สังกัดสำ�นักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 พบว่า  โรงเรียนที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐาน และ
โรงเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพนักเรียน ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 ดังกล่าวข้างต้นนั้น จำ�แนกได้เป็นโรงเรียน
3 ขนาด คือ โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ่ ซึ่งมีลักษณะดังนี้  1)  โรงเรียน
ขนาดเล็กเป็นโรงเรียนที่มีครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงวุฒิและวิชาเอก ครูไม่ใช้สื่อประกอบการจัดการเรียน
การสอน  2) โรงเรียนขนาดกลางเป็นโรงเรียนที่ครูสอนไม่ตรงวุฒิและวิชาเอก และ  3) โรงเรียนขนาดใหญ่
เป็นโรงเรียนที่ไม่มีปัญหาด้านบุคลากร แต่ครูไม่ใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน ประเด็นที่ตรงกัน
ในโรงเรียนทั้งสามขนาด คือ ครูไม่ใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน ซึ่งรวมถึงการที่ครูไม่ใช้เทคโนโลยี
ในการจัดการเรียนการสอน ในขณะที่โรงเรียนส่วนใหญ่มีความพร้อมด้านเทคโนโลยีการจัดการศึกษา เช่น
จานรับสัญญาณผ่านดาวเทียม เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องคอมพิวเตอร์       
ส่วนที่ 1
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเฉลิมพระเกียรติ
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง2
	 สภาพปัญหาข้างต้นมีปัจจัยสำ�คัญที่ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษาที่สำ�คัญ คือ ประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนการสอนของครู และการใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน ปัจจัยสำ�คัญดังกล่าว
จำ�เป็นต้องมีวิธีการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา  ซึ่งส่วนใหญ่มีอุปกรณ์เทคโนโลยี
การศึกษาทางไกล แต่ยังไม่สามารถบริหารจัดการเทคโนโลยีการจัดการศึกษาเหล่านั้นให้เอื้อประโยชน์ต่อ
การจัดการเรียนการสอนให้กับครูผู้สอนและนักเรียนสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี
เขต 1 จึงแสวงหาแนวทางในการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลให้เหมาะสมกับสภาพ
บริบทของแต่ละโรงเรียน ในอันที่จะส่งผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น
โดยได้ทำ�การวิจัยและพัฒนา เรื่อง “รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1” เพื่อหารูปแบบ
การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมมาใช้ในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้กำ�หนดนโยบาย
ให้ทุกโรงเรียน จัดการเรียนการสอนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือบูรณาการใน 3 ลักษณะ คือ
	 1.	 การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television:
DLTV) เป็นการจัดการเรียนการสอนโดยรับสัญญาณถ่ายทอดสดจากโรงเรียนวังไกลกังวล อ.หัวหิน
จ.ประจวบคีรีขันธ์ ในลักษณะ online
	 2.	 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DVD หรือ eDLTV เป็นการจัดการเรียนการสอน
โดยใช้สื่อ DVD หรือ eDLTV External Hard disk ซึ่งสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี
เขต 1 บันทึกการเรียนการสอนของโรงเรียนวังไกลกังวล ลงใน DVD และ eDLTV External Hard disk                
ให้โรงเรียนนำ�ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในลักษณะ offline
	 3.	 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ e-Learning (Electronics Learning) สำ�นักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ได้รวบรวมสื่อจาก eDLTV และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ
หลากหลายและครบถ้วนตามเนื้อหาสาระของหลักสูตร เพื่อให้โรงเรียนนำ�ไปใช้จัดการเรียนการสอนได้ทั้ง
ในลักษณะ online และ offline
วัตถุประสงค์
	 1.	 เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
	 2.	 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น
	 3.	 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 3
แนวทางดำ�เนินการ
	 1.	 จัดทำ�คำ�รับรองการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลผ่านดาวเทียม ระหว่าง
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 กับโรงเรียน
	 2.	 จัดทำ�แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกล 3 ลักษณะ คือ DLTV
DVD และ e-Learning
	 3.	 พัฒนาสื่อและระบบเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
	 4.	 จัดตั้งหน่วยเคลื่อนที่เร็ว (Roving Team)
	 5.	 จัดตั้งศูนย์ซ่อมบำ�รุงรักษาประจำ�อำ�เภอ หรือกลุ่มโรงเรียน
	 6.	 ผลิตสื่อ DVD ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และครบทุกชั้นเพื่อให้บริการแก่สถานศึกษา
	 7.	 จัดตั้งศูนย์ ICT เพื่อเป็นแม่ข่าย และ Clinic Online
	 8.	 ประชุมปฏิบัติการจัดทำ�หน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ การใช้สื่อเทคโนโลยี
การศึกษาทางไกล
	 9.	 ติดตามผลการดำ�เนินงาน ในระดับโรงเรียนและกลุ่มโรงเรียน โดย ศึกษานิเทศก์
รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำ�นวยการกลุ่ม ประธานกลุ่มและผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา
	 10.	จัดทำ�วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ผลการดำ�เนินการ
	 1.	 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(Ordinary National Educational Test: O-NET) และการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกัน
คุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ค่าเฉลี่ยของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี
เขต 1 สูงกว่าค่าเฉลี่ยของระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีการศึกษา 
2553 จนถึง ปีการศึกษา 2556
	 2.	 ในส่วนของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งได้เลือกรูปแบบในการจัดการเรียนการสอน ทั้ง 3 ลักษณะ
จำ�นวน 84 โรงเรียน ดังนี้
	 	 2.1	 จัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลผ่านดาวเทียม ( DLTV )  98 โรงเรียน
	 	 2.2	 จัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลโดยใช้สื่อ DVD  15 โรงเรียน
	 	 2.3	 จัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลโดยใช้สื่อ DLTV และ DVD  4 โรงเรียน
	 	 2.4	 จัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( e-Learning )  
28 โรงเรียน
	 	 โดยทุกโรงเรียนขนาดเล็กทั้ง 84 โรงเรียน มีผลการประเมินคุณภาพสูงขึ้นอย่างชัดเจน
ดังแผนภาพต่อไปนี้
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง4
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนทั้งหมด
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1
ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2556
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 5
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนขนาดเล็ก
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1
ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2556
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง6
ยุทธศาสตร์สำ�คัญของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1
ที่ทำ�ให้ประสบผลสำ�เร็จ
	 1.	 กำ�หนดนโยบายและกลยุทธ์การพัฒนาการศึกษาอย่างชัดเจน
	 2.	 สำ�รวจความต้องการของโรงเรียนในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
	 3.	 ประชุมชี้แจงผู้บริหาร ให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดการเรียนการสอนทางไกล
ผ่านดาวเทียม
	 4.	 พัฒนาบุคลากรของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย
	 5.	 นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ สนับสนุนงบประมาณ โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนทางไกล
ผ่านดาวเทียมอย่างสม่ำ�เสมอและต่อเนื่อง
	 6.	 ประเมินผลการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมทุก ๆ
3 เดือน
	 7.	 นำ�ผลการประเมินการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอนมาปรับปรุงแก้ไขและ
พัฒนาการดำ�เนินงาน
	 8.	 ยกย่อง เชิดชูเกียรติ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงเรียนที่มีผลการบริหารจัดการเป็นเลิศ
(Best Practice) ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1
ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ
	 ปัจจัยสำ�คัญที่จะทำ�ให้การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลประสบความสำ�เร็จ คือ
	 1.	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา  ควรให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี
ทางไกลอย่างจริงจังต่อเนื่อง
	 2.	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรมีการนิเทศติดตาม ประเมินผล และเชิดชูเกียรติโรงเรียน
ที่การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลได้ประสบผลสำ�เร็จ
	 3.	 โรงเรียนที่มีความสนใจในการนำ�การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลมาใช้ควร
ศึกษาหาความรู้จากโรงเรียนที่เป็นต้นแบบให้มีความเข้าใจอย่างชัดเจนก่อนการดำ�เนินงาน
	 4.	 ผู้บริหารโรงเรียนต้องเป็นผู้นำ�ด้วยความมุ่งมั่น โดยบริหารจัดการ ส่งเสริม และสนับสนุน
ให้ใช้การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลในการจัดการเรียนการสอน
	 5.	 ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ได้รับมอบหมาย หรือครูในโรงเรียน ดำ�เนินการนิเทศ ติดตามการจัด
การเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลเป็นประจำ�ในลักษณะกัลยาณมิตร
	 6.	 ผู้บริหารโรงเรียนต้องสนับสนุน การจัดหาอุปกรณ์ วัสดุ ในการจัดการเรียนการสอนด้วย
เทคโนโลยีทางไกล ตลอดจนอำ�นวยความสะดวกให้การใช้การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกล
จัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 7
	 7.	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนต้องพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เกี่ยวข้อง
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
         	 8.	 ครูต้องเตรียมการสอนล่วงหน้าและวางแผนอย่างเป็นระบบทุกขั้นตอน รวมทั้งมอบหมายงาน
ให้นักเรียนเตรียมพร้อมในการเรียนครั้งต่อไป
	 9.	 ควรมีโทรทัศน์และอุปกรณ์ สำ�รองไว้อย่างน้อย 1 ชุด เพื่อทดแทนได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อ
เครื่องเดิมชำ�รุดเสียหาย
	 10.	คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนด้วย
เทคโนโลยีทางไกลอย่างจริงจัง
         	 11.	บุคลากรทุกคน ทุกฝ่าย ตระหนักและเห็นความสำ�คัญ ตลอดจนให้ความร่วมมือดำ�เนินการ
อย่างจริงจังต่อเนื่อง
บทสรุป
	 1.	 ผลดีคือไม่ต้องยุบหรือรวมโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบุตรหลานของประชาชนที่มี
ฐานะยากจน จึงมีการต่อต้านทุกครั้งที่มีนโยบายยุบโรงเรียนขนาดเล็ก  โรงเรียนขนาดเล็กยังสามารถดำ�รง
อยู่ได้โดยมีคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น  เด็กในโรงเรียนขนาดเล็กได้เรียนรู้จากสื่อทันสมัยเท่าเทียม
กับโรงเรียนขนาดใหญ่หรือโรงเรียนในเมือง
	 2.	 เป็นการลงทุนที่คุ้มค่าเมื่อเทียบกับการลงทุนโดยการเพิ่มทรัพยากรบุคคล กล่าวคือ
ไม่ต้องเพิ่มครูให้ครบชั้น ซึ่งลงทุนสูงและผูกพันระยะยาว เพียงแต่ลงทุนในด้านวัสดุอุปกรณ์และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) และจัดระบบบริหารจัดการที่ดีเท่านั้น
ความภาคภูมิใจที่ได้น้อมนำ�แนวพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มาดำ�เนินการจนประสบผลสำ�เร็จอันเป็นเกียรติยศสูงสุดของชีวิต
	 หลังจากได้ดำ�เนินการจัดการเรียนการสอนได้ 1 ปีการศึกษา สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ได้นำ�ผลงาน ความสำ�เร็จของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี
เขต 1 ที่ดำ�เนินการจัดการศึกษาสนองพระราชดำ�ริของในหลวง ที่ทรงมีพระราชประสงค์พระราชทาน
การศึกษาสู่ปวงชน ลงไว้ในหนังสือ “พระมหากษัตริย์นักพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา” เนื่องในโอกาส
พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 เป็นหน่วยงานทางการศึกษาเดียว
ที่ได้รับการคัดเลือก นับเป็นความภาคภูมิใจสูงสุดที่เกิดจากความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจของผู้บริหารโรงเรียน
คณะครู และบุคลากรทุกคน
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง8
พระมหากษัตริยนักพัฒนา
พระมหากษัตริยนักพัฒนาเพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 9
245
คอสะพาน และที่ต่างๆ ที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ เพื่อให้หญ้าแฝกเป็นก�าแพงที่มีชีวิต เป็นเขื่อนธรรมชาติ
สมกับความรักความเมตตาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือพ่อหลวงของคนไทยที่ทรงเป็นร่มโพธิ์
ร่มไทรของคนบนดอย เสมือนรากหญ้าแฝกที่หยั่งลึกลงในดินให้แข็งแกร่งตราบนานเท่านาน
๗.	การขยายโอกาสทางการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักว่า การศึกษาเป็นปัจจัยส�าคัญในการเสริมสร้าง
และพัฒนาความคิด สติปัญญา ความประพฤติและคุณธรรมของคนในชาติ ซึ่งจะเป็นก�าลังส�าคัญในการ
พัฒนาประเทศต่อไป จึงมีพระราชปณิธานที่จะส่งเสริมการศึกษาให้แพร่หลาย ทั้งในเมืองและในชนบท
ที่ทุรกันดาร โดยเฉพาะแก่เด็กยากจนและด้อยโอกาส เพื่อจะได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป
ในที่นี้ขอน�าเสนอการจัดการเรียนการสอนตามแนวพระราชด�าริ ๒ เรื่อง ได้แก่ มูลนิธิการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียมซึ่งเป็นต้นแบบการบริหารจัดการการศึกษาที่น�าเทคโนโลยีมาช่วยขยายโอกาสทางการ
ศึกษาให้แก่นักเรียนทั่วประเทศและนักเรียนได้มีโอกาสเรียนในมาตรฐานเดียวกันแล้วยังเป็นการบรรเทา
ปัญหาของโรงเรียนในจังหวัดห่างไกล และโรงเรียนในชนบทที่ขาดแคลนครูสอนวิชาเฉพาะ หรือสอนวิชา
สามัญ รวมทั้งได้ถ่ายทอดไปยังโรงเรียนและมหาวิทยาลัยในประเทศต่างๆ อีกด้วย และโรงเรียนพระดาบส
ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้พ้นวัยเรียนหรืออยู่นอกระบบโรงเรียนได้เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพวิชาช่างตามความสนใจ
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง10
246
โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆในโอกาสนี้ส�านักงานฯได้ขอสัมภาษณ์ผู้บริหารอาจารย์และนักเรียนที่ส�าเร็จการศึกษา
ด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียมและโรงเรียนพระดาบส และได้ประกอบอาชีพตามความใฝ่ฝันซึ่งล้วนได้รับ
ประโยชน์สุขอย่างยั่งยืน ซึ่งประสบความส�าเร็จในชีวิตและมีอาชีพมั่นคง มาร่วมเป็นพลังของแผ่นดิน
ต่อไป ดังนี้
๗.๑ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม... ขยายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง
และเท่าเทียม
	๗.๑.๑	นายอนุสรณ์		ฟูเจริญ ผู้อ�านวยการส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต๑
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นครูของแผ่นดินอย่างแท้จริง	
ได้พระราชทานการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจากโรงเรียนวังไกลกังวล	
ซึ่งมีที่เดียวในโลก	ช่วยให้โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี	เขต	๑	จำานวน	๑๔๖	แห่ง	สามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนครู	
และนักเรียนได้เรียนกับครูที่มีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกับโรงเรียนวังไกล
กังวล	ซึ่งปรากฏผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น	โรงเรียนต่างๆ	จึง
สนใจนำาไปใช้แก้ไขปัญหาของโรงเรียน	อันจะช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนให้ได้มาตรฐานและเท่าเทียมกัน	ตามพระราชประสงค์สืบไป
น้อมน�าการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม...
แก้ปัญหาขาดแคลนครู ยกระดับคุณภาพการศึกษา
ปัจจุบัน ประเทศไทยก�าลังเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนครู และครูไม่มีความช�านาญใน
การสอน โดยเฉพาะวิชาส�าคัญๆ อาทิ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เนื่องจากครูส�าเร็จการศึกษา
ไม่ตรงกับวิชาที่สอน
เมื่อ๕-๖ปีก่อนขณะที่ผมท�างานในเขตพื้นที่
การศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๒ ได้มีโอกาสเดินทางไปส�ารวจ
โรงเรียนตามโครงการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม พบว่า
โรงเรียนที่มีครูไม่เพียงพอ สามารถจัดการเรียนการสอน
ให้นักเรียนได้เรียนครบตามหลักสูตร ที่ส�าคัญนักเรียน
มีผลการเรียนดี เมื่อผมมาด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวยการเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๑ จึงได้
ทดลองใช้ระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมประมาณ
๑๐ โรงเรียน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 11
247
การเรียนการสอนโดยรับสัญญาณถ่ายทอดทางไกลผ่านดาวเทียมสู่เครื่องรับโทรทัศน์ที่เรียก
ว่า “ครูตู้” นั้น ช่วยให้นักเรียนได้เรียนกับครูที่มีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกับโรงเรียนวังไกลกังวล
ซึ่งเป็นโรงเรียนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ครูตู้” เป็นครูที่มีความสามารถ ได้รับการคัดสรร
และอบรมมาอย่างดี ใช้สื่อที่ทันสมัย การน�าเทคโนโลยีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานมาใช้
ได้ช่วยแก้ไขปัญหาให้แก่โรงเรียนที่มีครูและงบประมาณไม่เพียงพอได้อย่างแท้จริง
นอกจากนี้ผมยังได้จัดท�าคู่มือครู เพื่อให้ครูที่ดูแลในห้องเรียนทราบว่าจะต้องมีบทบาทอย่างไร
ขณะที่นักเรียนก�าลังเรียนกับครูตู้ ซึ่งครูจะต้องเตรียมการช่วยสอนล่วงหน้า เพื่อให้ค�าแนะน�าแก่นักเรียน
และต้องท�าบันทึกภายหลังการสอนทุกครั้ง เพื่อระบุให้ชัดเจนว่าเด็กคนไหนเรียนไม่ทัน หรือมีปัญหาอะไร
ด�าเนินตามแนวพระราชด�าริ... ใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
เมื่อพบว่าระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่น�ามาทดลองใช้มีประสิทธิภาพดีมาก ผมจึง
ขยายผลไปใช้กับทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต๑รวมจ�านวน๑๔๖โรงเรียน
เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ประเมินผลสัมฤทธิ์... เด็กใฝ่เรียนรู้ ผลการเรียนดีขึ้น
หลังจากนั้น ได้ท�าการศึกษาวิจัยพบว่า นักเรียนมีความ
พึงพอใจที่ได้เรียนกับสื่อภาพและกิจกรรมที่หลากหลาย สร้างความ
สนใจและสนุกสนานในการเรียน ส่วนผู้ปกครองมีความเข้าใจและ
พึงพอใจเมื่อเห็นเด็กสนใจเรียนและมีผลการเรียนดีขึ้น รวมทั้งมีวินัย
และรับผิดชอบในการแสวงหาความรู้
ทั้งนี้ ได้มีผู้บริหารโรงเรียนทั่วประเทศเดินทางมาศึกษาดูงานของโรงเรียนในเขตนี้จ�านวนมาก
เนื่องจากเราจัดการเรียนการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกลทุกโรงเรียน มีโรงเรียนดีเด่นระดับ ๑ ใน ๕
ของประเทศ ที่ได้ค่าเฉลี่ยในวิชาภาษาไทยสูงถึงร้อยละ ๗๕ ขณะที่ค่าเฉลี่ยทั่วประเทศเพียงร้อยละ ๕๐
และมีโรงเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา
๒๕๕๓ ในวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
สูงขึ้นทุกวิชาถึง ๑๐๒ โรงเรียนจากจ�านวนทั้งหมด ๑๔๖
โรงเรียน โดยโรงเรียนที่ประสบความส�าเร็จ จะมีผู้บริหาร
ที่สามารถบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหา
ต่างๆ ได้ดี
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง12
248
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สร้างโอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็กด้อยโอกาส
นอกจากนี้ ผมได้ขยายไปถึงเด็กที่ขาดโอกาสทางการศึกษา เช่น เด็กพิการ เด็กที่มีความ
บกพร่องทางการเรียนรู้ เพื่อให้มีโอกาสเรียนรู้ได้เท่าเทียมกับเด็กปกติ จึงประสานโรงเรียนเพื่อรับทราบ
ข้อมูลเด็กที่มีความต้องการศึกษาต่อด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล และน�าวัสดุอุปกรณ์และสื่อการ
เรียนการสอนส่งมอบให้เรียนที่บ้าน พร้อมจัดส่งครูจิตอาสาเข้าไปช่วยดูแล และให้ค�าแนะน�า
เน้นได้เรียนกับครูพระราชทานและครูในห้องเรียนพร้อมกันถึง ๒ คน
เมื่อผลการเรียนจาก “ครูตู้” เป็นที่ยอมรับ
จึงสื่อสารให้ตระหนักว่าครูคนแรก คือ ครูที่ได้รับ
พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ครูอีกคนคือครูของโรงเรียน ซึ่งมีความยินดีที่ได้ร่วม
ในการสอน ท�าให้นักเรียนได้เรียนกับครูถึง ๒ คน รวม
ทั้งเป็นที่ประจักษ์ชัดว่าโครงการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียมให้ประโยชน์ส�าคัญ ๒ ด้าน คือ หนึ่ง
เด็กทุกคนได้มีโอกาสเรียนครบตามหลักสูตร สอง
เด็กไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ได้เรียนกับครูที่เก่ง มีสื่อการสอนที่ดี และช่วยประหยัดงบประมาณ
ของประเทศด้วย
ส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณ... พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน
ผมส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ได้พระราชทานการ
ศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และโครงการอันเนื่องมา
จากพระราชด�าริต่างๆ แก่พสกนิกรชาวไทย พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นครูของแผ่นดิน พระองค์ไม่
ได้ทรงสอนด้วยค�าพูด แต่ทรงสอนด้วยการปฏิบัติอย่าง
เป็นรูปธรรม ผมขอเชิญชวนทุกท่านร่วมกันถวายความ
จงรักภักดีในโอกาสที่พระองค์ทรงมีพระชนมพรรษา ๘๔
พรรษา ด้วยการตั้งใจท�างาน มุ่งมั่นพัฒนาประเทศชาติ และร่วมกันเผยแพร่พระเกียรติคุณของพระองค์
ที่ทรงสร้างประโยชน์สุขให้แก่ประเทศชาติของเราอย่างอเนกอนันต์
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 13
บทนำ�
	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ตั้งอยู่บนถนนมาลัยแมน
ในอาณาเขตบริเวณวัดป่าเลไลยก์วรวิหารตำ�บลรั้วใหญ่อำ�เภอเมืองสุพรรณบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีมีจำ�นวน
โรงเรียนในความรับผิดชอบจำ�นวน145โรงเรียนเป็นโรงเรียนในอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรีอำ�เภอบางปลาม้า 
และอำ�เภอศรีประจันต์  
	 ในปีการศึกษา  2551-2552 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
ประสบปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน คือ ผลการทดสอบการประเมินคุณภาพการศึกษา
ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การทดสอบ
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน  (Ordinary National Education Test: O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยต่ำ�กว่าร้อยละ 50 และต่ำ�กว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ จากผลการนิเทศ ตรวจเยี่ยมโรงเรียนของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1  พบว่า  
มีจำ�นวนครูไม่เพียงพอ ครูสอนไม่ตรงตามวิชาเอก ครูบางส่วนสอนโดยไม่ใช้สื่อประกอบการจัดการเรียน
การสอน หรือใช้สื่อประกอบการสอนที่ไม่กระตุ้นความสนใจของนักเรียน ขาดการพัฒนารูปแบบ
สื่อการสอนให้ทันสมัย  และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ�กว่าเป้าหมาย  
	 เพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้ดำ�เนินการศึกษาความต้องการจำ�เป็นในการจัดการศึกษาของสำ�นักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต1และพบว่า ความจำ�เป็นในด้านที่ต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน
เป็นลำ�ดับแรก คือ  ด้านผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำ�เป็นตามหลักสูตร สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงได้ดำ�เนินการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยี
การศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1  
สรุปผลการวิจัยและพัฒนา
เรื่อง
รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง14
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
	 1.	 เพื่อศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1 และสภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
	 2.	 เพื่อออกแบบและพัฒนารูปแบบจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
	 3.	 เพื่อทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
	 4.	 เพื่อพัฒนาและปรับปรุงรูปแบบจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
	 5.	 เพื่อใช้และประเมินผลรูปแบบจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย
	 1.	 การศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1 กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย
	 	 1)	 สถานศึกษาในสังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน ครู นักเรียน กรรมการสถานศึกษา รวม 548 คน   
	 	 2)	 ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมปฏิบัติการ ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียนที่ดำ�รงตำ�แหน่ง
ประธาน กลุ่มโรงเรียน ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นหัวหน้างานวิชาการของกลุ่มโรงเรียน และศึกษานิเทศก์
ที่รับผิดชอบ เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวม 29 คน
	 	 3)	 ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำ�นักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำ�นวน 400 คน   
	 	 4)	 ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสัมมนา ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน และครูในสถานศึกษา
สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวม 12 คน  
	 2.	 การออกแบบและพัฒนารูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย
	 	 1)	 ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสนทนากลุ่ม จำ�นวน 9 คน
	 	 2)	 ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ จำ�นวน 17 คน  
	 3.	 การศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย คือ สถานศึกษา จำ�นวน 26 แห่ง
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 15
	 4.	 การพัฒนาและปรับปรุงรูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย
	 	 1)	 ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสนทนากลุ่ม ปรับปรุงรูปแบบ ประกอบด้วย ผู้อำ�นวยการ
โรงเรียน ครู และศึกษานิเทศก์ รวม 16 คน  
	 	 2)	 ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสนทนากลุ่มเพื่อตรวจสอบ ความมีประโยชน์ ความเป็นไปได้       
ความเหมาะสม ความถูกต้อง รวม 12 คน  
	 	 3)	 ผู้ตอบแบบสอบถาม ตรวจสอบความมีประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม
ความถูกต้อง ได้แก่ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ผู้อำ�นวยการโรงเรียน ครู  
รวม 210 คน  
	 5.	 การศึกษาผลการนำ�รูปแบบไปใช้ กลุ่มเป้าหมาย คือ สถานศึกษา จำ�นวน 129 แห่ง
	
ขั้นตอนและเครื่องมือดำ�เนินงานวิจัย
	 ขั้นตอนที่ 1	 ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1 และสภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล โดยใช้  1) แบบสอบถาม  
2) แบบบันทึกการประชุมระดมความคิดเห็น  3) แบบบันทึกการประชุมปฏิบัติการ และ  4)  แบบสัมภาษณ์
	 ขั้นตอนที่ 2	 ศึกษาผลการออกแบบและพัฒนารูปแบบฯ  โดยใช้  1) แบบบันทึกการประชุม
สัมมนา  2) แบบบันทึกการประชุมสนทนากลุ่ม  และ  3) แบบบันทึกการประชุมอิงผู้เชี่ยวชาญ
	 ขั้นตอนที่ 3	 ศึกษาผลการทดลองใช้และประเมินผล โดยใช้เครื่องมือดำ�เนินการวิจัย
ประกอบด้วย 1) คู่มือการใช้รูปแบบ  2) แผนการจัดการเรียนรู้ สำ�หรับดำ�เนินการวิจัย และเครื่องมือ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่  1) แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ  2) แบบทดสอบความรู้
ตามหลักสูตร  3) แบบทดสอบวัดความสามารถพื้นฐานของนักเรียน  4) แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
การเรียนรู้ของนักเรียน  5) แบบสอบถามความคิดเห็น   
	 ขั้นตอนที่ 4	 ศึกษาผลการพัฒนาและปรับปรุง โดยใช้  1) แบบบันทึกการประชุมสนทนากลุ่ม
และ 2) แบบสอบถาม
	 ขั้นตอนที่ 5	 ศึกษาผลการใช้และประเมินผล เครื่องมือดำ�เนินการวิจัย ได้แก่  1) คู่มือ
การใช้รูปแบบ  2) แผนการจัดการเรียนรู้ สำ�หรับดำ�เนินการวิจัย และเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ได้แก่  1) แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ  2) แบบทดสอบความรู้ตามหลักสูตร  3) แบบทดสอบ
วัดความสามารถพื้นฐานของนักเรียน 4) แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน  
5) แบบสอบถามความคิดเห็น
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง16
ผลการวิจัย
	 1.	 สภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
และสภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล  มีดังนี้
	 	 1.1	 สภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี
เขต 1 มีความต้องการจำ�เป็น 5 ลำ�ดับแรก คือ
	 	 	 1)	 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำ�เป็นตามหลักสูตร
	 	 	 2)	 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและรักการเรียนรู้
	 	 	 3)	 จำ�นวนครูเพียงพอ  
	 	 	 4)	 ครูมีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ
	 	 	 5)	 ครูจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ
	 	 1.2	 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล  
	 	 	 1.2.1	 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล จากการวิเคราะห์
เอกสาร มี 9 ประเด็น ได้แก่
	 	 	 	 1)	 การกำ�หนดหลักการ  แนวคิด  และวิสัยทัศน์  
	 	 	 	 2)	 การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษา  
	 	 	 	 3)	 หลักสูตรและโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาทางไกล  
	 	 	 	 4)	 การผลิต/คัดเลือก/พัฒนาสื่อ  
	 	 	 	 5)	 การจัดโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสมสำ�หรับการจัดการศึกษาทางไกล  
	 	 	 	 6)	 การปฏิสัมพันธ์  
	 	 	 	 7)	 การนำ�ไปใช้  
	 	 	 	 8)	 การจัดการเรียนการสอน  
	 	 	 	 9)	 การประเมิน  
	 	 	 1.2.2	 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล จากการสำ�รวจ
โดยใช้แบบสอบถาม พบว่า ในภาพรวมมีการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
อยู่ในระดับมาก  
	 	 	 1.2.3	 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจากการสัมภาษณ์  
มี 3 ประเด็น คือ
	 	 	 	 1)	 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล 3 ลักษณะ คือ
	 	 	 	 	 1.1)	 การจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล โดยใช้สื่อ
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV)
	 	 	 	 	 1.2)	 การจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล โดยใช้สื่อ
วีดิทัศน์ระบบดิจิทัล (Digital Video Disc: DVD)
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 17
	 	 	 	 	 1.3)	 การจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล โดยใช้สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Learning: e-Learning)
	 	 	 	 2)	 ปัจจัยสำ�คัญที่ส่งผลให้ประสบความสำ�เร็จ  
	 	 	 	 3)	 แนวทางการดำ�เนินงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยี
การศึกษาทางไกล
	 2.	 ผลการออกแบบและพัฒนารูปแบบ  มีดังนี้
	 	 2.1	 ผลการออกแบบรูปแบบ ได้ (ร่าง) รูปแบบ มี 5 องค์ประกอบ คือ  
	 	 	 1)	 การกำ�หนดนโยบาย  
	 	 	 2)	 การขับเคลื่อนและสร้างความเข้มแข็ง  
	 	 	 3)	 การจัดการเรียนรู้  
	 	 	 4)	 การนิเทศและติดตาม  
	 	 	 5)	 การประเมินผลและปรับปรุง     
	 	 2.2	 ผลการพัฒนารูปแบบ โดยการประชุมสนทนากลุ่ม (focus group discussion)  และ
การประชุมอิงผู้เชี่ยวชาญ  (connoisseurship) ได้รูปแบบที่พัฒนาแล้ว ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ
	 	 	 1)	 การกำ�หนดนโยบาย  
	 	 	 2)	 การขับเคลื่อนและสร้างความเข้มแข็ง  
	 	 	 3)	 การจัดการเรียนรู้  
	 	 	 4)	 การนิเทศและติดตาม   
	 	 	 5)	 การประเมินผลและปรับปรุง   
	 3.	 ผลการทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบ  พบว่า  
	 	 3.1	 ผลที่เกิดขึ้นกับครู และผู้อำ�นวยการโรงเรียน  คือ
	 	 	 1)	 ภาพรวมของคะแนนความรู้ความเข้าใจในรูปแบบ สูงกว่าก่อนการทดลองใช้
รูปแบบ   
	 	 	 2)	 ความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมาก  
	 	 3.2	 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน  คือ
	 	 	 1)	 ภาพรวมของคะแนนความรู้ตามหลักสูตร สูงกว่าก่อนการทดลองใช้รูปแบบ   
	 	 	 2)	 ความรู้รวบยอดจากการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกัน
คุณภาพผู้เรียน  (National Test: NT) ปีการศึกษา 2555 สูงกว่าปีการศึกษา 2554
	 	 	 3)	 ความสามารถพื้นฐานสูงกว่าเกณฑ์ที่กำ�หนด  
	 	 	 4)	 ระดับพฤติกรรมการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำ�หนด  
	 	 	 5)	 ความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง18
	 4.	 ผลการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบ มีดังนี้
	 	 4.1	 ผลการปรับปรุงรูปแบบโดยการประชุมสนทนากลุ่ม (focus group discussion)
มีฉันทามติ มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน  
	 	 4.2	 ผลการตรวจสอบความมีประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความถูกต้อง
ของรูปแบบ  
	 	 	 1)	 ผลการตรวจสอบโดยการประชุมสนทนากลุ่ม (focus group) มีฉันทามติว่า 
รูปแบบมีความเป็นประโยชน์  ความเป็นไปได้  ความเหมาะสม และความถูกต้อง   
	 	 	 2)	 ผลการตรวจสอบโดยใช้แบบสอบถาม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก   
	 5.	 ผลการใช้และประเมินผลรูปแบบ  พบว่า  
	 	 5.1	 ผลที่เกิดขึ้นกับครูและผู้อำ�นวยการโรงเรียน คือ
	 	 	 1)	 ภาพรวมของคะแนนความรู้ความเข้าใจในรูปแบบ สูงกว่าก่อนการนำ�รูปแบบ
ไปใช้จริง   
	 	 	 2)	 ความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมาก  
	 	 5.2	 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน  คือ
	 	 	 1)	 ภาพรวมของคะแนนความรู้ตามหลักสูตร สูงกว่าก่อนการนำ�รูปแบบไปใช้จริง
	 	 	 2)	 ความรู้รวบยอดจากการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกัน
คุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ปีการศึกษา 2556 สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ   
	 	 	 3)	 ความสามารถพื้นฐาน สูงกว่าร้อยละ  50  
	 	 	 4)	 พฤติกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก   
	 	 	 5)	 ความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  
	 ผลการวิจัย แสดงให้เห็นว่าการดำ�เนินงานของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1 ที่มุ่งเน้นการดำ�เนินงานตามภารกิจ ตามบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
โดยใช้งานวิจัยเป็นฐานนั้น ได้ส่งผลโดยตรงทำ�ให้เกิดการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งเป็นผลผลิตหลักของหน่วยงาน
ได้อย่างเป็นรูปธรรม  
	 ด้วยผลการดำ�เนินงานที่ปรากฏแล้ว จึงสามารถกล่าวได้ว่า  รูปแบบการจัดการศึกษาด้วย
เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1 จัดเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา  และสถานศึกษา
ที่จัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา  ตลอดจนสถานศึกษาทั่วไป สามารถนำ�ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้
ตามขั้นตอนของรูปแบบ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เนื่องจาก รูปแบบ
ดังกล่าวเป็นผลที่ได้จากการดำ�เนินการวิจัยและพัฒนาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1 ที่มีวัตถุประสงค์ต้องการสร้างแนวทางหรือวิธีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ที่มีประสิทธิภาพโดย
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 19
ใช้กระบวนการวิจัย ซึ่งเป็นภารกิจสำ�คัญของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่กำ�หนดไว้ตามกฎหมาย    
ประกอบกับเจตนารมณ์อันมุ่งมั่นของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
ที่มีความประสงค์ให้บังเกิดแนวทาง วิธีการที่มีประสิทธิภาพ ที่หน่วยงานทางการศึกษา ระดับสำ�นักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสถานศึกษาทั่วไป สามารถจะนำ�ไปใช้หรือประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
โดยตรงต่อหน่วยงานเอง ตลอดจน ยังประโยชน์ในภาพรวมแก่สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ที่เป็นองค์กรทางการศึกษาที่สำ�คัญของชาติต่อไป
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง20
รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 21
	 ในปีการศึกษา 2556 โรงเรียนในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจำ�นวน
ทั้งหมด 30,460 โรงเรียน ในจำ�นวนนี้ มีโรงเรียนขนาดเล็ก 15,523 โรงเรียน คิดเป็น ร้อยละ 50.96
ของจำ�นวนโรงเรียนทั้งหมด มีห้องเรียน 91,830 ห้อง จะเห็นได้ว่า  โรงเรียนขนาดเล็ก มีจำ�นวน
เกินครึ่งหนึ่งของโรงเรียนทั้งหมด ซึ่งกระจายอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะในชุมชนเล็ก ๆ และเขตชนบท
ห่างไกล
	 สภาพปัญหาและข้อจำ�กัดที่คล้ายคลึงกันในโรงเรียนขนาดเล็ก คือ ครูไม่ครบชั้น แต่ต้อง
จัดการเรียนการสอน 8 ชั้นเรียน ครูสอนไม่ตรงตามวิชาเอก ครูต้องปฏิบัติงานที่นอกเหนืองานการเรียน
การสอน ทำ�ให้นักเรียนไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้อย่างเต็มตามหลักสูตรและเต็มเวลา อีกทั้ง ความไม่พร้อม
ในด้านปัจจัย และงบประมาณ จึงส่งผลต่อประสิทธิภาพในด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียน
การสอน โดยสะท้อนจากผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา  ที่ปรากฏว่าในการประเมินเพื่อการรับรอง
มาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียน จากสำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 
(สมศ.) ในรอบที่ผ่านมา นั้น ยังมีโรงเรียนที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ซึ่งโดยส่วนใหญ่
เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National
Educational Test: O-NET) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน
(National Test: NT) ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ นอกจากนี้ ยังพบว่าแนวโน้มโรงเรียนขนาดเล็กมีจำ�นวน
เพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราการเกิดของประชากรลดลง สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ไม่สามารถจัดสรรครูเพิ่มให้กับโรงเรียนขนาดเล็กได้ เนื่องจากมีข้อจำ�กัดเรื่องงบประมาณด้านบุคลากร         
ที่ต้องผูกพันงบประมาณในระยะยาว และมาตรการจำ�กัดกำ�ลังคนภาครัฐ ตลอดจนกระแสสังคม
ขาดความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก ทำ�ให้เกิดค่านิยม
การเคลื่อนย้ายเด็กไปเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ หรือโรงเรียนในเมืองมากขึ้น
	 ยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ย่อโลกให้เล็กลง สามารถเข้าถึงความรู้ ข้อมูลข่าวสาร
ได้อย่างรวดเร็วทั่วโลก โดยใช้ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร เช่น ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียม
ระบบอินเทอร์เน็ต ระบบคอมพิวเตอร์ โดยที่หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้นำ�ไปประยุกต์ใช้
อย่างหลากหลาย รวมทั้งโรงเรียนต่าง ๆ ก็ได้นำ�มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานและการจัดการเรียนการ
สอนเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยเช่นกัน
ส่วนที่ 2
การขยายผลการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง22
	 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชปณิธานในการพัฒนาคุณภาพประชาชน
ด้วยการศึกษา  จึงมีพระราชประสงค์พระราชทานการศึกษาเพื่อปวงชนด้วยการจัดการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียม ทรงจัดตั้งมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม แพร่ภาพการเรียนการสอนจากโรงเรียน
วังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ เป็นการให้บริการที่โรงเรียนและประชาชนทั่วไป
สามารถเข้าถึง และเรียนรู้จากการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้อย่างมีคุณภาพทัดเทียมกัน ไม่มีข้อจำ�กัด
แม้ว่าจะอยู่ที่ใด ๆ ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้ดำ�เนินการแก้ปัญหาการศึกษา           
ของโรงเรียนขนาดเล็ก โดยมีการนำ�เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ ประกอบกับเล็งเห็นคุณค่าของการจัด
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และเป็นการสนองงานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จึงได้นำ�การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มาใช้ในการแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัด ภายใต้
โครงการ “พัฒนาการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมเฉลิมพระเกียรติ” ในปี 2552 และได้ทำ�การ
วิจัยและพัฒนา เรื่อง “รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1” เพื่อหารูปแบบการจัด
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่สามารถนำ�มาใช้ในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในปีการศึกษา 
2553-2555 ผลของการวิจัย พบว่าสามารถแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง ทั้งสามารถพัฒนาคุณภาพ
ของโรงเรียนขนาดเล็กได้อย่างเป็นรูปธรรม ชัดเจน
	 คณะรักษาความสงบแห่งชาติในคราวประชุมเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2557 จึงเห็นชอบให้
ขยายผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมตามรูปแบบของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 1 ไปยังโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียน
ตำ�รวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนเอกชนการกุศล จำ�นวน 15,669 โรงเรียนทั่วประเทศ เพื่อช่วย
แก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กที่ประสบปัญหาการมีครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงสาขาวิชาเอก และเป็นการ
เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 5 ธันวาคม 2557
ดังรายละเอียดโครงการต่อไปนี้
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

More Related Content

What's hot

บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
Chainarong Maharak
 
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
jamrat
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5jamrat
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
ครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
SucheraSupapimonwan
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
jamrat
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโกการจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
Sireetorn Buanak
 
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหารแบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
จำรัส สอนกล้า
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Abstract
Abstract Abstract
Abstract
Ornrutai
 
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอนแบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
จำรัส สอนกล้า
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนkrusoon1103
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
Nattapon
 

What's hot (20)

บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
 
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโกการจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหารแบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
 
Abstract
Abstract Abstract
Abstract
 
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอนแบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
Pitima
PitimaPitima
Pitima
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 

Viewers also liked

Word
WordWord
Word
krupairoj
 
05.คู่มือการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโครงการขยายผลการศึกษาทางไก...
05.คู่มือการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโครงการขยายผลการศึกษาทางไก...05.คู่มือการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโครงการขยายผลการศึกษาทางไก...
05.คู่มือการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโครงการขยายผลการศึกษาทางไก...
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
Suppalak Lim
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กKittisak Amthow
 
สมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟ้านักพัฒนา
สมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟ้านักพัฒนาสมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟ้านักพัฒนา
สมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟ้านักพัฒนา
จักรพัฒน์ สมบูรณ์
 
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)จักรพัฒน์ สมบูรณ์
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
KruKaiNui
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (9)

Word
WordWord
Word
 
05.คู่มือการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโครงการขยายผลการศึกษาทางไก...
05.คู่มือการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโครงการขยายผลการศึกษาทางไก...05.คู่มือการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโครงการขยายผลการศึกษาทางไก...
05.คู่มือการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโครงการขยายผลการศึกษาทางไก...
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
สมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟ้านักพัฒนา
สมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟ้านักพัฒนาสมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟ้านักพัฒนา
สมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟ้านักพัฒนา
 
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Similar to 06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1
jamrat sornkla
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลnattaya029
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6Suwakhon Phus
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
Weerachat Martluplao
 
ผลการประกวดผลงานครู สพฐ. ปีการศึกษา 2557
ผลการประกวดผลงานครู สพฐ. ปีการศึกษา 2557ผลการประกวดผลงานครู สพฐ. ปีการศึกษา 2557
ผลการประกวดผลงานครู สพฐ. ปีการศึกษา 2557
Teacher Sophonnawit
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่prangkupk
 
จุดเน้น 6
จุดเน้น  6จุดเน้น  6
จุดเน้น 6
kruchaily
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงสารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
SIRIMAUAN
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
ssuserea9dad1
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 

Similar to 06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (20)

06550135 e learning
06550135 e learning06550135 e learning
06550135 e learning
 
Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
ผลการประกวดผลงานครู สพฐ. ปีการศึกษา 2557
ผลการประกวดผลงานครู สพฐ. ปีการศึกษา 2557ผลการประกวดผลงานครู สพฐ. ปีการศึกษา 2557
ผลการประกวดผลงานครู สพฐ. ปีการศึกษา 2557
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
 
จุดเน้น 6
จุดเน้น  6จุดเน้น  6
จุดเน้น 6
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 3
 
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงสารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. คำ�นำ� เอกสารการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เล่มนี้ เรียบเรียงโดย นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการอบรมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา โครงการขยายผล การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ตลอดจนเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทั้งในระดับสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน และ ห้องเรียน ซึ่งเป็นการนำ�การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไปใช้ในการแก้ปัญหาขาดแคลนครู ครูสอน ไม่ตรงสาขาวิชาเอก ภายในเล่มประกอบด้วย ส่วนที่ 1 การดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่ประสบผลสำ�เร็จ ของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 และส่วนที่ 2 การขยายผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรียน ขนาดเล็กทั่วประเทศ เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและเป็นการเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้เรียบเรียงหวังว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สำ�หรับผู้เข้ารับการอบรมและผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป นำ�หลักการและแนวดำ�เนินการสู่การปฏิบัติในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผล ให้นักเรียน ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลอันมีค่า และเป็นปัจจัยสำ�คัญในการพัฒนาประเทศ ได้รับความรู้และ พัฒนาได้เป็นอย่างดี นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
  • 5.
  • 6. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 1 ความเป็นมา สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีโรงเรียนในสังกัดทั้งสิ้น 145 โรงเรียน จำ�นวนนักเรียนทั้งสิ้น 33,868 คน จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 จากผลการดำ�เนินงานที่ผ่านมา พบว่าผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง (พ.ศ.2549-2551) มีโรงเรียนไม่ผ่านการรับรองมาตรฐาน จำ�นวน 43 โรงเรียน โดยมีมาตรฐานที่ไม่ผ่านการรับรอง สามลำ�ดับแรก ได้แก่ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะที่จำ�เป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียน มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและ มีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ การประเมิน คุณภาพนักเรียนระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2552 พบว่า คะแนนเฉลี่ยในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ) ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 และต่ำ�กว่าค่าเฉลี่ยของระดับประเทศ รวมทั้งผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับเขตพื้นที่การศึกษาสำ�หรับนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่2 ชั้นประถมศึกษาปีที่5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2และชั้นมัธยมศึกษาปีที่5ของทุกโรงเรียน ในเขตพื้นที่การศึกษา (LAS : Local Assessment System) พบว่า คะแนนเฉลี่ยในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 จากการศึกษาหาสาเหตุของปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่ำ�ในสถานศึกษา สังกัดสำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 พบว่า โรงเรียนที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐาน และ โรงเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพนักเรียน ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 ดังกล่าวข้างต้นนั้น จำ�แนกได้เป็นโรงเรียน 3 ขนาด คือ โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ่ ซึ่งมีลักษณะดังนี้ 1) โรงเรียน ขนาดเล็กเป็นโรงเรียนที่มีครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงวุฒิและวิชาเอก ครูไม่ใช้สื่อประกอบการจัดการเรียน การสอน 2) โรงเรียนขนาดกลางเป็นโรงเรียนที่ครูสอนไม่ตรงวุฒิและวิชาเอก และ 3) โรงเรียนขนาดใหญ่ เป็นโรงเรียนที่ไม่มีปัญหาด้านบุคลากร แต่ครูไม่ใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน ประเด็นที่ตรงกัน ในโรงเรียนทั้งสามขนาด คือ ครูไม่ใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน ซึ่งรวมถึงการที่ครูไม่ใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอน ในขณะที่โรงเรียนส่วนใหญ่มีความพร้อมด้านเทคโนโลยีการจัดการศึกษา เช่น จานรับสัญญาณผ่านดาวเทียม เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนที่ 1 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเฉลิมพระเกียรติ
  • 7. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง2 สภาพปัญหาข้างต้นมีปัจจัยสำ�คัญที่ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษาที่สำ�คัญ คือ ประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนของครู และการใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน ปัจจัยสำ�คัญดังกล่าว จำ�เป็นต้องมีวิธีการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ซึ่งส่วนใหญ่มีอุปกรณ์เทคโนโลยี การศึกษาทางไกล แต่ยังไม่สามารถบริหารจัดการเทคโนโลยีการจัดการศึกษาเหล่านั้นให้เอื้อประโยชน์ต่อ การจัดการเรียนการสอนให้กับครูผู้สอนและนักเรียนสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงแสวงหาแนวทางในการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลให้เหมาะสมกับสภาพ บริบทของแต่ละโรงเรียน ในอันที่จะส่งผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น โดยได้ทำ�การวิจัยและพัฒนา เรื่อง “รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1” เพื่อหารูปแบบ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมมาใช้ในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้กำ�หนดนโยบาย ให้ทุกโรงเรียน จัดการเรียนการสอนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือบูรณาการใน 3 ลักษณะ คือ 1. การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) เป็นการจัดการเรียนการสอนโดยรับสัญญาณถ่ายทอดสดจากโรงเรียนวังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ในลักษณะ online 2. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DVD หรือ eDLTV เป็นการจัดการเรียนการสอน โดยใช้สื่อ DVD หรือ eDLTV External Hard disk ซึ่งสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 บันทึกการเรียนการสอนของโรงเรียนวังไกลกังวล ลงใน DVD และ eDLTV External Hard disk ให้โรงเรียนนำ�ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในลักษณะ offline 3. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ e-Learning (Electronics Learning) สำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ได้รวบรวมสื่อจาก eDLTV และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ หลากหลายและครบถ้วนตามเนื้อหาสาระของหลักสูตร เพื่อให้โรงเรียนนำ�ไปใช้จัดการเรียนการสอนได้ทั้ง ในลักษณะ online และ offline วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล 2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น 3. เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
  • 8. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 3 แนวทางดำ�เนินการ 1. จัดทำ�คำ�รับรองการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลผ่านดาวเทียม ระหว่าง สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 กับโรงเรียน 2. จัดทำ�แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกล 3 ลักษณะ คือ DLTV DVD และ e-Learning 3. พัฒนาสื่อและระบบเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล 4. จัดตั้งหน่วยเคลื่อนที่เร็ว (Roving Team) 5. จัดตั้งศูนย์ซ่อมบำ�รุงรักษาประจำ�อำ�เภอ หรือกลุ่มโรงเรียน 6. ผลิตสื่อ DVD ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และครบทุกชั้นเพื่อให้บริการแก่สถานศึกษา 7. จัดตั้งศูนย์ ICT เพื่อเป็นแม่ข่าย และ Clinic Online 8. ประชุมปฏิบัติการจัดทำ�หน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ การใช้สื่อเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล 9. ติดตามผลการดำ�เนินงาน ในระดับโรงเรียนและกลุ่มโรงเรียน โดย ศึกษานิเทศก์ รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำ�นวยการกลุ่ม ประธานกลุ่มและผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษา 10. จัดทำ�วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ผลการดำ�เนินการ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-NET) และการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกัน คุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ค่าเฉลี่ยของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 สูงกว่าค่าเฉลี่ยของระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 จนถึง ปีการศึกษา 2556 2. ในส่วนของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งได้เลือกรูปแบบในการจัดการเรียนการสอน ทั้ง 3 ลักษณะ จำ�นวน 84 โรงเรียน ดังนี้ 2.1 จัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลผ่านดาวเทียม ( DLTV ) 98 โรงเรียน 2.2 จัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลโดยใช้สื่อ DVD 15 โรงเรียน 2.3 จัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลโดยใช้สื่อ DLTV และ DVD 4 โรงเรียน 2.4 จัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( e-Learning ) 28 โรงเรียน โดยทุกโรงเรียนขนาดเล็กทั้ง 84 โรงเรียน มีผลการประเมินคุณภาพสูงขึ้นอย่างชัดเจน ดังแผนภาพต่อไปนี้
  • 9. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง4 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนทั้งหมด สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2556
  • 10. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 5 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนขนาดเล็ก สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2556
  • 11. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง6 ยุทธศาสตร์สำ�คัญของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ที่ทำ�ให้ประสบผลสำ�เร็จ 1. กำ�หนดนโยบายและกลยุทธ์การพัฒนาการศึกษาอย่างชัดเจน 2. สำ�รวจความต้องการของโรงเรียนในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม 3. ประชุมชี้แจงผู้บริหาร ให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดการเรียนการสอนทางไกล ผ่านดาวเทียม 4. พัฒนาบุคลากรของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย 5. นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ สนับสนุนงบประมาณ โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนทางไกล ผ่านดาวเทียมอย่างสม่ำ�เสมอและต่อเนื่อง 6. ประเมินผลการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมทุก ๆ 3 เดือน 7. นำ�ผลการประเมินการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอนมาปรับปรุงแก้ไขและ พัฒนาการดำ�เนินงาน 8. ยกย่อง เชิดชูเกียรติ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงเรียนที่มีผลการบริหารจัดการเป็นเลิศ (Best Practice) ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ ปัจจัยสำ�คัญที่จะทำ�ให้การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลประสบความสำ�เร็จ คือ 1. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี ทางไกลอย่างจริงจังต่อเนื่อง 2. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรมีการนิเทศติดตาม ประเมินผล และเชิดชูเกียรติโรงเรียน ที่การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลได้ประสบผลสำ�เร็จ 3. โรงเรียนที่มีความสนใจในการนำ�การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลมาใช้ควร ศึกษาหาความรู้จากโรงเรียนที่เป็นต้นแบบให้มีความเข้าใจอย่างชัดเจนก่อนการดำ�เนินงาน 4. ผู้บริหารโรงเรียนต้องเป็นผู้นำ�ด้วยความมุ่งมั่น โดยบริหารจัดการ ส่งเสริม และสนับสนุน ให้ใช้การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลในการจัดการเรียนการสอน 5. ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ได้รับมอบหมาย หรือครูในโรงเรียน ดำ�เนินการนิเทศ ติดตามการจัด การเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกลเป็นประจำ�ในลักษณะกัลยาณมิตร 6. ผู้บริหารโรงเรียนต้องสนับสนุน การจัดหาอุปกรณ์ วัสดุ ในการจัดการเรียนการสอนด้วย เทคโนโลยีทางไกล ตลอดจนอำ�นวยความสะดวกให้การใช้การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกล จัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 12. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 7 7. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนต้องพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 8. ครูต้องเตรียมการสอนล่วงหน้าและวางแผนอย่างเป็นระบบทุกขั้นตอน รวมทั้งมอบหมายงาน ให้นักเรียนเตรียมพร้อมในการเรียนครั้งต่อไป 9. ควรมีโทรทัศน์และอุปกรณ์ สำ�รองไว้อย่างน้อย 1 ชุด เพื่อทดแทนได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อ เครื่องเดิมชำ�รุดเสียหาย 10. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนด้วย เทคโนโลยีทางไกลอย่างจริงจัง 11. บุคลากรทุกคน ทุกฝ่าย ตระหนักและเห็นความสำ�คัญ ตลอดจนให้ความร่วมมือดำ�เนินการ อย่างจริงจังต่อเนื่อง บทสรุป 1. ผลดีคือไม่ต้องยุบหรือรวมโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบุตรหลานของประชาชนที่มี ฐานะยากจน จึงมีการต่อต้านทุกครั้งที่มีนโยบายยุบโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดเล็กยังสามารถดำ�รง อยู่ได้โดยมีคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น เด็กในโรงเรียนขนาดเล็กได้เรียนรู้จากสื่อทันสมัยเท่าเทียม กับโรงเรียนขนาดใหญ่หรือโรงเรียนในเมือง 2. เป็นการลงทุนที่คุ้มค่าเมื่อเทียบกับการลงทุนโดยการเพิ่มทรัพยากรบุคคล กล่าวคือ ไม่ต้องเพิ่มครูให้ครบชั้น ซึ่งลงทุนสูงและผูกพันระยะยาว เพียงแต่ลงทุนในด้านวัสดุอุปกรณ์และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) และจัดระบบบริหารจัดการที่ดีเท่านั้น ความภาคภูมิใจที่ได้น้อมนำ�แนวพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาดำ�เนินการจนประสบผลสำ�เร็จอันเป็นเกียรติยศสูงสุดของชีวิต หลังจากได้ดำ�เนินการจัดการเรียนการสอนได้ 1 ปีการศึกษา สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ได้นำ�ผลงาน ความสำ�เร็จของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ที่ดำ�เนินการจัดการศึกษาสนองพระราชดำ�ริของในหลวง ที่ทรงมีพระราชประสงค์พระราชทาน การศึกษาสู่ปวงชน ลงไว้ในหนังสือ “พระมหากษัตริย์นักพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา” เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 เป็นหน่วยงานทางการศึกษาเดียว ที่ได้รับการคัดเลือก นับเป็นความภาคภูมิใจสูงสุดที่เกิดจากความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจของผู้บริหารโรงเรียน คณะครู และบุคลากรทุกคน
  • 14. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 9 245 คอสะพาน และที่ต่างๆ ที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ เพื่อให้หญ้าแฝกเป็นก�าแพงที่มีชีวิต เป็นเขื่อนธรรมชาติ สมกับความรักความเมตตาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือพ่อหลวงของคนไทยที่ทรงเป็นร่มโพธิ์ ร่มไทรของคนบนดอย เสมือนรากหญ้าแฝกที่หยั่งลึกลงในดินให้แข็งแกร่งตราบนานเท่านาน ๗. การขยายโอกาสทางการศึกษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักว่า การศึกษาเป็นปัจจัยส�าคัญในการเสริมสร้าง และพัฒนาความคิด สติปัญญา ความประพฤติและคุณธรรมของคนในชาติ ซึ่งจะเป็นก�าลังส�าคัญในการ พัฒนาประเทศต่อไป จึงมีพระราชปณิธานที่จะส่งเสริมการศึกษาให้แพร่หลาย ทั้งในเมืองและในชนบท ที่ทุรกันดาร โดยเฉพาะแก่เด็กยากจนและด้อยโอกาส เพื่อจะได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป ในที่นี้ขอน�าเสนอการจัดการเรียนการสอนตามแนวพระราชด�าริ ๒ เรื่อง ได้แก่ มูลนิธิการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมซึ่งเป็นต้นแบบการบริหารจัดการการศึกษาที่น�าเทคโนโลยีมาช่วยขยายโอกาสทางการ ศึกษาให้แก่นักเรียนทั่วประเทศและนักเรียนได้มีโอกาสเรียนในมาตรฐานเดียวกันแล้วยังเป็นการบรรเทา ปัญหาของโรงเรียนในจังหวัดห่างไกล และโรงเรียนในชนบทที่ขาดแคลนครูสอนวิชาเฉพาะ หรือสอนวิชา สามัญ รวมทั้งได้ถ่ายทอดไปยังโรงเรียนและมหาวิทยาลัยในประเทศต่างๆ อีกด้วย และโรงเรียนพระดาบส ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้พ้นวัยเรียนหรืออยู่นอกระบบโรงเรียนได้เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพวิชาช่างตามความสนใจ
  • 15. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง10 246 โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆในโอกาสนี้ส�านักงานฯได้ขอสัมภาษณ์ผู้บริหารอาจารย์และนักเรียนที่ส�าเร็จการศึกษา ด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียมและโรงเรียนพระดาบส และได้ประกอบอาชีพตามความใฝ่ฝันซึ่งล้วนได้รับ ประโยชน์สุขอย่างยั่งยืน ซึ่งประสบความส�าเร็จในชีวิตและมีอาชีพมั่นคง มาร่วมเป็นพลังของแผ่นดิน ต่อไป ดังนี้ ๗.๑ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม... ขยายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และเท่าเทียม ๗.๑.๑ นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ ผู้อ�านวยการส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นครูของแผ่นดินอย่างแท้จริง ได้พระราชทานการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจากโรงเรียนวังไกลกังวล ซึ่งมีที่เดียวในโลก ช่วยให้โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต ๑ จำานวน ๑๔๖ แห่ง สามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนครู และนักเรียนได้เรียนกับครูที่มีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกับโรงเรียนวังไกล กังวล ซึ่งปรากฏผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น โรงเรียนต่างๆ จึง สนใจนำาไปใช้แก้ไขปัญหาของโรงเรียน อันจะช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนให้ได้มาตรฐานและเท่าเทียมกัน ตามพระราชประสงค์สืบไป น้อมน�าการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม... แก้ปัญหาขาดแคลนครู ยกระดับคุณภาพการศึกษา ปัจจุบัน ประเทศไทยก�าลังเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนครู และครูไม่มีความช�านาญใน การสอน โดยเฉพาะวิชาส�าคัญๆ อาทิ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เนื่องจากครูส�าเร็จการศึกษา ไม่ตรงกับวิชาที่สอน เมื่อ๕-๖ปีก่อนขณะที่ผมท�างานในเขตพื้นที่ การศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๒ ได้มีโอกาสเดินทางไปส�ารวจ โรงเรียนตามโครงการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม พบว่า โรงเรียนที่มีครูไม่เพียงพอ สามารถจัดการเรียนการสอน ให้นักเรียนได้เรียนครบตามหลักสูตร ที่ส�าคัญนักเรียน มีผลการเรียนดี เมื่อผมมาด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวยการเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๑ จึงได้ ทดลองใช้ระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมประมาณ ๑๐ โรงเรียน
  • 16. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 11 247 การเรียนการสอนโดยรับสัญญาณถ่ายทอดทางไกลผ่านดาวเทียมสู่เครื่องรับโทรทัศน์ที่เรียก ว่า “ครูตู้” นั้น ช่วยให้นักเรียนได้เรียนกับครูที่มีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกับโรงเรียนวังไกลกังวล ซึ่งเป็นโรงเรียนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ครูตู้” เป็นครูที่มีความสามารถ ได้รับการคัดสรร และอบรมมาอย่างดี ใช้สื่อที่ทันสมัย การน�าเทคโนโลยีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานมาใช้ ได้ช่วยแก้ไขปัญหาให้แก่โรงเรียนที่มีครูและงบประมาณไม่เพียงพอได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้ผมยังได้จัดท�าคู่มือครู เพื่อให้ครูที่ดูแลในห้องเรียนทราบว่าจะต้องมีบทบาทอย่างไร ขณะที่นักเรียนก�าลังเรียนกับครูตู้ ซึ่งครูจะต้องเตรียมการช่วยสอนล่วงหน้า เพื่อให้ค�าแนะน�าแก่นักเรียน และต้องท�าบันทึกภายหลังการสอนทุกครั้ง เพื่อระบุให้ชัดเจนว่าเด็กคนไหนเรียนไม่ทัน หรือมีปัญหาอะไร ด�าเนินตามแนวพระราชด�าริ... ใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน เมื่อพบว่าระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่น�ามาทดลองใช้มีประสิทธิภาพดีมาก ผมจึง ขยายผลไปใช้กับทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต๑รวมจ�านวน๑๔๖โรงเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประเมินผลสัมฤทธิ์... เด็กใฝ่เรียนรู้ ผลการเรียนดีขึ้น หลังจากนั้น ได้ท�าการศึกษาวิจัยพบว่า นักเรียนมีความ พึงพอใจที่ได้เรียนกับสื่อภาพและกิจกรรมที่หลากหลาย สร้างความ สนใจและสนุกสนานในการเรียน ส่วนผู้ปกครองมีความเข้าใจและ พึงพอใจเมื่อเห็นเด็กสนใจเรียนและมีผลการเรียนดีขึ้น รวมทั้งมีวินัย และรับผิดชอบในการแสวงหาความรู้ ทั้งนี้ ได้มีผู้บริหารโรงเรียนทั่วประเทศเดินทางมาศึกษาดูงานของโรงเรียนในเขตนี้จ�านวนมาก เนื่องจากเราจัดการเรียนการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกลทุกโรงเรียน มีโรงเรียนดีเด่นระดับ ๑ ใน ๕ ของประเทศ ที่ได้ค่าเฉลี่ยในวิชาภาษาไทยสูงถึงร้อยละ ๗๕ ขณะที่ค่าเฉลี่ยทั่วประเทศเพียงร้อยละ ๕๐ และมีโรงเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ในวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สูงขึ้นทุกวิชาถึง ๑๐๒ โรงเรียนจากจ�านวนทั้งหมด ๑๔๖ โรงเรียน โดยโรงเรียนที่ประสบความส�าเร็จ จะมีผู้บริหาร ที่สามารถบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหา ต่างๆ ได้ดี
  • 17. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง12 248 การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สร้างโอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็กด้อยโอกาส นอกจากนี้ ผมได้ขยายไปถึงเด็กที่ขาดโอกาสทางการศึกษา เช่น เด็กพิการ เด็กที่มีความ บกพร่องทางการเรียนรู้ เพื่อให้มีโอกาสเรียนรู้ได้เท่าเทียมกับเด็กปกติ จึงประสานโรงเรียนเพื่อรับทราบ ข้อมูลเด็กที่มีความต้องการศึกษาต่อด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล และน�าวัสดุอุปกรณ์และสื่อการ เรียนการสอนส่งมอบให้เรียนที่บ้าน พร้อมจัดส่งครูจิตอาสาเข้าไปช่วยดูแล และให้ค�าแนะน�า เน้นได้เรียนกับครูพระราชทานและครูในห้องเรียนพร้อมกันถึง ๒ คน เมื่อผลการเรียนจาก “ครูตู้” เป็นที่ยอมรับ จึงสื่อสารให้ตระหนักว่าครูคนแรก คือ ครูที่ได้รับ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ครูอีกคนคือครูของโรงเรียน ซึ่งมีความยินดีที่ได้ร่วม ในการสอน ท�าให้นักเรียนได้เรียนกับครูถึง ๒ คน รวม ทั้งเป็นที่ประจักษ์ชัดว่าโครงการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมให้ประโยชน์ส�าคัญ ๒ ด้าน คือ หนึ่ง เด็กทุกคนได้มีโอกาสเรียนครบตามหลักสูตร สอง เด็กไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ได้เรียนกับครูที่เก่ง มีสื่อการสอนที่ดี และช่วยประหยัดงบประมาณ ของประเทศด้วย ส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณ... พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน ผมส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ได้พระราชทานการ ศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และโครงการอันเนื่องมา จากพระราชด�าริต่างๆ แก่พสกนิกรชาวไทย พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นครูของแผ่นดิน พระองค์ไม่ ได้ทรงสอนด้วยค�าพูด แต่ทรงสอนด้วยการปฏิบัติอย่าง เป็นรูปธรรม ผมขอเชิญชวนทุกท่านร่วมกันถวายความ จงรักภักดีในโอกาสที่พระองค์ทรงมีพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา ด้วยการตั้งใจท�างาน มุ่งมั่นพัฒนาประเทศชาติ และร่วมกันเผยแพร่พระเกียรติคุณของพระองค์ ที่ทรงสร้างประโยชน์สุขให้แก่ประเทศชาติของเราอย่างอเนกอนันต์
  • 18. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 13 บทนำ� สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ตั้งอยู่บนถนนมาลัยแมน ในอาณาเขตบริเวณวัดป่าเลไลยก์วรวิหารตำ�บลรั้วใหญ่อำ�เภอเมืองสุพรรณบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีมีจำ�นวน โรงเรียนในความรับผิดชอบจำ�นวน145โรงเรียนเป็นโรงเรียนในอำ�เภอเมืองสุพรรณบุรีอำ�เภอบางปลาม้า และอำ�เภอศรีประจันต์ ในปีการศึกษา 2551-2552 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ประสบปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน คือ ผลการทดสอบการประเมินคุณภาพการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การทดสอบ การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test: O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยต่ำ�กว่าร้อยละ 50 และต่ำ�กว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ จากผลการนิเทศ ตรวจเยี่ยมโรงเรียนของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 พบว่า มีจำ�นวนครูไม่เพียงพอ ครูสอนไม่ตรงตามวิชาเอก ครูบางส่วนสอนโดยไม่ใช้สื่อประกอบการจัดการเรียน การสอน หรือใช้สื่อประกอบการสอนที่ไม่กระตุ้นความสนใจของนักเรียน ขาดการพัฒนารูปแบบ สื่อการสอนให้ทันสมัย และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ�กว่าเป้าหมาย เพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้ดำ�เนินการศึกษาความต้องการจำ�เป็นในการจัดการศึกษาของสำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต1และพบว่า ความจำ�เป็นในด้านที่ต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน เป็นลำ�ดับแรก คือ ด้านผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำ�เป็นตามหลักสูตร สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงได้ดำ�เนินการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 สรุปผลการวิจัยและพัฒนา เรื่อง รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
  • 19. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง14 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 และสภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล 2. เพื่อออกแบบและพัฒนารูปแบบจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 3. เพื่อทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 4. เพื่อพัฒนาและปรับปรุงรูปแบบจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 5. เพื่อใช้และประเมินผลรูปแบบจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย 1. การศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) สถานศึกษาในสังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน ครู นักเรียน กรรมการสถานศึกษา รวม 548 คน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมปฏิบัติการ ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียนที่ดำ�รงตำ�แหน่ง ประธาน กลุ่มโรงเรียน ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นหัวหน้างานวิชาการของกลุ่มโรงเรียน และศึกษานิเทศก์ ที่รับผิดชอบ เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวม 29 คน 3) ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำ�นวน 400 คน 4) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสัมมนา ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน และครูในสถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวม 12 คน 2. การออกแบบและพัฒนารูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสนทนากลุ่ม จำ�นวน 9 คน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ จำ�นวน 17 คน 3. การศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย คือ สถานศึกษา จำ�นวน 26 แห่ง
  • 20. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 15 4. การพัฒนาและปรับปรุงรูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสนทนากลุ่ม ปรับปรุงรูปแบบ ประกอบด้วย ผู้อำ�นวยการ โรงเรียน ครู และศึกษานิเทศก์ รวม 16 คน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสนทนากลุ่มเพื่อตรวจสอบ ความมีประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม ความถูกต้อง รวม 12 คน 3) ผู้ตอบแบบสอบถาม ตรวจสอบความมีประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม ความถูกต้อง ได้แก่ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ผู้อำ�นวยการโรงเรียน ครู รวม 210 คน 5. การศึกษาผลการนำ�รูปแบบไปใช้ กลุ่มเป้าหมาย คือ สถานศึกษา จำ�นวน 129 แห่ง ขั้นตอนและเครื่องมือดำ�เนินงานวิจัย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 และสภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล โดยใช้ 1) แบบสอบถาม 2) แบบบันทึกการประชุมระดมความคิดเห็น 3) แบบบันทึกการประชุมปฏิบัติการ และ 4) แบบสัมภาษณ์ ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาผลการออกแบบและพัฒนารูปแบบฯ โดยใช้ 1) แบบบันทึกการประชุม สัมมนา 2) แบบบันทึกการประชุมสนทนากลุ่ม และ 3) แบบบันทึกการประชุมอิงผู้เชี่ยวชาญ ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาผลการทดลองใช้และประเมินผล โดยใช้เครื่องมือดำ�เนินการวิจัย ประกอบด้วย 1) คู่มือการใช้รูปแบบ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ สำ�หรับดำ�เนินการวิจัย และเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ 2) แบบทดสอบความรู้ ตามหลักสูตร 3) แบบทดสอบวัดความสามารถพื้นฐานของนักเรียน 4) แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้ของนักเรียน 5) แบบสอบถามความคิดเห็น ขั้นตอนที่ 4 ศึกษาผลการพัฒนาและปรับปรุง โดยใช้ 1) แบบบันทึกการประชุมสนทนากลุ่ม และ 2) แบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 5 ศึกษาผลการใช้และประเมินผล เครื่องมือดำ�เนินการวิจัย ได้แก่ 1) คู่มือ การใช้รูปแบบ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ สำ�หรับดำ�เนินการวิจัย และเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ 2) แบบทดสอบความรู้ตามหลักสูตร 3) แบบทดสอบ วัดความสามารถพื้นฐานของนักเรียน 4) แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน 5) แบบสอบถามความคิดเห็น
  • 21. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง16 ผลการวิจัย 1. สภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 และสภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล มีดังนี้ 1.1 สภาพการจัดการศึกษาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีความต้องการจำ�เป็น 5 ลำ�ดับแรก คือ 1) ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำ�เป็นตามหลักสูตร 2) ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและรักการเรียนรู้ 3) จำ�นวนครูเพียงพอ 4) ครูมีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ 5) ครูจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ 1.2 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล 1.2.1 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล จากการวิเคราะห์ เอกสาร มี 9 ประเด็น ได้แก่ 1) การกำ�หนดหลักการ แนวคิด และวิสัยทัศน์ 2) การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษา 3) หลักสูตรและโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาทางไกล 4) การผลิต/คัดเลือก/พัฒนาสื่อ 5) การจัดโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสมสำ�หรับการจัดการศึกษาทางไกล 6) การปฏิสัมพันธ์ 7) การนำ�ไปใช้ 8) การจัดการเรียนการสอน 9) การประเมิน 1.2.2 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล จากการสำ�รวจ โดยใช้แบบสอบถาม พบว่า ในภาพรวมมีการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล อยู่ในระดับมาก 1.2.3 สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจากการสัมภาษณ์ มี 3 ประเด็น คือ 1) สภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล 3 ลักษณะ คือ 1.1) การจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล โดยใช้สื่อ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) 1.2) การจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล โดยใช้สื่อ วีดิทัศน์ระบบดิจิทัล (Digital Video Disc: DVD)
  • 22. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 17 1.3) การจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล โดยใช้สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Learning: e-Learning) 2) ปัจจัยสำ�คัญที่ส่งผลให้ประสบความสำ�เร็จ 3) แนวทางการดำ�เนินงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล 2. ผลการออกแบบและพัฒนารูปแบบ มีดังนี้ 2.1 ผลการออกแบบรูปแบบ ได้ (ร่าง) รูปแบบ มี 5 องค์ประกอบ คือ 1) การกำ�หนดนโยบาย 2) การขับเคลื่อนและสร้างความเข้มแข็ง 3) การจัดการเรียนรู้ 4) การนิเทศและติดตาม 5) การประเมินผลและปรับปรุง 2.2 ผลการพัฒนารูปแบบ โดยการประชุมสนทนากลุ่ม (focus group discussion) และ การประชุมอิงผู้เชี่ยวชาญ (connoisseurship) ได้รูปแบบที่พัฒนาแล้ว ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) การกำ�หนดนโยบาย 2) การขับเคลื่อนและสร้างความเข้มแข็ง 3) การจัดการเรียนรู้ 4) การนิเทศและติดตาม 5) การประเมินผลและปรับปรุง 3. ผลการทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบ พบว่า 3.1 ผลที่เกิดขึ้นกับครู และผู้อำ�นวยการโรงเรียน คือ 1) ภาพรวมของคะแนนความรู้ความเข้าใจในรูปแบบ สูงกว่าก่อนการทดลองใช้ รูปแบบ 2) ความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมาก 3.2 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน คือ 1) ภาพรวมของคะแนนความรู้ตามหลักสูตร สูงกว่าก่อนการทดลองใช้รูปแบบ 2) ความรู้รวบยอดจากการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกัน คุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ปีการศึกษา 2555 สูงกว่าปีการศึกษา 2554 3) ความสามารถพื้นฐานสูงกว่าเกณฑ์ที่กำ�หนด 4) ระดับพฤติกรรมการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำ�หนด 5) ความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
  • 23. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง18 4. ผลการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบ มีดังนี้ 4.1 ผลการปรับปรุงรูปแบบโดยการประชุมสนทนากลุ่ม (focus group discussion) มีฉันทามติ มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน 4.2 ผลการตรวจสอบความมีประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความถูกต้อง ของรูปแบบ 1) ผลการตรวจสอบโดยการประชุมสนทนากลุ่ม (focus group) มีฉันทามติว่า รูปแบบมีความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความถูกต้อง 2) ผลการตรวจสอบโดยใช้แบบสอบถาม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 5. ผลการใช้และประเมินผลรูปแบบ พบว่า 5.1 ผลที่เกิดขึ้นกับครูและผู้อำ�นวยการโรงเรียน คือ 1) ภาพรวมของคะแนนความรู้ความเข้าใจในรูปแบบ สูงกว่าก่อนการนำ�รูปแบบ ไปใช้จริง 2) ความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมาก 5.2 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน คือ 1) ภาพรวมของคะแนนความรู้ตามหลักสูตร สูงกว่าก่อนการนำ�รูปแบบไปใช้จริง 2) ความรู้รวบยอดจากการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกัน คุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ปีการศึกษา 2556 สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 3) ความสามารถพื้นฐาน สูงกว่าร้อยละ 50 4) พฤติกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 5) ความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการวิจัย แสดงให้เห็นว่าการดำ�เนินงานของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 ที่มุ่งเน้นการดำ�เนินงานตามภารกิจ ตามบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้งานวิจัยเป็นฐานนั้น ได้ส่งผลโดยตรงทำ�ให้เกิดการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งเป็นผลผลิตหลักของหน่วยงาน ได้อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยผลการดำ�เนินงานที่ปรากฏแล้ว จึงสามารถกล่าวได้ว่า รูปแบบการจัดการศึกษาด้วย เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 จัดเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสถานศึกษา ที่จัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา ตลอดจนสถานศึกษาทั่วไป สามารถนำ�ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ ตามขั้นตอนของรูปแบบ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เนื่องจาก รูปแบบ ดังกล่าวเป็นผลที่ได้จากการดำ�เนินการวิจัยและพัฒนาของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 ที่มีวัตถุประสงค์ต้องการสร้างแนวทางหรือวิธีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ที่มีประสิทธิภาพโดย
  • 24. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 19 ใช้กระบวนการวิจัย ซึ่งเป็นภารกิจสำ�คัญของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่กำ�หนดไว้ตามกฎหมาย ประกอบกับเจตนารมณ์อันมุ่งมั่นของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ที่มีความประสงค์ให้บังเกิดแนวทาง วิธีการที่มีประสิทธิภาพ ที่หน่วยงานทางการศึกษา ระดับสำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสถานศึกษาทั่วไป สามารถจะนำ�ไปใช้หรือประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยตรงต่อหน่วยงานเอง ตลอดจน ยังประโยชน์ในภาพรวมแก่สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ที่เป็นองค์กรทางการศึกษาที่สำ�คัญของชาติต่อไป
  • 25. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง20 รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
  • 26. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 21 ในปีการศึกษา 2556 โรงเรียนในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจำ�นวน ทั้งหมด 30,460 โรงเรียน ในจำ�นวนนี้ มีโรงเรียนขนาดเล็ก 15,523 โรงเรียน คิดเป็น ร้อยละ 50.96 ของจำ�นวนโรงเรียนทั้งหมด มีห้องเรียน 91,830 ห้อง จะเห็นได้ว่า โรงเรียนขนาดเล็ก มีจำ�นวน เกินครึ่งหนึ่งของโรงเรียนทั้งหมด ซึ่งกระจายอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะในชุมชนเล็ก ๆ และเขตชนบท ห่างไกล สภาพปัญหาและข้อจำ�กัดที่คล้ายคลึงกันในโรงเรียนขนาดเล็ก คือ ครูไม่ครบชั้น แต่ต้อง จัดการเรียนการสอน 8 ชั้นเรียน ครูสอนไม่ตรงตามวิชาเอก ครูต้องปฏิบัติงานที่นอกเหนืองานการเรียน การสอน ทำ�ให้นักเรียนไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้อย่างเต็มตามหลักสูตรและเต็มเวลา อีกทั้ง ความไม่พร้อม ในด้านปัจจัย และงบประมาณ จึงส่งผลต่อประสิทธิภาพในด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียน การสอน โดยสะท้อนจากผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา ที่ปรากฏว่าในการประเมินเพื่อการรับรอง มาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียน จากสำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในรอบที่ผ่านมา นั้น ยังมีโรงเรียนที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ซึ่งโดยส่วนใหญ่ เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-NET) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ นอกจากนี้ ยังพบว่าแนวโน้มโรงเรียนขนาดเล็กมีจำ�นวน เพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราการเกิดของประชากรลดลง สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่สามารถจัดสรรครูเพิ่มให้กับโรงเรียนขนาดเล็กได้ เนื่องจากมีข้อจำ�กัดเรื่องงบประมาณด้านบุคลากร ที่ต้องผูกพันงบประมาณในระยะยาว และมาตรการจำ�กัดกำ�ลังคนภาครัฐ ตลอดจนกระแสสังคม ขาดความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก ทำ�ให้เกิดค่านิยม การเคลื่อนย้ายเด็กไปเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่ หรือโรงเรียนในเมืองมากขึ้น ยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ย่อโลกให้เล็กลง สามารถเข้าถึงความรู้ ข้อมูลข่าวสาร ได้อย่างรวดเร็วทั่วโลก โดยใช้ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร เช่น ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียม ระบบอินเทอร์เน็ต ระบบคอมพิวเตอร์ โดยที่หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้นำ�ไปประยุกต์ใช้ อย่างหลากหลาย รวมทั้งโรงเรียนต่าง ๆ ก็ได้นำ�มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานและการจัดการเรียนการ สอนเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยเช่นกัน ส่วนที่ 2 การขยายผลการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
  • 27. ตามรอยเท้าพ่อ อยู่อย่างพอเพียง22 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชปณิธานในการพัฒนาคุณภาพประชาชน ด้วยการศึกษา จึงมีพระราชประสงค์พระราชทานการศึกษาเพื่อปวงชนด้วยการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม ทรงจัดตั้งมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม แพร่ภาพการเรียนการสอนจากโรงเรียน วังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ เป็นการให้บริการที่โรงเรียนและประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึง และเรียนรู้จากการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้อย่างมีคุณภาพทัดเทียมกัน ไม่มีข้อจำ�กัด แม้ว่าจะอยู่ที่ใด ๆ ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้ดำ�เนินการแก้ปัญหาการศึกษา ของโรงเรียนขนาดเล็ก โดยมีการนำ�เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ ประกอบกับเล็งเห็นคุณค่าของการจัด การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และเป็นการสนองงานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้นำ�การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มาใช้ในการแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัด ภายใต้ โครงการ “พัฒนาการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมเฉลิมพระเกียรติ” ในปี 2552 และได้ทำ�การ วิจัยและพัฒนา เรื่อง “รูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1” เพื่อหารูปแบบการจัด การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่สามารถนำ�มาใช้ในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในปีการศึกษา 2553-2555 ผลของการวิจัย พบว่าสามารถแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง ทั้งสามารถพัฒนาคุณภาพ ของโรงเรียนขนาดเล็กได้อย่างเป็นรูปธรรม ชัดเจน คณะรักษาความสงบแห่งชาติในคราวประชุมเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2557 จึงเห็นชอบให้ ขยายผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมตามรูปแบบของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 ไปยังโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียน ตำ�รวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนเอกชนการกุศล จำ�นวน 15,669 โรงเรียนทั่วประเทศ เพื่อช่วย แก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กที่ประสบปัญหาการมีครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงสาขาวิชาเอก และเป็นการ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 5 ธันวาคม 2557 ดังรายละเอียดโครงการต่อไปนี้