SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
ใบความรู้ที่ 4 .1 
เรื่อง การสร้างโครงสร้างฐานข้อมูล 
1. การสร้างฐานข้อมูล 
การสร้างโครงสร้างฐานข้อมูลเป็นงานแรกของการสร้างฐานข้อมูลใดๆ ซึ่งจะมีกิจกรรมการ 
เก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล และการจัดเตรียมข้อมูล สำหรับกรณีศึกษาการพัฒนาระบบ 
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การเก็บข้อมูลของหนังสือทีมีอยู่ทั้งหมด ข้อมูลที่เก็บก็จะเป็นข้อมูล 
ที่ต้องการใช้ คือ ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง จำนวนเล่ม สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกที่ต้องจัดทำแบบฟอร์ม 
ข้อมูลที่ต้องการใช้ในการรับสมัคร เมื่อได้ข้อมูลมาก็ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องและความ 
ครบถ้วนของข้อมูลกิจกรรมการจัดเตรียมข้อมูลสำหรับระบบจัดการข้อมูลใดๆ ในคอมพิวเตอร์จะ 
ประกอบด้วยงานดังต่อไปนี้ 
- การกำหนดโครงสร้างตาราง 
- การกำหนดกุญแจหลัก (Primary Key) ให้กับตาราง 
- การกำหนดความสัมพันธ์ (Relationship) ระหว่างตาราง 
1.1 การกำหนดโครงสร้างตาราง 
แต่ละตารางมีข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อเรื่องเดียวกัน และแต่ละเขตข้อมูล ในตารางมีข้อมูลส่วน 
บุคคลที่เป็นจริง เกี่ยวกับเนื้อเรื่องของตารางนั้น เช่น ตารางข้อมูลสมาชิกห้องสมุด ประกอบด้วย เขต 
ข้อมูลรหัสสมาชิกเขตข้อมูลชื่อ เขตข้อมูลเลขที่ประจำตัว เขตข้อมูลชั้นเรียน 
ในการกำหนดโครงสร้างตาราง เราจะต้องกำหนดชื่อที่เราจะใช้แทนแต่ละเขตข้อมูล ชนิด 
ของข้อมูล ขนาดที่ใช้ในการจัดเก็บไว้ในส่วนที่เป็นพจนานุกรมข้อมูลของระบบการจัดการฐานข้อมูล 
ซึ่งในบางระบบเราสามารถกรอกคำอธิบายสั้นๆ ให้กับแต่ละเขตข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการแก้ไข 
ระบบในภายหลังได้ 
ระบบการจัดการฐานข้อมูลใน Microsoft Access 2007 มีชนิดของข้อมูลให้เราเลือกใช้ 
ได้ ดังนี้ 
ชนิดข้อมูล ขนาด ใช้สำหรับ 
Text สูงสุด 255 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -1- 
ตัวอักษร 
ตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายต่างๆ ที่ไม่ได้ใช้ในการคำนวณ 
อย่างเช่น หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขประจำชิ้นส่วน หรือรหัสไปรษณีย์ 
Memo สูงสุด 65,635 
ตัวอักษร 
ข้อความและตัวเลขที่มีขนาดยาวมาก อย่างเช่น หมายเหตุหรือคำอธิบาย 
Number 1 – 8 ไบท์ ข้อมูลทางตัวเลขที่ใช้สำหรับการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์ ทั้งจำนวนเต็ม 
หรือทศนิยม ยกเว้นการคำนวณที่เกี่ยวข้องกับเงิน (ใช้ชนิด Currency ) 
ให้ตั้งค่าคุณสมบัติ FieldSize เมื่อต้องการกำหนดชนิด Number ให้ 
แน่นอนลงไป 
Date/Time 8 ไบท์ วันที่และเวลาซึ่งมีรูปแบบการแสดงผลหลายแบบ และสามารถกำหนด 
แบบของการแสดงผลเองได้
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
ชนิดข้อมูล ขนาด ใช้สำหรับ 
Currency 8 ไบท์ เก็บข้อมูลที่เป็นจำนวนเงิน เพื่อป้องกันเรื่องการปัดเศษทศนิยม ระดับ 
ความแม่นยำคือ 15 หลักทางซ้ายของจุดทศนิยมและ 4 หลักทางขวามือ 
AutoNumber 4 Byte กำหนดตัวเลขที่เรียงลำดับต่อเนื่องกันโดยอัตโนมัติ โดยโปรแกรม 
Yes/No 1 บิท เป็นข้อมูลแบบบูลีน ที่มีเพียงค่าใดค่าหนึ่งใน 2 ค่า สามารถกำหนด 
รูปแบบในการแสดงผลเป็น Yes/No, True/False หรือ On/Off ก็ได้ 
OLE Object 1 GB เป็นชนิดข้อมูลที่ใช้เก็บออบเจ็กต์ เช่น รูปภาพ แผนภูมิ เสียง เป็นต้น 
Hyperlink สูงสุด 2,048 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -2- 
ตัวอักษร 
เป็นชนิดข้อมูลที่เก็บที่อยู่หรือจุดเชื่อมโยงของไฟล์ในระบบอินเทอร์เน็ต 
หรืออินทราเน็ต 
Lookup 
Wizard 4 ไบท์ เป็นชนิดข้อมูลที่ดึงข้อมูลจากฟิลด์อื่นในตาราง 
Attachment 
เป็นชนิดข้อมูลที่เพิ่มเข้ามาใหม่ ซึ่งเก็บเอกสารและแฟ้มไบนารีทุกชนิดใน 
ฐานข้อมูล เช่น เอกสาร Word, Excel หรือไฟล์ประเภทอื่นที่สนับสนุน 
การนำเข้าสู่เรคอร์ดในฐานข้อมูลเหมือนกับการแนบไฟล์ไปกับอีเมล ซึ่ง 
จะดีกว่า OLE Object คือข้อมูลจะถูกบีบอัดอย่างเหมาะสม ไม่ทำให้ 
ฐานข้อมูลใหญ่เกินไป 
1.2 การกำหนดกุญแจหลัก (Primary Key) ให้กับตาราง 
ในการสร้างตารางแต่ละตารางควรจะมีเขตข้อมูลหนึ่งเขตข้อมูลหรือชุดเขตข้อมูลที่ใช้ระบุว่า 
แต่ละระเบียนที่เก็บอยู่ในตารางไม่ซ้ำซ้อนกันรวมอยู่ด้วย ข้อมูลดังกล่าวนี้เรียกว่า เขตกุญแจหลัก 
(Primary Key) ของตาราง เมื่อเราได้ระบุเขตข้อมูลหลักให้กับตารางแล้วเพื่อประกันความไม่ซ้ำซ้อน 
ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะป้องกันไม่ให้มีการป้อนค่าซ้ำ หรือค่าว่าง (Null) ลงในเขตข้อมูลหลัก 
นอกจากเขตกุญแจหลักภายในตารางหนึ่ง ๆ อาจจะมีเขตกุญแจนอก (Foreign Key) ซึ่งเป็น 
เขตกุญแจที่เปรียบเสมือนตัวเชื่อมข้อมูลในความสัมพันธ์หนึ่งกับอีกความสัมพันธ์หนึ่ง โดยกุญแจ 
นอกนั้นอาจจะกลายเป็นเขตกุญแจหลักในอีกความสัมพันธ์หนึ่งก็ได้ 
การกำหนดเขตกุญแจหลักให้กับตารางของระบบยืม-คืนหนังสือในห้องสมุด ซึ่งมี 4 ตาราง 
ดังต่อไปนี้ 
ตารางข้อมูลหนังสือ จะกำหนดให้เขตข้อมูลรหัสหนังสือเป็นเขตกุญแจหลัก 
ตารางข้อมูลสมาชิก จะกำหนดให้เขตข้อมูลรหัสสมาชิกเป็นเขตกุญแจหลัก 
ตารางข้อมูลการยืม จะกำหนดให้เขตข้อมูลลำดับที่การยืมเป็นเขตกุญแจหลักคู่กัน 
ตารางข้อมูลรายละเอียดการยืม จะกำหนดให้เขตข้อมูลลำดับที่การยืมและรหัสหนังสือ 
เป็นเขตกุญแจหลักร่วมกัน 
1.3 การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง 
หลังจากทีเรามีตารางที่จัดเก็บข้อมูลต่างกันสำหรับแต่ละหัวเรื่องในฐานข้อมูลแล้ว เราจำเป็น 
ที่จะต้องหาทางทำให้ตารางข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เพื่อที่จะนำรายละเอียดของข้อมูลกลับมา 
พร้อมกันอีกครั้งหนึ่ง ขั้นแรกในขั้นตอนนี้คือ การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง หลังจากที่ได้ 
ทำแล้ว เราก็สามารถสร้างแบบสอบถาม แบบฟอร์ม และรายงานที่จะแสดงรายละเอียดข้อมูลจาก
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
หลายๆ ตารางได้ทันที โดยในการสร้างความสัมพันธ์ของตาราง 2 ตารางนั้น ตารางทั้งสองจะต้องมี 
เขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ในตารางข้อมูลสมาชิกห้องสมุดและตารางการยืมหนังสือของสมาชิกมี 
ความสัมพันธ์กันโดยผ่านเขตข้อมูลรหัสสมาชิก นั่นหมายความว่าในตารางข้อมูลสมาชิกห้องสมุดและ 
ตารางการยืมหนังสือของสมาชิกจะต้องมีเขตข้อมูลรหัสสมาชิกทั้งสองตาราง 
ตัวอย่างการออกแบบตารางข้อมูลสมาชิกห้องสมุดและตารางการยืมหนังสือของสมาชิกเป็น 
ยืม-คืน 
M 
การยืม (TbBorrow) 
มี 
1 
M 
BookName Regno 
MemberID 
M 1 
รายละเอียดการยืม ยืม-คืน 
หนังสือ (TbBook) 
(TbDetail) 
1 
Picture 
Position 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -3- 
ดังนี้ 
MemberID 
สมาชิก (TbMember) 
ผังแสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ต่าง ๆ ของระบบการยืม-คืนหนังสือ 
BkAuthor 
BookID Copyno 
MTitle 
MFname 
MLname 
MGend 
MLevel MRoom 
NumBr 
DateBrw 
Status DateSent 
NumBr 
BookID 
DateReturn
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
โครงสร้างของตารางข้อมูลตารางหนังสือ (TbBook) 
ชื่อเขตข้อมูล 
(Field Name) 
ชนิดข้อมูล 
(Data 
Type) 
ขนาดของ 
เขตข้อมูล 
(Field 
Size) 
คำอธิบายโดยละเอียด 
(Description) 
ตัวอย่างข้อมูล คีย์ 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -4- 
รหัสหนังสือ 
BookID 
Text 7 เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลรหัสหนังสือที่มี 
การยืมโดยสมาชิก กำหนดให้เป็นเขต 
ข้อมูลหลักของตาราง 
B100001 PK 
ชื่อหนังสือ 
BookName 
Text 60 เขตข้อมูลที่เก็บชื่อหนังสือ การออกแบบและ 
การจัดการ 
ฐานข้อมูล 
ชื่อผู้แต่ง 
BkAuthor 
Text 60 เขตข้อมูลชื่อผู้แต่ง โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ 
เลขทะเบียน 
หนังสือ 
Regno 
Text 5 เขตข้อมูลที่เก็บเลขทะเบียนหนังสือที่ 
มีให้บริการในห้องสมุด 
C101 
สำเนาที่ 
Copyno 
Text 2 เขตข้อมูลที่เก็บเสาเนาที่ของหนังสือ 
ที่ให้บริการในห้องสมุด 
1 
โครงสร้างตารางข้อมูลสมาชิก (TbMember) 
ชื่อเขตข้อมูล 
(Field Name) 
ชนิดข้อมูล 
(Data 
Type) 
ขนาดของ 
เขตข้อมูล 
(Field 
Size) 
คำอธิบายโดยละเอียด 
(Description) 
ตัวอย่าง 
ข้อมูล 
คีย์ 
รหัสสมาชิก 
MemberID 
Text 7 รหัสสมาชิกเป็นเขตข้อมูลหลักของตาราง ดังนั้นรหัส 
สมาชิกของสมาชิกแต่ละคนจะต้องเป็นค่าที่แตกต่าง 
กัน โดยกำหนดให้นักเรียนมีรหัสสมาชิกที่ขึ้นต้นด้วย 
S และตามด้วยตัวเลข 6 หลักและสมาชิกที่เป็น 
อาจารย์จะขึ้นต้นด้วย T และตามด้วยตัวเลข 6 หลัก 
S000001 PK 
คำนำหน้าชื่อ 
MTitle 
Text 8 ค่าที่เก็บในเขตข้อมูลนี้จะเป็นคำนำหน้าชื่อ คือ 
"เด็กชาย";"เด็กหญิง";"นาย";"นาง";"นางสาว" 
นางสาว 
ชื่อ 
MFname 
Text 30 เขตข้อมูลเก็บชื่อสมาชิก แก้ว 
กาญจน์ 
นามสกุล 
MLname 
Text 15 เขตข้อมูลเก็บนามสกุลสมาชิก จงขยัน 
เพศ 
MGender 
Text 4 ค่าที่เก็บในเขตข้อมูลเพศนี้จะเป็นค่า “หญิง” 
;“ผู้ชาย” 
หญิง 
ระดับชั้น 
MLevel 
Text 4 เขตข้อมูลระดับชั้น จะเก็บค่า "ม.1";"ม.2";"ม.3";"ม. 
4";"ม.5";"ม.6" 
ม.5
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -5- 
ชื่อเขตข้อมูล 
(Field Name) 
ชนิดข้อมูล 
(Data 
Type) 
ขนาดของ 
เขตข้อมูล 
(Field 
Size) 
คำอธิบายโดยละเอียด 
(Description) 
ตัวอย่าง 
ข้อมูล 
คีย์ 
ห้อง 
MRoom 
Text 2 เขตข้อมูลห้อง จะเก็บค่า "1";"2";"3";"4";"5";"6"; 
"7";"8";"9";"10";"11";"12";"13";"14" 
1 
ตำแหน่ง 
Position 
Text 8 เขตข้อมูลตำแหน่ง จะเก็บค่า "ครู";"นักเรียน";"อื่นๆ" นักเรียน 
รูปภาพ 
Picture 
OLE 
Object 
เขตข้อมูลรูปภาพ จะเก็บค่ารูปภาพสมาชิก 
โครงสร้างของตารางข้อมูลการยืม (TbBorrow) 
ชื่อเขตข้อมูล 
ชนิดข้อมูล 
(Field Name) 
(Data Type) 
ขนาดของ 
เขตข้อมูล 
(Field 
Size) 
คำอธิบายโดยละเอียด 
(Description) 
ตัวอย่าง 
ข้อมูล 
คีย์ 
ลำดับที่การยืม 
NumBr 
AutoNumber Long 
Integer 
เขตข้อมูลที่เก็บลำดับที่การยืมจะ 
เพิ่มขึ้นอัตโนมัติโดยไม่ซ้ำกัน 
1 PK 
รหัสสมาชิก 
MemberID 
Text 7 เขตข้อมูลที่เก็บรหัสของสมาชิกที่ยืม 
หนังสือในห้องสมุด ทำหน้าที่เป็นเขต 
ข้อมูลหลักร่วมกับเขตข้อมูลรหัส 
หนังสือ 
S000001 FK 
วันที่ยืม 
DateBrw 
Date/Time เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลวันที่สมาชิกทำ 
การยืมหนังสือ 
6/19/2011 
กำหนดส่งคืน 
DateSent 
Date/Time เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลวันที่กำหนด 
ส่งคืนหนังสือเล่มที่สมาชิกยืม 
6/26/2011 
สถานะการยืม 
Status 
Yes/No เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลว่ามีการยืม 
หนังสือไปหรือไม่ 
โครงสร้างของตารางข้อมูลรายละเอียนการยืม (TbDetail) 
ชื่อเขตข้อมูล 
ชนิดข้อมูล 
(Field Name) 
(Data Type) 
ขนาดของ 
เขตข้อมูล 
(Field Size) 
คำอธิบายโดยละเอียด 
(Description) 
ตัวอย่าง 
ข้อมูล 
คีย์ 
ลำดับที่การยืม 
NumBr 
Number Long 
Integer 
เขตข้อมูลที่เก็บลำดับที่การยืมที่เชื่อมโยง 
กับตารางข้อมูลการยืม 
1 PK,FK 
รหัสหนังสือ 
BookID 
Text 7 เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลรหัสหนังสือที่มีการ 
ยืมโดยสมาชิก ทำหน้าที่เป็นเขตข้อมูล 
หลักร่วมกับเขตข้อมูลลำดับที่การยืม 
B100001 PK,FK 
วันที่ส่งคืน 
DateReturn 
Date/Time เขตข้อมูลที่เก็บวันที่ส่งคืนโดยเมื่อมีการ 
ส่งคืนจึงเก็บค่า

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
Kan Pan
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
JittapatS
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาพัน พัน
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
พัน พัน
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceFarlamai Mana
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdfเตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf
ssuser52ee521
 
หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4
พัน พัน
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือPatcharaporn Aun
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
นคินทร์ ราชกรม
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
Ploykarn Lamdual
 
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ณัฐพล บัวพันธ์
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdfเตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf
 
หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
 
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้วขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
 

Similar to Dbchapter4-1

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Rungnapa Rungnapa
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
Tiger Tanatat
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลKo Kung
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkunanya12
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
tumetr
 

Similar to Dbchapter4-1 (20)

แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
Data Mining
Data MiningData Mining
Data Mining
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 

Dbchapter4-1

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 ใบความรู้ที่ 4 .1 เรื่อง การสร้างโครงสร้างฐานข้อมูล 1. การสร้างฐานข้อมูล การสร้างโครงสร้างฐานข้อมูลเป็นงานแรกของการสร้างฐานข้อมูลใดๆ ซึ่งจะมีกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล และการจัดเตรียมข้อมูล สำหรับกรณีศึกษาการพัฒนาระบบ ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การเก็บข้อมูลของหนังสือทีมีอยู่ทั้งหมด ข้อมูลที่เก็บก็จะเป็นข้อมูล ที่ต้องการใช้ คือ ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง จำนวนเล่ม สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกที่ต้องจัดทำแบบฟอร์ม ข้อมูลที่ต้องการใช้ในการรับสมัคร เมื่อได้ข้อมูลมาก็ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องและความ ครบถ้วนของข้อมูลกิจกรรมการจัดเตรียมข้อมูลสำหรับระบบจัดการข้อมูลใดๆ ในคอมพิวเตอร์จะ ประกอบด้วยงานดังต่อไปนี้ - การกำหนดโครงสร้างตาราง - การกำหนดกุญแจหลัก (Primary Key) ให้กับตาราง - การกำหนดความสัมพันธ์ (Relationship) ระหว่างตาราง 1.1 การกำหนดโครงสร้างตาราง แต่ละตารางมีข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อเรื่องเดียวกัน และแต่ละเขตข้อมูล ในตารางมีข้อมูลส่วน บุคคลที่เป็นจริง เกี่ยวกับเนื้อเรื่องของตารางนั้น เช่น ตารางข้อมูลสมาชิกห้องสมุด ประกอบด้วย เขต ข้อมูลรหัสสมาชิกเขตข้อมูลชื่อ เขตข้อมูลเลขที่ประจำตัว เขตข้อมูลชั้นเรียน ในการกำหนดโครงสร้างตาราง เราจะต้องกำหนดชื่อที่เราจะใช้แทนแต่ละเขตข้อมูล ชนิด ของข้อมูล ขนาดที่ใช้ในการจัดเก็บไว้ในส่วนที่เป็นพจนานุกรมข้อมูลของระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งในบางระบบเราสามารถกรอกคำอธิบายสั้นๆ ให้กับแต่ละเขตข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการแก้ไข ระบบในภายหลังได้ ระบบการจัดการฐานข้อมูลใน Microsoft Access 2007 มีชนิดของข้อมูลให้เราเลือกใช้ ได้ ดังนี้ ชนิดข้อมูล ขนาด ใช้สำหรับ Text สูงสุด 255 การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -1- ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายต่างๆ ที่ไม่ได้ใช้ในการคำนวณ อย่างเช่น หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขประจำชิ้นส่วน หรือรหัสไปรษณีย์ Memo สูงสุด 65,635 ตัวอักษร ข้อความและตัวเลขที่มีขนาดยาวมาก อย่างเช่น หมายเหตุหรือคำอธิบาย Number 1 – 8 ไบท์ ข้อมูลทางตัวเลขที่ใช้สำหรับการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์ ทั้งจำนวนเต็ม หรือทศนิยม ยกเว้นการคำนวณที่เกี่ยวข้องกับเงิน (ใช้ชนิด Currency ) ให้ตั้งค่าคุณสมบัติ FieldSize เมื่อต้องการกำหนดชนิด Number ให้ แน่นอนลงไป Date/Time 8 ไบท์ วันที่และเวลาซึ่งมีรูปแบบการแสดงผลหลายแบบ และสามารถกำหนด แบบของการแสดงผลเองได้
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 ชนิดข้อมูล ขนาด ใช้สำหรับ Currency 8 ไบท์ เก็บข้อมูลที่เป็นจำนวนเงิน เพื่อป้องกันเรื่องการปัดเศษทศนิยม ระดับ ความแม่นยำคือ 15 หลักทางซ้ายของจุดทศนิยมและ 4 หลักทางขวามือ AutoNumber 4 Byte กำหนดตัวเลขที่เรียงลำดับต่อเนื่องกันโดยอัตโนมัติ โดยโปรแกรม Yes/No 1 บิท เป็นข้อมูลแบบบูลีน ที่มีเพียงค่าใดค่าหนึ่งใน 2 ค่า สามารถกำหนด รูปแบบในการแสดงผลเป็น Yes/No, True/False หรือ On/Off ก็ได้ OLE Object 1 GB เป็นชนิดข้อมูลที่ใช้เก็บออบเจ็กต์ เช่น รูปภาพ แผนภูมิ เสียง เป็นต้น Hyperlink สูงสุด 2,048 การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -2- ตัวอักษร เป็นชนิดข้อมูลที่เก็บที่อยู่หรือจุดเชื่อมโยงของไฟล์ในระบบอินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต Lookup Wizard 4 ไบท์ เป็นชนิดข้อมูลที่ดึงข้อมูลจากฟิลด์อื่นในตาราง Attachment เป็นชนิดข้อมูลที่เพิ่มเข้ามาใหม่ ซึ่งเก็บเอกสารและแฟ้มไบนารีทุกชนิดใน ฐานข้อมูล เช่น เอกสาร Word, Excel หรือไฟล์ประเภทอื่นที่สนับสนุน การนำเข้าสู่เรคอร์ดในฐานข้อมูลเหมือนกับการแนบไฟล์ไปกับอีเมล ซึ่ง จะดีกว่า OLE Object คือข้อมูลจะถูกบีบอัดอย่างเหมาะสม ไม่ทำให้ ฐานข้อมูลใหญ่เกินไป 1.2 การกำหนดกุญแจหลัก (Primary Key) ให้กับตาราง ในการสร้างตารางแต่ละตารางควรจะมีเขตข้อมูลหนึ่งเขตข้อมูลหรือชุดเขตข้อมูลที่ใช้ระบุว่า แต่ละระเบียนที่เก็บอยู่ในตารางไม่ซ้ำซ้อนกันรวมอยู่ด้วย ข้อมูลดังกล่าวนี้เรียกว่า เขตกุญแจหลัก (Primary Key) ของตาราง เมื่อเราได้ระบุเขตข้อมูลหลักให้กับตารางแล้วเพื่อประกันความไม่ซ้ำซ้อน ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะป้องกันไม่ให้มีการป้อนค่าซ้ำ หรือค่าว่าง (Null) ลงในเขตข้อมูลหลัก นอกจากเขตกุญแจหลักภายในตารางหนึ่ง ๆ อาจจะมีเขตกุญแจนอก (Foreign Key) ซึ่งเป็น เขตกุญแจที่เปรียบเสมือนตัวเชื่อมข้อมูลในความสัมพันธ์หนึ่งกับอีกความสัมพันธ์หนึ่ง โดยกุญแจ นอกนั้นอาจจะกลายเป็นเขตกุญแจหลักในอีกความสัมพันธ์หนึ่งก็ได้ การกำหนดเขตกุญแจหลักให้กับตารางของระบบยืม-คืนหนังสือในห้องสมุด ซึ่งมี 4 ตาราง ดังต่อไปนี้ ตารางข้อมูลหนังสือ จะกำหนดให้เขตข้อมูลรหัสหนังสือเป็นเขตกุญแจหลัก ตารางข้อมูลสมาชิก จะกำหนดให้เขตข้อมูลรหัสสมาชิกเป็นเขตกุญแจหลัก ตารางข้อมูลการยืม จะกำหนดให้เขตข้อมูลลำดับที่การยืมเป็นเขตกุญแจหลักคู่กัน ตารางข้อมูลรายละเอียดการยืม จะกำหนดให้เขตข้อมูลลำดับที่การยืมและรหัสหนังสือ เป็นเขตกุญแจหลักร่วมกัน 1.3 การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง หลังจากทีเรามีตารางที่จัดเก็บข้อมูลต่างกันสำหรับแต่ละหัวเรื่องในฐานข้อมูลแล้ว เราจำเป็น ที่จะต้องหาทางทำให้ตารางข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เพื่อที่จะนำรายละเอียดของข้อมูลกลับมา พร้อมกันอีกครั้งหนึ่ง ขั้นแรกในขั้นตอนนี้คือ การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง หลังจากที่ได้ ทำแล้ว เราก็สามารถสร้างแบบสอบถาม แบบฟอร์ม และรายงานที่จะแสดงรายละเอียดข้อมูลจาก
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 หลายๆ ตารางได้ทันที โดยในการสร้างความสัมพันธ์ของตาราง 2 ตารางนั้น ตารางทั้งสองจะต้องมี เขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ในตารางข้อมูลสมาชิกห้องสมุดและตารางการยืมหนังสือของสมาชิกมี ความสัมพันธ์กันโดยผ่านเขตข้อมูลรหัสสมาชิก นั่นหมายความว่าในตารางข้อมูลสมาชิกห้องสมุดและ ตารางการยืมหนังสือของสมาชิกจะต้องมีเขตข้อมูลรหัสสมาชิกทั้งสองตาราง ตัวอย่างการออกแบบตารางข้อมูลสมาชิกห้องสมุดและตารางการยืมหนังสือของสมาชิกเป็น ยืม-คืน M การยืม (TbBorrow) มี 1 M BookName Regno MemberID M 1 รายละเอียดการยืม ยืม-คืน หนังสือ (TbBook) (TbDetail) 1 Picture Position การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -3- ดังนี้ MemberID สมาชิก (TbMember) ผังแสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ต่าง ๆ ของระบบการยืม-คืนหนังสือ BkAuthor BookID Copyno MTitle MFname MLname MGend MLevel MRoom NumBr DateBrw Status DateSent NumBr BookID DateReturn
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 โครงสร้างของตารางข้อมูลตารางหนังสือ (TbBook) ชื่อเขตข้อมูล (Field Name) ชนิดข้อมูล (Data Type) ขนาดของ เขตข้อมูล (Field Size) คำอธิบายโดยละเอียด (Description) ตัวอย่างข้อมูล คีย์ การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -4- รหัสหนังสือ BookID Text 7 เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลรหัสหนังสือที่มี การยืมโดยสมาชิก กำหนดให้เป็นเขต ข้อมูลหลักของตาราง B100001 PK ชื่อหนังสือ BookName Text 60 เขตข้อมูลที่เก็บชื่อหนังสือ การออกแบบและ การจัดการ ฐานข้อมูล ชื่อผู้แต่ง BkAuthor Text 60 เขตข้อมูลชื่อผู้แต่ง โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ เลขทะเบียน หนังสือ Regno Text 5 เขตข้อมูลที่เก็บเลขทะเบียนหนังสือที่ มีให้บริการในห้องสมุด C101 สำเนาที่ Copyno Text 2 เขตข้อมูลที่เก็บเสาเนาที่ของหนังสือ ที่ให้บริการในห้องสมุด 1 โครงสร้างตารางข้อมูลสมาชิก (TbMember) ชื่อเขตข้อมูล (Field Name) ชนิดข้อมูล (Data Type) ขนาดของ เขตข้อมูล (Field Size) คำอธิบายโดยละเอียด (Description) ตัวอย่าง ข้อมูล คีย์ รหัสสมาชิก MemberID Text 7 รหัสสมาชิกเป็นเขตข้อมูลหลักของตาราง ดังนั้นรหัส สมาชิกของสมาชิกแต่ละคนจะต้องเป็นค่าที่แตกต่าง กัน โดยกำหนดให้นักเรียนมีรหัสสมาชิกที่ขึ้นต้นด้วย S และตามด้วยตัวเลข 6 หลักและสมาชิกที่เป็น อาจารย์จะขึ้นต้นด้วย T และตามด้วยตัวเลข 6 หลัก S000001 PK คำนำหน้าชื่อ MTitle Text 8 ค่าที่เก็บในเขตข้อมูลนี้จะเป็นคำนำหน้าชื่อ คือ "เด็กชาย";"เด็กหญิง";"นาย";"นาง";"นางสาว" นางสาว ชื่อ MFname Text 30 เขตข้อมูลเก็บชื่อสมาชิก แก้ว กาญจน์ นามสกุล MLname Text 15 เขตข้อมูลเก็บนามสกุลสมาชิก จงขยัน เพศ MGender Text 4 ค่าที่เก็บในเขตข้อมูลเพศนี้จะเป็นค่า “หญิง” ;“ผู้ชาย” หญิง ระดับชั้น MLevel Text 4 เขตข้อมูลระดับชั้น จะเก็บค่า "ม.1";"ม.2";"ม.3";"ม. 4";"ม.5";"ม.6" ม.5
  • 5. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -5- ชื่อเขตข้อมูล (Field Name) ชนิดข้อมูล (Data Type) ขนาดของ เขตข้อมูล (Field Size) คำอธิบายโดยละเอียด (Description) ตัวอย่าง ข้อมูล คีย์ ห้อง MRoom Text 2 เขตข้อมูลห้อง จะเก็บค่า "1";"2";"3";"4";"5";"6"; "7";"8";"9";"10";"11";"12";"13";"14" 1 ตำแหน่ง Position Text 8 เขตข้อมูลตำแหน่ง จะเก็บค่า "ครู";"นักเรียน";"อื่นๆ" นักเรียน รูปภาพ Picture OLE Object เขตข้อมูลรูปภาพ จะเก็บค่ารูปภาพสมาชิก โครงสร้างของตารางข้อมูลการยืม (TbBorrow) ชื่อเขตข้อมูล ชนิดข้อมูล (Field Name) (Data Type) ขนาดของ เขตข้อมูล (Field Size) คำอธิบายโดยละเอียด (Description) ตัวอย่าง ข้อมูล คีย์ ลำดับที่การยืม NumBr AutoNumber Long Integer เขตข้อมูลที่เก็บลำดับที่การยืมจะ เพิ่มขึ้นอัตโนมัติโดยไม่ซ้ำกัน 1 PK รหัสสมาชิก MemberID Text 7 เขตข้อมูลที่เก็บรหัสของสมาชิกที่ยืม หนังสือในห้องสมุด ทำหน้าที่เป็นเขต ข้อมูลหลักร่วมกับเขตข้อมูลรหัส หนังสือ S000001 FK วันที่ยืม DateBrw Date/Time เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลวันที่สมาชิกทำ การยืมหนังสือ 6/19/2011 กำหนดส่งคืน DateSent Date/Time เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลวันที่กำหนด ส่งคืนหนังสือเล่มที่สมาชิกยืม 6/26/2011 สถานะการยืม Status Yes/No เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลว่ามีการยืม หนังสือไปหรือไม่ โครงสร้างของตารางข้อมูลรายละเอียนการยืม (TbDetail) ชื่อเขตข้อมูล ชนิดข้อมูล (Field Name) (Data Type) ขนาดของ เขตข้อมูล (Field Size) คำอธิบายโดยละเอียด (Description) ตัวอย่าง ข้อมูล คีย์ ลำดับที่การยืม NumBr Number Long Integer เขตข้อมูลที่เก็บลำดับที่การยืมที่เชื่อมโยง กับตารางข้อมูลการยืม 1 PK,FK รหัสหนังสือ BookID Text 7 เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลรหัสหนังสือที่มีการ ยืมโดยสมาชิก ทำหน้าที่เป็นเขตข้อมูล หลักร่วมกับเขตข้อมูลลำดับที่การยืม B100001 PK,FK วันที่ส่งคืน DateReturn Date/Time เขตข้อมูลที่เก็บวันที่ส่งคืนโดยเมื่อมีการ ส่งคืนจึงเก็บค่า