SlideShare a Scribd company logo
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1
ความรู้เบืองต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
้
งานในองค์การไม่ว่าจะเป็นองค์การขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่
ต่างก็ต้องมีข้อมูลของการทางาน หรือข้อมูลทางธุรกิจในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งข้อมูล
เหล่านั้นอาจมีทั้งข้อมูลพนักงาน ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลที่เป็นความลับทางธุรกิจ เป็นต้น
นอกจากนั้นข้อมูลขององค์การดังกล่าวยังอาจมีความสาคัญมากน้อยต่างกัน มีผู้ใช้ข้อมูล
เฉพาะกลุ่ม หรือทุกกลุ่มได้ตามความจาเป็นและตามลาดับชั้นความลับ สิ่งสาคัญคือ
ข้อมูลขององค์การหนึ่งย่อมมีความเกี่ยวข้องกันและควรที่จะนามารวมไว้ใน “ฐานข้อมูล”
(Database)
ความหมาย
มีคาอธิบายความหมายของ “ฐานข้อมูล” อยู่มากมายหลายคามหมาย ตัวอย่างเช่น
ฐานข้อมูลอาจถือได้ว่าเป็นตู้เก็บเอกสารอิเล็กทรอนิคส์ชนิดหนึ่ง เช่น เป็นที่
รวมหรือเป็นที่บรรจุแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง เป็นต้น (A database can be regarded
as a kind of electronic filing cabinet.)
ฐานข้อมูลเป็นชุดของข้อมูลที่คงทน (Persistent Data) ซึ่งถูกเรียกใช้โดยระบบ
โปรแกรมของกิจการใดกิจการหนึ่ง (A database is a collection of persistent data
that is used by the application systems of some given enterprise.) ข้อมูลจะ
คงทนอยู่ในฐานข้อมูลเพราะเมื่อระบบจัดการฐานข้อมูลรับข้อมูลนั้นเข้าสู่ฐานข้อมูลแล้ว ใครจะขจัดหรือ
เอาข้อมูลออกไปจากฐานข้อมูลได้ต้องมีการร้องขอต่อระบบจัดการฐานข้อมูลเท่านั้น ตัวอย่างข้อมูลที่
คงทนในฐานข้อมูล
เอ็นทิตี้

คาว่า “เอ็นทิต” (Entity) หมายถึง วัตถุใด ๆ ที่เราสามารถระบุ
ี้
หรือแยกแยะออกจากกันได้ ซึ่งแทนอยู่ในฐานข้อมูล (An entity is any
distinguishable object that is to be represented in the
database.)
สัมพันธภาพ

คาว่า “สัมพันธภาพ” (Relationship) บางที่เรียกว่า
“ความสัมพันธ์” หมายถึง การเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้องระหว่างเอ็นทิตี้
ต่าง ๆ ซึ่งความสัมพันธภาพเป็นตัวเชือมโยงเอ็นทิตเี้ หล่านั้นเข้าไว้ด้วยกัน
่
(Relationship links those basic entities together.)
รูปแบบของฐานข้อมูล
รูปแบบของฐานข้อมูล ในที่นี้หมายถึง ตัวแบบข้อมูล (Data Model) ของฐานข้อมูลชนิดต่าง ๆ
ซึ่งมีผู้รู้คิดค้นขึ้นมา
ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่ให้มา ซึ่งสามารถอนุมานข้อเท็จจริงเพิ่มเติมขึ้นมาได้ (“Data”
refers to given facts from which additional facts can be inferred.)
ข้อเท็จจริงที่ให้มา คือ ประพจน์ที่เป็นจริงเชิงดังนั้น ความหมายฐานข้อมูลในมุมมองนี้
ก็คือ ชุดของประพจน์ที่เป็นจริงดังกล่าว
รูปแบบของฐานข้อมูล
ตัวแบบข้อมูล เป็นคาจากัดความเชิงตรรกะ เป็นนามธรรม บริบูรณ์ในตัวเอง ของวัตถุ ตัว
กระทาทางคณิตศาสตร์ และ ฯลฯ ซึ่งรวมกันแล้วประกอบเข้าเป็นเครื่องจักรนามธรรมที่ผู้ใช้โต้ตอบได้
วัตถุดังกล่าวทาให้เราสามารถจาลองโครงสร้างข้อมูลได้ ส่วนตัวกระทาทางคณิตศาสตร์ทาให้เราสามารถ
จาลองพฤติกรรมของมันได้
ตัวแบบข้อมูล เป็นเหมือนภาษาในการเขียนโปรแกรม แม้ว่าค่อนข้างจะเป็นนามธรรม แต่
โครงสร้างของมันสามารถใช้แก้ปัญหาได้
ตัวแบบข้อมูลมี 3 ประเภทที่สาคัญ คือ
• ตัวแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Model)
• ตัวแบบเครือข่าย (Network Model)
• ตัวแบบลาดับชั้น หรือแตกสาขา(Hierarchic Model)
ตัวแบบเชิงสัมพันธ์
ผู้ใช้ทั่วไปจะมองเห็นตัวแบบเชิงสัมพันธ์ว่า คือ การเก็บข้อมูลเป็นตาราง (Table) หรือถ้า
เรียกอย่างเป็นทางการตามทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ก็คือ รีเลชัน (Relation) นั่นเอง ลักษณะของตาราง
่
จะมี 2 มิติ คือ แถว (Row) และคอลัมน์ (Column)โดยเอ็นทิตี้ (Entity) ต่าง ๆ จะมีข้อมูลถูก
นามาจัดเก็บในลักษณะเป็นตาราง กล่าวคือ จะไม่มีแฟ้มข้อมูลแม่หรือแฟ้มข้อมูลลูก แฟ้มข้อมูลแต่ละ
ส่วนเป็นอิสระต่อกัน ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ระบบบริหารฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เรียงตามลาดับอักษร ได้แก่
DB2 (มีหลายรุ่น) ของบริษัท IBM Corp.
Ingres II ของบริษัท Computer Associates International Inc.
Informix Dynamic Server ของบริษัท Informix Software Inc.
Microsoft SQL Server ของบริษัท Microsoft Corp.
Oracle 8i ของบริษัท Oracle Corp.และ
Sybase Adaptive Server ของบริษัท Sybase Inc.
ตัวแบบเครือข่าย
กลุ่มงานฐานข้อมูลแห่งการประชุมว่าด้วยเรืองภาษาระบบฐานข้อมูล(the Data Base
่
Task Group of the conference on Data Systems Languages) ตัวอย่างเช่น ระบบ
IDMS ของบริษัท Computer Associates International Inc. ตัวแบบเครือข่ายนี้ไม่ได้
เกี่ยวข้องกับเรื่องการสื่อสารข้อมูล (Data Communication) แต่อย่างใด โดยตัวแบบนี้ในแง่การ
มองของผู้ใช้จะเป็นไปในรูปของการรวบรวม ระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียน ความ
แตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนระหว่างตัวแบบเชิงสัมพันธ์และแบบเครือข่าย คือ ในตัวแบบเชิงสัมพันธ์จะแฝง
(Implicit) การแสดงความสัมพันธ์เอาไว้ (หมายความว่า ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่าของ
ข้อมูลในเขตข้อมูลใด เขตข้อมูลหนึ่งเหมือนกัน) ส่วนการแสดงความสัมพันธ์ในตัวแบบเครือข่ายจะ
เป็นไปอย่างโจ่งแจ้ง (Explicit) คือ แสดงได้ในโครงสร้างอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น
ในรูปจะเห็นว่า กรอบสี่เหลี่ยมแสดงถึงชนิดของระเบียนในฐานข้อมูลซึ่งจะมี 1
อันต่อ 1 Entity เครื่องหมายลูกศรแสดงถึงความสัมพันธ์ ซึ่งในรูปนีแสดงความสัมพันธ์
้
แบบหนึ่งต่อกลุ่ม โดยที่หัวลูกศรจะออกจากส่วนของ “หนึ่ง” ไปยังส่วนของ “กลุ่ม”
วิธีการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ จะใช้หัวลูกศรเป็นแนวทาง ซึ่งอาจวิ่งทวนทิศทางกับ
หัวลูกศรก็ได้ เช่น ถ้าต้องการแสดงรายชื่อของอาจารย์ที่ทางานอยู่แผนกวิชาที่ 4 ก็เริ่มด้วย
การออกคาสั่งแก่ระบบจัดการฐานข้อมูลไห้ค้นหาแผนกที่ 4 ก่อน จากระเบียนของแผนกวิชา
จากนั้นให้วิ่งตามลูกศรซึ่งจะเชื่อม (Link) ข้อมูลของแผนกที่ 4 นี้เข้ากับข้อมูลในส่วนของ
อาจารย์ ซึ่งได้แก่บรรดาระเบียนของอาจารย์ที่ทางานอยู่แผนกที่ 4 สังเกตว่า ในการค้นหานี้
เราจะค้นโดยใช้ลูกศร หรือทางเชื่อมในการโยงความสัมพันธ์ ดังนั้นเราจึงไม่จาเป็นต้องเก็บ
เขตข้อมูลรหัสแผนกไว้ในระเบียนของอาจารย์อย่างในตัวแบบเชิงสัมพันธ์
ตัวแบบแตกสาขา หรือตัวแบบลาดับ
ตัวแบบนี้พัฒนาขึ้นโดยไอบีเอ็ม เมื่อปี พ.ศ. 2511 ตัวอย่างเช่น ระบบ IMS ของ IBM
มีความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลเป็นระดับชั้นหรือตามอาวุโส แฟ้มข้อมูลจะมีตาแหน่งจากบนลงล่าง
โดยแฟ้มที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าจะเป็นแม่ของแฟ้มที่อยู่ในระดับต่ากว่า ข้อสังเกต คือ แฟ้มหนึ่งจะมี
แฟ้มข้อมูลลูก (Child File) ได้หลายแฟ้ม ขณะที่แฟ้มลูกจะมีแฟ้มแม่เพียงแฟ้มเดียว เมือมองใน
่
ลักษณะนี้จะเห็นว่าตัวแบบนี้มีโครงสร้างเหมือนต้นไม้ (Tee) ซึ่งอันที่จริงตัวแบบนี้คล้ายแบบ
เครือข่าย แต่ต่างกันตรงที่ ตัวแบบแตกสาขามีกฎเกณฑ์เพิมขึ้นมาอีก 1 ข้อ คือ ในแต่ละกรอบจะมีหัว
่
ลูกศรวิ่งเข้าหาได้ไม่เกิน 1 หัว จากตัวอย่างในภาพของตัวแบบเครือข่าย จะเห็นว่ากรอบอาจารย์มลูกศร
ี
เข้ามา 2 ทาง ดังนั้น เราจะสร้างฐานข้อมูลเดียวกันนี้ด้วยตัวแบบแตกสาขาไม่ได้ แต่ต้อง
เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม เช่น
นอกจากนั้น ยังมีลักษณะอีกประการหนึ่งที่สองตัวแบบหลังนี้แตกต่างจากตัวแบบเชิงสัมพันธ์ ก็คือ ใน
ตัวแบบลากับชั้น และตัวแบบเครือข่ายนั้น จะมีการใช้ตัวชี้ (Pointers) เพื่อแทนเส้นทางขึ้นลงไปตามแผนภาพ
ต้นไม้สาหรับตัวแบบลาดับชั้น และแทนเส้นทางเชื่อมต่อในแผนภาพเครือข่ายของตัวแบบเครือข่าย แต่ในตัวแบบเชิง
สัมพันธ์จะไม่มีการเกี่ยวข้องกับตัวชี้ดังกล่าวเลย (C.J. Date, 2000, p. 26)
นอกจากตัวแบบทั้ง 3 ดังกล่าวแล้ว เมื่อไม่นานมานี้เริ่มมีผลิตภัณฑ์ระบบบริหารฐานข้อมูลแบบใหม่
ปรากฏขึ้นมาบ้าง คือ
ระบบบริหารฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object DBMS) เช่น Gemstone ของบริษัท Gemstone
Systems Inc.และ Versant ODBMS ของบริษัท Versant Object Technology
ระบบบริหารฐานข้อมูลแบบผสมระหว่างเชิงวัตถุและเชิงสัมพันธ์ (Object/Relational DBMS)
ตัวอย่างเช่น DB2 และ Informixในตาราเล่มนี้จะไม่กล่าวถึงระบบฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-oriented
Database Systems) ม
ไปกว่านี้ แม้ว่าจะจัดเป็นตัวแบบหนึ่งของระบบฐานข้อมูล เนื่องจากเป็นเรื่องที่ยังใหม่และอยู่นอกเหนือขอบเขต
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล (Database System) เป็นคาประสมระหว่างคาว่า “ระบบ” (System) กับคาว่า
“ฐานข้อมูล” (Database) มีความหมายและองค์ประกอบดังต่อไปนี้
ความหมาย

ระบบฐานข้อมูล โดยพื้นฐานเป็นระบบจัดเก็บระเบียนด้วยคอมพิวเตอร์ (A
database system is basically a computerized record-keeping
system.)สามารถทางานกับข้อมูลในฐานข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น
•เพิ่มแฟ้มใหม่เข้าในฐานข้อมูล
•แทรกข้อมูลลงในแฟ้ม
•ดึงข้อมูลมาจากแฟ้ม
•เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่มีอยู่
•ลบข้อมูล
•ลบแฟ้ม
ระบบฐานข้อมูล มีวัตถุประสงค์หลักในการจัดเก็บข้อสนเทศและให้
ผู้ใช้สืบค้น ตลอดจนปรับปรุงข้อสนเทศนันให้เป็นปัจจุบัน
้
องค์ประกอบ
ระบบฐานข้อมูลมีองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ ได้แก่
•ข้อมูล (Data)
•ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
•ซอฟต์แวร์ (Software)
•ผู้ใช้ (Users)
หน้าที่ของระบบฐานข้อมูล
•การนิยามข้อมูล (Data Definition) ต้องสามารถรับการนิยามข้อมูลได้ เช่น การ
กาหนดเค้าร่างภายนอก เค้าร่างแนวคิด เค้าร่างภายใน และการเชื่อมทุกตัวที่เกี่ยวข้อง
จากนั้นแปลงนิยามนั้นให้เป็นวัตถุ ดังนั้น ระบบจัดการฐานข้อมูลต้องมี ตัวประมวลผล
ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language Processor/Compiler)
•การจัดดาเนินการข้อมูล (Data Manipulation) ระบบฯ ต้องสามารถจัดการคาร้องในการ
สืบค้น ปรับปรุง ลบ เพิ่มข้อมูลได้ ดังนั้น ระบบฯ จึงต้องมีตัวประมวลผลภาษาจัดดาเนินการ
ข้อมูล (Data Manipulation Language Processor/Compiler) การร้องขอให้จัด
ดาเนินการข้อมูลอาจเป็น การร้องขอที่แจ้งล่วงหน้า (Planned Request) ซึ่งเตรียมไว้
ล่วงหน้าก่อนการ Execute เป็นอย่างดี เช่น การรันโปรแกรมทุกเช้าซึ่งเป็นกิจวัตร หรืออาจ
เป็นการร้องขอที่ไม่แจ้งล่วงหน้า (Unplanned or ad Hoc request) ซึ่งต้องการข้อมูล
อย่างฉับพลันหรือเป็นบางครั้งบางคราว ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบโต้ตอบ (Interactive)
หน้าที่ของระบบฐานข้อมูล
•การแปลงคาสั่งให้เหมาะสมที่สุดและการเอ็กซีคิวคาสั่ง (Optimization and Execution)ระบบ
บริหารฐานข้อมูล จะมี Optimizer เป็นซอฟต์แวร์ที่รับเอาคาร้องขอ โค้ดคาสั่งวัตถุนั้นมาตรวจดูก่อนรัน
เพื่อดูว่าจะรันอย่างไรจึงจะดีที่สุด กล่าวคือ ให้ใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด เช่น จะใช้วิธีใดในการเข้าถึงข้อมูล X
จึงจะเหมาะสมที่สุด
•ความปลอดภัยและความถูกต้องของข้อมูล (Data Security and Integrity) ระบบฯ จะต้องยอมให้
ผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA) สามารถเขียนคาสั่ง หรือกาหนดกฎความถูกต้อง (Integrity
Constraints)ได้

•การฟื้นฟูสภาพข้อมูลและสภาวะพร้อมกัน (Data Recovery and Concurrency)
ระบบฯ ต้องสนับสนุนให้ผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถสั่งให้ ตัวจัดการธรุกรรม
(Transaction Manager or Transaction Processing Monitor)ให้ทาการ
ฟื้นฟูสภาพ และควบคุมสภาวะการเข้าถึงฐานข้อมูลแบบพร้อมกันได้
ความรู้ทวไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ั่
สาระสาคัญ
ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ
ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้าซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกทั้ง
ข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยจะมีการกาหนดระบบความปลอดภัยของ
ข้อมูลขึ้น
นับได้ว่าปัจจุบันเป็นยุคของสารสนเทศ เป็นที่ยอมรับกันว่า สารสนเทศเป็นข้อมูลที่ผ่านการกลั่นกรองอย่าง
เหมาะสม สามารถนามาใช้ประโยชน์อย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการนามาใช้งานด้านธุรกิจ การบริหาร และ
กิจการอื่น ๆ องค์กรที่มีข้อมูลปริมาณมาก ๆ จะพบความยุ่งยากลาบากในการจัดเก็บข้อมูล ตลอดจนการนา
ข้อมูลที่ต้องการออกมาใช้ให้ทันต่อเหตุการณ์ ดังนั้นคอมพิวเตอร์จึงถูกนามาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดเก็บ
ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล ซึ่งทาให้ระบบการจัดเก็บข้อมูลเป็นไปได้สะดวก ทั้งนี้โปรแกรมแต่ละโปรแกรม
จะต้องสร้างวิธีควบคุมและจัดการกับข้อมูลขึ้นเอง ฐานข้อมูลจึงเข้ามามีบทบาทสาคัญอย่างมาก โดยเฉพาะ
ระบบงานต่าง ๆ ที่ใช้คอมพิวเตอร์ การออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูล จึงต้องคานึงถึงการควบคุมและ
การจัดการความถูกต้องตลอดจนประสิทธิภาพในการเรียกใช้ขอมูลด้วย
้
นิยามและคาศัพท์พนฐานเกียวกับระบบฐานข้อมูล
ื้
่
•บิท (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด
•ไบท์ (Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่กิดจากการนาบิทมารวมกันเป็นตัว
อักขระ (Character)
•เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่
หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้วได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ที่อยู่
•ระเบียน (Record) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนเอาเขตข้อมูล
หลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
•แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึงหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาข้อมูลหลาย ๆ
ระเบียนที่เป็นเรืองเดียวกันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา แฟ้มข้อมูลลูกค้า
่
แฟ้มข้อมูลพนักงาน
แหล่งที่มาของข้ อมูล
•http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5012/P_1/DB/B1.htm
•http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it
04/page01.html
สมาชิกกลุ่ม
นาย ครองพล ปัจมนตรี เลขที่ 8
นางสาว ปรียาวัจน์ ชนประเสริฐ เลขที่ 24
นางสาว สตรีรัตน์ หลุกกูล เลขที่ 25
นางสาว คุณัญญา หนุนภักดี เลขที่ 27
นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28
นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 29
มัธยมศึกษาปีที่ 5/3

More Related Content

What's hot

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
jiratha borisut
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ssuseraa96d2
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40KittinanSuksom2
 

What's hot (16)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
 

Viewers also liked

Planning process in india copy
Planning process in india   copyPlanning process in india   copy
Planning process in india copy
Mahendra Kumar Ghadoliya
 
The future we want
The future we wantThe future we want
The future we want
Mahendra Kumar Ghadoliya
 
Meaning of environment
Meaning of environmentMeaning of environment
Meaning of environment
Mahendra Kumar Ghadoliya
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลkunanya12
 
Hadits Shahih & Dhoif
Hadits Shahih & DhoifHadits Shahih & Dhoif
Hadits Shahih & Dhoif
Satria Rz
 
Sad comparison between waterfall model and spiral model
Sad    comparison between waterfall model and spiral modelSad    comparison between waterfall model and spiral model
Sad comparison between waterfall model and spiral modelKhairul Anwar
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
Define and distinguish between economic growth and economic development.
Define and distinguish between economic growth and economic development.Define and distinguish between economic growth and economic development.
Define and distinguish between economic growth and economic development.
Mahendra Kumar Ghadoliya
 
Economic development
Economic developmentEconomic development
Economic development
Mahendra Kumar Ghadoliya
 
Economic planning in india
Economic planning in indiaEconomic planning in india
Economic planning in india
Mahendra Kumar Ghadoliya
 
Describe in brief the scope of environment
Describe in brief the scope of environmentDescribe in brief the scope of environment
Describe in brief the scope of environment
Mahendra Kumar Ghadoliya
 

Viewers also liked (12)

Planning process in india copy
Planning process in india   copyPlanning process in india   copy
Planning process in india copy
 
supervisory skill
supervisory skillsupervisory skill
supervisory skill
 
The future we want
The future we wantThe future we want
The future we want
 
Meaning of environment
Meaning of environmentMeaning of environment
Meaning of environment
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
 
Hadits Shahih & Dhoif
Hadits Shahih & DhoifHadits Shahih & Dhoif
Hadits Shahih & Dhoif
 
Sad comparison between waterfall model and spiral model
Sad    comparison between waterfall model and spiral modelSad    comparison between waterfall model and spiral model
Sad comparison between waterfall model and spiral model
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Define and distinguish between economic growth and economic development.
Define and distinguish between economic growth and economic development.Define and distinguish between economic growth and economic development.
Define and distinguish between economic growth and economic development.
 
Economic development
Economic developmentEconomic development
Economic development
 
Economic planning in india
Economic planning in indiaEconomic planning in india
Economic planning in india
 
Describe in brief the scope of environment
Describe in brief the scope of environmentDescribe in brief the scope of environment
Describe in brief the scope of environment
 

Similar to ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล

Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
บรรลุ ช่อชู
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6Khanut Anusatsanakul
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
Mrpopovic Popovic
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
nunzaza
 
Dbchapter4-1
Dbchapter4-1Dbchapter4-1
Dbchapter4-1
Sirirat Little
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุลmiwmilk
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Earn'kanittha Thunyadee
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Rungnapa Rungnapa
 
Db1
Db1Db1
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
tumetr
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 

Similar to ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล (20)

Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Dbchapter4-1
Dbchapter4-1Dbchapter4-1
Dbchapter4-1
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 

More from kunanya12

งานย่อยที่ 1 (ปภัสสร ลำดวล)
งานย่อยที่ 1 (ปภัสสร ลำดวล) งานย่อยที่ 1 (ปภัสสร ลำดวล)
งานย่อยที่ 1 (ปภัสสร ลำดวล) kunanya12
 
นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 28 ม.5 3
นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 28 ม.5 3นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 28 ม.5 3
นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 28 ม.5 3kunanya12
 
นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 ม.5 3
นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 ม.5 3นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 ม.5 3
นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 ม.5 3kunanya12
 
งานย่อยที่ 1ประกวดภาพถ่าย (คุุณัญญา หนุนภักดี)
งานย่อยที่ 1ประกวดภาพถ่าย (คุุณัญญา หนุนภักดี)งานย่อยที่ 1ประกวดภาพถ่าย (คุุณัญญา หนุนภักดี)
งานย่อยที่ 1ประกวดภาพถ่าย (คุุณัญญา หนุนภักดี)kunanya12
 
พบช่องโหว่ใหม่บน Android
พบช่องโหว่ใหม่บน Androidพบช่องโหว่ใหม่บน Android
พบช่องโหว่ใหม่บน Androidkunanya12
 
มายเมม
มายเมมมายเมม
มายเมมkunanya12
 

More from kunanya12 (6)

งานย่อยที่ 1 (ปภัสสร ลำดวล)
งานย่อยที่ 1 (ปภัสสร ลำดวล) งานย่อยที่ 1 (ปภัสสร ลำดวล)
งานย่อยที่ 1 (ปภัสสร ลำดวล)
 
นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 28 ม.5 3
นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 28 ม.5 3นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 28 ม.5 3
นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 28 ม.5 3
 
นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 ม.5 3
นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 ม.5 3นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 ม.5 3
นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 ม.5 3
 
งานย่อยที่ 1ประกวดภาพถ่าย (คุุณัญญา หนุนภักดี)
งานย่อยที่ 1ประกวดภาพถ่าย (คุุณัญญา หนุนภักดี)งานย่อยที่ 1ประกวดภาพถ่าย (คุุณัญญา หนุนภักดี)
งานย่อยที่ 1ประกวดภาพถ่าย (คุุณัญญา หนุนภักดี)
 
พบช่องโหว่ใหม่บน Android
พบช่องโหว่ใหม่บน Androidพบช่องโหว่ใหม่บน Android
พบช่องโหว่ใหม่บน Android
 
มายเมม
มายเมมมายเมม
มายเมม
 

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล

  • 2. บทที่ 1 ความรู้เบืองต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ้ งานในองค์การไม่ว่าจะเป็นองค์การขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ ต่างก็ต้องมีข้อมูลของการทางาน หรือข้อมูลทางธุรกิจในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งข้อมูล เหล่านั้นอาจมีทั้งข้อมูลพนักงาน ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลที่เป็นความลับทางธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนั้นข้อมูลขององค์การดังกล่าวยังอาจมีความสาคัญมากน้อยต่างกัน มีผู้ใช้ข้อมูล เฉพาะกลุ่ม หรือทุกกลุ่มได้ตามความจาเป็นและตามลาดับชั้นความลับ สิ่งสาคัญคือ ข้อมูลขององค์การหนึ่งย่อมมีความเกี่ยวข้องกันและควรที่จะนามารวมไว้ใน “ฐานข้อมูล” (Database)
  • 3. ความหมาย มีคาอธิบายความหมายของ “ฐานข้อมูล” อยู่มากมายหลายคามหมาย ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูลอาจถือได้ว่าเป็นตู้เก็บเอกสารอิเล็กทรอนิคส์ชนิดหนึ่ง เช่น เป็นที่ รวมหรือเป็นที่บรรจุแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง เป็นต้น (A database can be regarded as a kind of electronic filing cabinet.) ฐานข้อมูลเป็นชุดของข้อมูลที่คงทน (Persistent Data) ซึ่งถูกเรียกใช้โดยระบบ โปรแกรมของกิจการใดกิจการหนึ่ง (A database is a collection of persistent data that is used by the application systems of some given enterprise.) ข้อมูลจะ คงทนอยู่ในฐานข้อมูลเพราะเมื่อระบบจัดการฐานข้อมูลรับข้อมูลนั้นเข้าสู่ฐานข้อมูลแล้ว ใครจะขจัดหรือ เอาข้อมูลออกไปจากฐานข้อมูลได้ต้องมีการร้องขอต่อระบบจัดการฐานข้อมูลเท่านั้น ตัวอย่างข้อมูลที่ คงทนในฐานข้อมูล
  • 4.
  • 5. เอ็นทิตี้ คาว่า “เอ็นทิต” (Entity) หมายถึง วัตถุใด ๆ ที่เราสามารถระบุ ี้ หรือแยกแยะออกจากกันได้ ซึ่งแทนอยู่ในฐานข้อมูล (An entity is any distinguishable object that is to be represented in the database.)
  • 6. สัมพันธภาพ คาว่า “สัมพันธภาพ” (Relationship) บางที่เรียกว่า “ความสัมพันธ์” หมายถึง การเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้องระหว่างเอ็นทิตี้ ต่าง ๆ ซึ่งความสัมพันธภาพเป็นตัวเชือมโยงเอ็นทิตเี้ หล่านั้นเข้าไว้ด้วยกัน ่ (Relationship links those basic entities together.)
  • 7. รูปแบบของฐานข้อมูล รูปแบบของฐานข้อมูล ในที่นี้หมายถึง ตัวแบบข้อมูล (Data Model) ของฐานข้อมูลชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีผู้รู้คิดค้นขึ้นมา ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่ให้มา ซึ่งสามารถอนุมานข้อเท็จจริงเพิ่มเติมขึ้นมาได้ (“Data” refers to given facts from which additional facts can be inferred.) ข้อเท็จจริงที่ให้มา คือ ประพจน์ที่เป็นจริงเชิงดังนั้น ความหมายฐานข้อมูลในมุมมองนี้ ก็คือ ชุดของประพจน์ที่เป็นจริงดังกล่าว
  • 8. รูปแบบของฐานข้อมูล ตัวแบบข้อมูล เป็นคาจากัดความเชิงตรรกะ เป็นนามธรรม บริบูรณ์ในตัวเอง ของวัตถุ ตัว กระทาทางคณิตศาสตร์ และ ฯลฯ ซึ่งรวมกันแล้วประกอบเข้าเป็นเครื่องจักรนามธรรมที่ผู้ใช้โต้ตอบได้ วัตถุดังกล่าวทาให้เราสามารถจาลองโครงสร้างข้อมูลได้ ส่วนตัวกระทาทางคณิตศาสตร์ทาให้เราสามารถ จาลองพฤติกรรมของมันได้ ตัวแบบข้อมูล เป็นเหมือนภาษาในการเขียนโปรแกรม แม้ว่าค่อนข้างจะเป็นนามธรรม แต่ โครงสร้างของมันสามารถใช้แก้ปัญหาได้
  • 9. ตัวแบบข้อมูลมี 3 ประเภทที่สาคัญ คือ • ตัวแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Model) • ตัวแบบเครือข่าย (Network Model) • ตัวแบบลาดับชั้น หรือแตกสาขา(Hierarchic Model)
  • 10. ตัวแบบเชิงสัมพันธ์ ผู้ใช้ทั่วไปจะมองเห็นตัวแบบเชิงสัมพันธ์ว่า คือ การเก็บข้อมูลเป็นตาราง (Table) หรือถ้า เรียกอย่างเป็นทางการตามทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ก็คือ รีเลชัน (Relation) นั่นเอง ลักษณะของตาราง ่ จะมี 2 มิติ คือ แถว (Row) และคอลัมน์ (Column)โดยเอ็นทิตี้ (Entity) ต่าง ๆ จะมีข้อมูลถูก นามาจัดเก็บในลักษณะเป็นตาราง กล่าวคือ จะไม่มีแฟ้มข้อมูลแม่หรือแฟ้มข้อมูลลูก แฟ้มข้อมูลแต่ละ ส่วนเป็นอิสระต่อกัน ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ระบบบริหารฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เรียงตามลาดับอักษร ได้แก่ DB2 (มีหลายรุ่น) ของบริษัท IBM Corp. Ingres II ของบริษัท Computer Associates International Inc. Informix Dynamic Server ของบริษัท Informix Software Inc. Microsoft SQL Server ของบริษัท Microsoft Corp. Oracle 8i ของบริษัท Oracle Corp.และ Sybase Adaptive Server ของบริษัท Sybase Inc.
  • 11. ตัวแบบเครือข่าย กลุ่มงานฐานข้อมูลแห่งการประชุมว่าด้วยเรืองภาษาระบบฐานข้อมูล(the Data Base ่ Task Group of the conference on Data Systems Languages) ตัวอย่างเช่น ระบบ IDMS ของบริษัท Computer Associates International Inc. ตัวแบบเครือข่ายนี้ไม่ได้ เกี่ยวข้องกับเรื่องการสื่อสารข้อมูล (Data Communication) แต่อย่างใด โดยตัวแบบนี้ในแง่การ มองของผู้ใช้จะเป็นไปในรูปของการรวบรวม ระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียน ความ แตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนระหว่างตัวแบบเชิงสัมพันธ์และแบบเครือข่าย คือ ในตัวแบบเชิงสัมพันธ์จะแฝง (Implicit) การแสดงความสัมพันธ์เอาไว้ (หมายความว่า ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่าของ ข้อมูลในเขตข้อมูลใด เขตข้อมูลหนึ่งเหมือนกัน) ส่วนการแสดงความสัมพันธ์ในตัวแบบเครือข่ายจะ เป็นไปอย่างโจ่งแจ้ง (Explicit) คือ แสดงได้ในโครงสร้างอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น
  • 12.
  • 13. ในรูปจะเห็นว่า กรอบสี่เหลี่ยมแสดงถึงชนิดของระเบียนในฐานข้อมูลซึ่งจะมี 1 อันต่อ 1 Entity เครื่องหมายลูกศรแสดงถึงความสัมพันธ์ ซึ่งในรูปนีแสดงความสัมพันธ์ ้ แบบหนึ่งต่อกลุ่ม โดยที่หัวลูกศรจะออกจากส่วนของ “หนึ่ง” ไปยังส่วนของ “กลุ่ม” วิธีการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ จะใช้หัวลูกศรเป็นแนวทาง ซึ่งอาจวิ่งทวนทิศทางกับ หัวลูกศรก็ได้ เช่น ถ้าต้องการแสดงรายชื่อของอาจารย์ที่ทางานอยู่แผนกวิชาที่ 4 ก็เริ่มด้วย การออกคาสั่งแก่ระบบจัดการฐานข้อมูลไห้ค้นหาแผนกที่ 4 ก่อน จากระเบียนของแผนกวิชา จากนั้นให้วิ่งตามลูกศรซึ่งจะเชื่อม (Link) ข้อมูลของแผนกที่ 4 นี้เข้ากับข้อมูลในส่วนของ อาจารย์ ซึ่งได้แก่บรรดาระเบียนของอาจารย์ที่ทางานอยู่แผนกที่ 4 สังเกตว่า ในการค้นหานี้ เราจะค้นโดยใช้ลูกศร หรือทางเชื่อมในการโยงความสัมพันธ์ ดังนั้นเราจึงไม่จาเป็นต้องเก็บ เขตข้อมูลรหัสแผนกไว้ในระเบียนของอาจารย์อย่างในตัวแบบเชิงสัมพันธ์
  • 14. ตัวแบบแตกสาขา หรือตัวแบบลาดับ ตัวแบบนี้พัฒนาขึ้นโดยไอบีเอ็ม เมื่อปี พ.ศ. 2511 ตัวอย่างเช่น ระบบ IMS ของ IBM มีความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลเป็นระดับชั้นหรือตามอาวุโส แฟ้มข้อมูลจะมีตาแหน่งจากบนลงล่าง โดยแฟ้มที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าจะเป็นแม่ของแฟ้มที่อยู่ในระดับต่ากว่า ข้อสังเกต คือ แฟ้มหนึ่งจะมี แฟ้มข้อมูลลูก (Child File) ได้หลายแฟ้ม ขณะที่แฟ้มลูกจะมีแฟ้มแม่เพียงแฟ้มเดียว เมือมองใน ่ ลักษณะนี้จะเห็นว่าตัวแบบนี้มีโครงสร้างเหมือนต้นไม้ (Tee) ซึ่งอันที่จริงตัวแบบนี้คล้ายแบบ เครือข่าย แต่ต่างกันตรงที่ ตัวแบบแตกสาขามีกฎเกณฑ์เพิมขึ้นมาอีก 1 ข้อ คือ ในแต่ละกรอบจะมีหัว ่ ลูกศรวิ่งเข้าหาได้ไม่เกิน 1 หัว จากตัวอย่างในภาพของตัวแบบเครือข่าย จะเห็นว่ากรอบอาจารย์มลูกศร ี เข้ามา 2 ทาง ดังนั้น เราจะสร้างฐานข้อมูลเดียวกันนี้ด้วยตัวแบบแตกสาขาไม่ได้ แต่ต้อง เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม เช่น
  • 15. นอกจากนั้น ยังมีลักษณะอีกประการหนึ่งที่สองตัวแบบหลังนี้แตกต่างจากตัวแบบเชิงสัมพันธ์ ก็คือ ใน ตัวแบบลากับชั้น และตัวแบบเครือข่ายนั้น จะมีการใช้ตัวชี้ (Pointers) เพื่อแทนเส้นทางขึ้นลงไปตามแผนภาพ ต้นไม้สาหรับตัวแบบลาดับชั้น และแทนเส้นทางเชื่อมต่อในแผนภาพเครือข่ายของตัวแบบเครือข่าย แต่ในตัวแบบเชิง สัมพันธ์จะไม่มีการเกี่ยวข้องกับตัวชี้ดังกล่าวเลย (C.J. Date, 2000, p. 26) นอกจากตัวแบบทั้ง 3 ดังกล่าวแล้ว เมื่อไม่นานมานี้เริ่มมีผลิตภัณฑ์ระบบบริหารฐานข้อมูลแบบใหม่ ปรากฏขึ้นมาบ้าง คือ ระบบบริหารฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object DBMS) เช่น Gemstone ของบริษัท Gemstone Systems Inc.และ Versant ODBMS ของบริษัท Versant Object Technology ระบบบริหารฐานข้อมูลแบบผสมระหว่างเชิงวัตถุและเชิงสัมพันธ์ (Object/Relational DBMS) ตัวอย่างเช่น DB2 และ Informixในตาราเล่มนี้จะไม่กล่าวถึงระบบฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-oriented Database Systems) ม ไปกว่านี้ แม้ว่าจะจัดเป็นตัวแบบหนึ่งของระบบฐานข้อมูล เนื่องจากเป็นเรื่องที่ยังใหม่และอยู่นอกเหนือขอบเขต ระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล (Database System) เป็นคาประสมระหว่างคาว่า “ระบบ” (System) กับคาว่า “ฐานข้อมูล” (Database) มีความหมายและองค์ประกอบดังต่อไปนี้
  • 16. ความหมาย ระบบฐานข้อมูล โดยพื้นฐานเป็นระบบจัดเก็บระเบียนด้วยคอมพิวเตอร์ (A database system is basically a computerized record-keeping system.)สามารถทางานกับข้อมูลในฐานข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น •เพิ่มแฟ้มใหม่เข้าในฐานข้อมูล •แทรกข้อมูลลงในแฟ้ม •ดึงข้อมูลมาจากแฟ้ม •เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่มีอยู่ •ลบข้อมูล •ลบแฟ้ม
  • 18. หน้าที่ของระบบฐานข้อมูล •การนิยามข้อมูล (Data Definition) ต้องสามารถรับการนิยามข้อมูลได้ เช่น การ กาหนดเค้าร่างภายนอก เค้าร่างแนวคิด เค้าร่างภายใน และการเชื่อมทุกตัวที่เกี่ยวข้อง จากนั้นแปลงนิยามนั้นให้เป็นวัตถุ ดังนั้น ระบบจัดการฐานข้อมูลต้องมี ตัวประมวลผล ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language Processor/Compiler) •การจัดดาเนินการข้อมูล (Data Manipulation) ระบบฯ ต้องสามารถจัดการคาร้องในการ สืบค้น ปรับปรุง ลบ เพิ่มข้อมูลได้ ดังนั้น ระบบฯ จึงต้องมีตัวประมวลผลภาษาจัดดาเนินการ ข้อมูล (Data Manipulation Language Processor/Compiler) การร้องขอให้จัด ดาเนินการข้อมูลอาจเป็น การร้องขอที่แจ้งล่วงหน้า (Planned Request) ซึ่งเตรียมไว้ ล่วงหน้าก่อนการ Execute เป็นอย่างดี เช่น การรันโปรแกรมทุกเช้าซึ่งเป็นกิจวัตร หรืออาจ เป็นการร้องขอที่ไม่แจ้งล่วงหน้า (Unplanned or ad Hoc request) ซึ่งต้องการข้อมูล อย่างฉับพลันหรือเป็นบางครั้งบางคราว ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบโต้ตอบ (Interactive)
  • 19. หน้าที่ของระบบฐานข้อมูล •การแปลงคาสั่งให้เหมาะสมที่สุดและการเอ็กซีคิวคาสั่ง (Optimization and Execution)ระบบ บริหารฐานข้อมูล จะมี Optimizer เป็นซอฟต์แวร์ที่รับเอาคาร้องขอ โค้ดคาสั่งวัตถุนั้นมาตรวจดูก่อนรัน เพื่อดูว่าจะรันอย่างไรจึงจะดีที่สุด กล่าวคือ ให้ใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด เช่น จะใช้วิธีใดในการเข้าถึงข้อมูล X จึงจะเหมาะสมที่สุด •ความปลอดภัยและความถูกต้องของข้อมูล (Data Security and Integrity) ระบบฯ จะต้องยอมให้ ผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA) สามารถเขียนคาสั่ง หรือกาหนดกฎความถูกต้อง (Integrity Constraints)ได้ •การฟื้นฟูสภาพข้อมูลและสภาวะพร้อมกัน (Data Recovery and Concurrency) ระบบฯ ต้องสนับสนุนให้ผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถสั่งให้ ตัวจัดการธรุกรรม (Transaction Manager or Transaction Processing Monitor)ให้ทาการ ฟื้นฟูสภาพ และควบคุมสภาวะการเข้าถึงฐานข้อมูลแบบพร้อมกันได้
  • 20. ความรู้ทวไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ั่ สาระสาคัญ ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้าซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกทั้ง ข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยจะมีการกาหนดระบบความปลอดภัยของ ข้อมูลขึ้น นับได้ว่าปัจจุบันเป็นยุคของสารสนเทศ เป็นที่ยอมรับกันว่า สารสนเทศเป็นข้อมูลที่ผ่านการกลั่นกรองอย่าง เหมาะสม สามารถนามาใช้ประโยชน์อย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการนามาใช้งานด้านธุรกิจ การบริหาร และ กิจการอื่น ๆ องค์กรที่มีข้อมูลปริมาณมาก ๆ จะพบความยุ่งยากลาบากในการจัดเก็บข้อมูล ตลอดจนการนา ข้อมูลที่ต้องการออกมาใช้ให้ทันต่อเหตุการณ์ ดังนั้นคอมพิวเตอร์จึงถูกนามาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดเก็บ ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล ซึ่งทาให้ระบบการจัดเก็บข้อมูลเป็นไปได้สะดวก ทั้งนี้โปรแกรมแต่ละโปรแกรม จะต้องสร้างวิธีควบคุมและจัดการกับข้อมูลขึ้นเอง ฐานข้อมูลจึงเข้ามามีบทบาทสาคัญอย่างมาก โดยเฉพาะ ระบบงานต่าง ๆ ที่ใช้คอมพิวเตอร์ การออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูล จึงต้องคานึงถึงการควบคุมและ การจัดการความถูกต้องตลอดจนประสิทธิภาพในการเรียกใช้ขอมูลด้วย ้
  • 21. นิยามและคาศัพท์พนฐานเกียวกับระบบฐานข้อมูล ื้ ่ •บิท (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด •ไบท์ (Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่กิดจากการนาบิทมารวมกันเป็นตัว อักขระ (Character) •เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่ หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้วได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ที่อยู่ •ระเบียน (Record) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนเอาเขตข้อมูล หลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง •แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึงหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาข้อมูลหลาย ๆ ระเบียนที่เป็นเรืองเดียวกันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา แฟ้มข้อมูลลูกค้า ่ แฟ้มข้อมูลพนักงาน
  • 23. สมาชิกกลุ่ม นาย ครองพล ปัจมนตรี เลขที่ 8 นางสาว ปรียาวัจน์ ชนประเสริฐ เลขที่ 24 นางสาว สตรีรัตน์ หลุกกูล เลขที่ 25 นางสาว คุณัญญา หนุนภักดี เลขที่ 27 นางสาว ณัชชา นาเวช เลขที่ 28 นางสาว ณัฐนันท์ ภิญโญ เลขที่ 29 มัธยมศึกษาปีที่ 5/3