SlideShare a Scribd company logo
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ
วิทยาศาสตร์ ป.6
Book 1.indb 1 3/14/19 10:10 PM
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
II
นักเขียน : อ. กษิติ์เดช สุนทรานนท์
บรรณาธิการ : สินีนุช จันทศรี
บรรณาธิการบริหาร : กรภัทร์ สุทธิดารา
ราคา 250 บาท
ฝ่ายผลิต
กองบรรณาธิการ:มิณฑ์ตราสุรัตนะ,ปิยพรกระหวาย,
ภาวิณี พลท้าว
ออกแบบปก : วสันต์ พึ่งพูลผล
ออกแบบรูปเล่ม : ธนา วารีรัตน์
พิสูจน์อักษร : ปวีณา ห้อยกรุด
ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพสินค้า : วรพล ณธิกุล,
ปฐมพล ธรรมศรีสกุล, มงคล แก้วพลอย, นิวัช ยะหัวดง,
พิพัฒน์ อ้อสถิตย์
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
(National Library of Thailand Cataloging in Publication Data)
กษิติ์เดช สุนทรานนท์.
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6-- นนทบุรี : ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์, 2562.
292 หน้า.
1. วิทยาศาสตร์--ข้อสอบและเฉลย. 2. วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา). I. ชื่อเรื่อง.
372.35
ISBN 978-616-449-142-7
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดย
บริษัท ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จ�ำกัด ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนใด
ส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ไม่ว่ารูปแบบใดๆนอกจากจะได้รับ
อนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้จัดพิมพ์เท่านั้น
หนังสือเล่มนี้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการผลิต และ
เนื้อหาทั้งหมดด้วยกระบวนการตามมาตรฐานการผลิต
สิ่งพิมพ์อย่างละเอียดแล้ว แต่หากยังมีข้อผิดพลาดประการ
ใดเกิดขึ้นทั้งในส่วนของการผลิตหรือในส่วนเนื้อหา กรุณา
แจ้งความผิดพลาดนั้นแก่ทางบริษัทโดยตรง ทางบริษัทจะ
ด�ำเนินการน�ำข้อผิดพลาดดังกล่าวมาแก้ไขและปรับปรุงต่อไป
จัดจ�ำหน่ายทั่วประเทศโดย : บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จ�ำกัด
200 หมู่ 4 ชั้น 19 ห้อง 1901 จัสมินอินเตอร์เนชั่นแนล
ทาวเวอร์ ถ.แจ้งวัฒนะ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
ประเทศไทย 11120
โทรศัพท์ 0-2962-2626 (อัตโนมัติ 10 คู่สาย)
โทรสาร 0-2962-1084
ส�ำหรับร้านค้าและตัวแทนจ�ำหน่าย :
โทรศัพท์ 0-2962-2626 ต่อ 112-114
โทรสาร 0-2962-1084
สั่งซื้อออนไลน์ :
www.serazu.com หรือโทรศัพท์ 08-4700-3219
จัดส่งฟรีทั่วประเทศ (ภายใต้เงื่อนไขที่เว็บไซต์ก�ำหนด)
จัดพิมพ์โดย
บริษัท ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จ�ำกัด
200หมู่4ชั้น19ห้อง1903Aจัสมินอินเตอร์เนชั่นแนล
ทาวเวอร์ ถ.แจ้งวัฒนะ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด
จ.นนทบุรี 11120
โทรศัพท์ 0-2962-1081, 0-2962-2626
(อัตโนมัติ 10 คู่สาย)
โทรสาร 0-2962-1084
www.thinkbeyondbook.com
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
Book 1.indb 2 3/14/19 10:10 PM
III
แลกเปลี่ยนประสบการณ์การอ่านหนังสือได้ที่ www.facebook.com/thinkbeyond.ed
การสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์ในชั้นประถมศึกษาปีที่6เป็นการสอบเพื่อวัดระดับความรู้ความสามารถของ
นักเรียนอีกทั้งบางโครงการยังสามารถน�ำไปใช้ประกอบเอกสารเพื่อยื่นสมัครเรียน(Portfolio)ในชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ได้อีกด้วย โดยในหนังสือเล่มนี้จะประกอบด้วยชุดข้อสอบดังต่อไปนี้

 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท.

 แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร)

 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ.

 แนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET)

 แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์

 แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO)

 แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ
กองบรรณาธิการ ส�ำนักพิมพ์ ธิงค์ บียอนด์เอ็ดดูเคชั่น
ค�ำน�ำ
คำ�นำ�
Book 1.indb 3 3/14/19 10:10 PM
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
IV
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3
»
» วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3
»
» ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3
อาหารและสารอาหาร 4
»
» สารอาหารที่จ�ำเป็นต่อร่างกาย 4
ร่างกายมนุษย์และความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ 7
»
» การเจริญเติบโตของร่างกาย 7
»
» ระบบต่างๆ ในร่างกาย 8
พืช 14
»
» การสร้างอาหารของพืช 14
»
» การหายใจของพืช 15
»
» พืชมีดอกและพืชไร้ดอก 15
»
» การสืบพันธุ์ของพืช 16
»
» การคายน�้ำ (Transpiration) 18
การด�ำรงชีวิตของสัตว์ 18
»
» สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 18
»
» สัตว์มีกระดูกสันหลัง 21
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 21
»
» สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ 21
»
» สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 23
»
» คุณภาพสิ่งแวดล้อมกับชีวิต 24
สารบัญ
Book 1.indb 4 3/14/19 10:10 PM
V
สารบัญ
สสารและสาร 25
»
» สมบัติของสาร 25
»
» การจ�ำแนกสาร 25
»
» การเปลี่ยนแปลงของสาร 27
»
» การเกิดสารใหม่ 28
»
» การแยกสารผสม 28
»
» สารในชีวิตประจ�ำวัน 29
วงจรไฟฟ้า 30
»
» กระแสไฟฟ้าตามธรรมชาติ 30
»
» กระแสไฟฟ้าที่มนุษย์สร้างขึ้น 30
»
» วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 30
»
» สมบัติของตัวน�ำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า 33
หินและแร่ 33
»
» หิน 33
»
» แร่ 35
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 36
»
» ระบบสุริยะ 36
»
» กลุ่มดาว 37
»
» โลก 39
»
» เทคโนโลยีอวกาศ 40
เสียงกับการได้ยิน 41
»
» การเคลื่อนที่ของเสียง 41
»
» เสียงดังเสียงค่อย 41
»
» เสียงสูงเสียงต�่ำ	 41
»
» อวัยวะรับเสียง 42
Book 1.indb 5 3/14/19 10:10 PM
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
VI
แสง 42
»
» การเดินทางของแสงและตัวกลาง 42
»
» การหักเหของแสง 43
»
» การเกิดรุ้งกินน�้ำ	 44
»
» การเกิดมิราจ (Mirage) 44
แนวข้อสอบทบทวนความเข้าใจวิชาวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบทบทวนความเข้าใจวิชาวิทยาศาสตร์ 47
»
» เฉลยแนวข้อสอบทบทวนความเข้าใจวิชาวิทยาศาสตร์ 51
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1)
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 1 55
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 1 59
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 2 63
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 2 69
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 3 73
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 3 79
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2)
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 1 85
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 1 88
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 2 91
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 2 94
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 3 97
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 3 101
Book 1.indb 6 3/14/19 10:10 PM
VII
สารบัญ
แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร)
แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 1 105
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 1 112
แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 2 117
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 2 123
แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 3 127
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 3 133
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ.
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 1 141
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 1 146
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 2 151
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 2 157
แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 3 161
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 3 166
แนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์
(TEDET)
แนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET)		
ชุดที่ 1 173
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET)
ชุดที่ 1 179
Book 1.indb 7 3/14/19 10:10 PM
เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
VIII
แนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET)		
ชุดที่ 2 183
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET)
ชุดที่ 2 189
แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 195
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 199
แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 203
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 207
แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 209
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 213
แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO)
แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO)		
ชุดที่ 1 219
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO)		
ชุดที่ 1 229
แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO)		
ชุดที่ 2 239
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO)		
ชุดที่ 2 247
Book 1.indb 8 3/14/19 10:10 PM
IX
สารบัญ
แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ
แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 1 259
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 1 264
แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 2 267
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 2 272
แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 3 275
»
» เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 3 279
Book 1.indb 9 3/14/19 10:10 PM
Book 1.indb 10 3/14/19 10:10 PM
สรุปวิทยาศาสตร์
ประถมศึกษาปีที่ 4-6
Book 1.indb 1 3/14/19 10:10 PM
Book 1.indb 2 3/14/19 10:10 PM
3
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คือ การศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ด้วยกระบวนการแสวงหาความรู้
มีขั้นตอน มีระเบียบแบบแผน โดยมีเหตุผล และหลักฐานที่สามารถพิสูจน์ตามหลักวิชาการได้
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
คือ ขั้นตอนที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการให้ได้มาซึ่งความรู้ ประกอบด้วย
1. ขั้นระบุปัญหาสามารถใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์มาช่วยในการระบุปัญหาที่สงสัยได้เช่นการสังเกต
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน เป็นขั้นตอนที่ผู้ศึกษาคาดคะเนค�ำตอบเอาไว้ล่วงหน้า โดยค�ำตอบนั้นจะต้องเป็น
เหตุเป็นผลอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงและอยู่ในขอบเขตของปัญหาที่สงสัยซึ่งสมมติฐานที่ตั้งไว้
อาจจะถูกหรือผิดก็ได้
3. ขั้นรวบรวมค้นคว้าข้อมูล เป็นขั้นที่ผู้ศึกษาต้องค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงวิธีการที่น�ำมา
เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาข้างต้นที่สงสัยโดยข้อมูลที่ได้มาต้องมาจากแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้
ในขั้นตอนนี้ผู้ศึกษาควรมีการรวบรวมข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย
4. ขั้นทดลอง เป็นขั้นตอนที่ผู้ศึกษาน�ำข้อมูลที่ค้นคว้าและตรวจสอบแล้วมาลองปฏิบัติ เพื่อหา
ค�ำตอบของปัญหาซึ่งวิธีการทดลองต้องท�ำซ�้ำๆกันจนเป็นผลการทดลองที่แน่ชัดน�ำไปตอบค�ำถาม
ของปัญหาได้
5. ขั้นสรุปผลการทดลองและน�ำไปใช้ เป็นการเอาความรู้ที่ได้จากการศึกษาข้อมูล มาเขียนรายงาน
สรุปผลการศึกษา
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต การเฝ้าดูโดยใช้ประสาทสัมผัส ได้แก่ การเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การรับรส การ
สัมผัส
2. การวัด การใช้เครื่องมือหาขนาดหรือปริมาณของสิ่งต่างๆ โดยต้องระบุตัวเลขและหน่วยอย่าง
ถูกต้อง เพื่อความแม่นย�ำของข้อมูล
3. การค�ำนวณ การใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการหาผลลัพธ์
4. การจ�ำแนกประเภท การจัดกลุ่มข้อมูลหรือสิ่งต่างๆ ตามเกณฑ์
5. การใช้ความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับเวลา เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติต่างๆ ที่เกี่ยวกับ
ทิศทาง รูปทรง สถานที่ ระยะทาง พื้นที่ เวลา ฯลฯ เช่น การหาต�ำแหน่งของวัตถุที่เคลื่อนที่ไปเมื่อ
เวลาเปลี่ยนไป
Book 1.indb 3 3/14/19 10:10 PM
4 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
6. การจัดกระท�ำและสื่อความหมายข้อมูล การน�ำข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการวัดมาน�ำเสนอ
ผ่านสื่อต่างๆ เช่น กราฟ ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร
7. การลงความเห็นจากข้อมูล การแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นเหตุเป็นผลต่อการทดลองที่ได้
8. การพยากรณ์เป็นการคาดคะเนค�ำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลองโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
การวัด
9. การตั้งสมมติฐาน การคิดค�ำตอบของปัญหาที่ตั้งเอาไว้ก่อนท�ำการทดลอง มักเป็นข้อความที่บอก
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตาม
10. การก�ำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ เป็นการก�ำหนดความหมายหรือขอบเขตของค�ำต่างๆ ที่อยู่ใน
สมมติฐานให้มีความชัดเจน
11. การก�ำหนดและควบคุมตัวแปร เป็นการควบคุมสิ่งต่างๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นหรือตัวแปร
อิสระ ที่จะท�ำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน
›
› ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ตัวแปรที่ก�ำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน
›
› ตัวแปรตาม คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น
›
› ตัวแปรควบคุม คือ ปัจจัยอื่นนอกเหนือจากตัวแปรต้นซึ่งมีผลต่อการทดลอง จึงต้องควบคุม
ให้เหมือนกันหรือคงที่ขณะท�ำการทดลอง
12. การทดลอง กระบวนการพิสูจน์สมมติฐาน ประกอบด้วย การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการ
ทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง
13. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป การวิเคราะห์และแปลผลที่ได้จากการทดลองเพื่อลง
ข้อสรุปของปัญหา
อาหารและสารอาหาร
สารอาหารแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. ให้พลังงาน ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
2. ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ เกลือแร่ วิตามิน น�้ำ
สารอาหารที่จ�ำเป็นต่อร่างกาย
โปรตีน
เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย พบมากในเนื้อสัตว์ นม ไข่ และถั่วต่างๆ เมื่อย่อยแล้วจะได้กรด
อะมิโน
หน้าที่ของโปรตีน
1. ช่วยซ่อมแซมส่วนเนื้อเยื่อที่สึกหรอของร่างกาย
2. ช่วยสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อ
3. กรดอะมิโนถูกน�ำไปสร้างเป็นฮอร์โมน เอนไซม์ และสารภูมิคุ้มกัน
4. ให้พลังงานและช่วยควบคุมการท�ำงานของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย
5. ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ไม่แคระแกร็น
Book 1.indb 4 3/14/19 10:10 PM
5
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย พบมากในข้าว น�้ำตาล เผือก มัน
รวมไปถึงผลิตภัณฑ์จากแป้ง เช่น ขนมปัง
หน้าที่ของคาร์โบไฮเดรต
1. เป็นพลังงานให้แก่ร่างกาย
2. ถูกร่างกายน�ำไปเผาผลาญเป็นอันดับแรก ตามด้วยไขมันและโปรตีน
3. เก็บสะสมไว้ในร่างกายเพื่อน�ำไปใช้เวลาขาดแคลน
ไขมัน
เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกายพบได้ในพืชและสัตว์ไขมันจากพืชเช่นน�้ำมันงา
น�้ำมันมะพร้าว น�้ำมันร�ำข้าว ไขมันจากสัตว์ เช่น น�้ำมันหมู เนย

 ไขมันที่มีประโยชน์ คือ ไขมันดีที่อุดมไปด้วยกรดไขมันอิ่มตัวที่ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเองได้

 ไขมันที่ให้โทษ คือ ไขมันร้ายกลุ่มคอเลสเตอรอลที่ท�ำให้เกิดโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
หน้าที่ของไขมัน
1. ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย
2. ช่วยป้องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะภายในร่างกาย
3. ช่วยในการดูดซึมของวิตามิน A D E และ K
วิตามิน
เป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแต่หากขาดจะเกิดภาวะผิดปกติของร่างกายพบมากในผักและผลไม้ต่างๆ
รวมไปถึงเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ นมและไข่
หน้าที่ของวิตามิน
1. ช่วยสร้างภูมิต้านทานโรคต่างๆ แก่ร่างกาย
2. ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายท�ำงานปกติ
›
› วิตามินที่ละลายในน�้ำ : C, B1, B2, B3, B5, B6, B9, B12
›
› วิตามินที่ละลายในไขมัน : A, D, E, K
ความส�ำคัญของวิตามิน

 วิตามิน A : ช่วยในการเจริญเติบโต บ�ำรุงสายตา ช่วยป้องกันโรคตาฟาง

 วิตามิน C : ท�ำให้หลอดเลือดแข็งแรง ช่วยป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน

 วิตามิน D : จ�ำเป็นในการสร้างกระดูกและฟัน ช่วยป้องกันโรคกระดูกอ่อน

 วิตามิน B1 : ช่วยป้องกันโรคเหน็บชา

 วิตามิน B2 : ช่วยป้องกันโรคปากนกกระจอก

 วิตามิน B12 : จ�ำเป็นส�ำหรับการสร้างเม็ดเลือดแดง และช่วยเสริมสร้างการท�ำงานของระบบ
ประสาทและสมอง
Book 1.indb 5 3/14/19 10:10 PM
6 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
แร่ธาตุ
เป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน แร่ธาตุยังเป็นส่วนประกอบของสารหลายชนิดที่มีความส�ำคัญต่อการท�ำ
หน้าที่ของเซลล์และอวัยวะ พบมากในผักและผลไม้ต่างๆ รวมไปถึงเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ นมและไข่
หน้าที่ของแร่ธาตุ
ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายท�ำงานปกติ
ความส�ำคัญของแร่ธาตุ

 แคลเซียม : ช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง

 เหล็ก : เป็นส่วนประกอบส�ำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง

 ไอโอดีน : ช่วยป้องกันโรคคอพอก
น�้ำ
เป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน เป็นส่วนประกอบของเซลล์ในร่างกาย ช่วยในการน�ำของเสียออกจาก
ร่างกายและควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้คงที่
ล�ำดับในการดึงพลังงานไปใช้
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
พลังงานของสารอาหารแต่ละชนิด

 คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี

 โปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี

 ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี
การทดสอบสารอาหาร
การทดสอบ วิธีทดสอบ ความเปลี่ยนแปลง
การทดสอบแป้ง
ใช้สารละลายไอโอดีน
หยดสารละลายลงบนอาหาร สารละลายเปลี่ยนเป็นสีม่วงแกม
น�้ำเงิน
การทดสอบน�้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
ใช้สารละลายเบเนดิกส์
น�ำสารละลายใส่กับอาหารและน�ำ
ไปต้ม
สารละลายเปลี่ยนเป็นสีแดงอิฐ
การทดสอบโปรตีน
ใช้สารละลายไบยูเรต
หยดสารละลายลงบนอาหาร สารละลายเปลี่ยนเป็นสีม่วงหรือ
น�้ำเงิน
การทดสอบไขมัน
ใช้กระดาษขาวหรือกระดาษไข
น�ำมาสัมผัสกับอาหาร กระดาษจะเกิดคราบหรือโปร่งแสง
Book 1.indb 6 3/14/19 10:10 PM
7
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
ตารางที่ 1 ตารางแสดงความต้องการพลังงานที่ควรได้รับใน 1 วันส�ำหรับเด็กไทย
ประเภท อายุ (ปี) พลังงาน (กิโลแคลอรี)
เด็กเล็ก
1–3
4–6
7–9
1,200
1,450
1,600
เด็กผู้ชาย
10–12
13–15
16–19
1,850
2,300
2,400
เด็กผู้หญิง
10–12
13–15
16–19
1,700
2,000
1,850
ร่างกายมนุษย์และความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
การวัดค่าการเจริญเติบโตของร่างกายวัดได้จาก
1. การชั่งน�้ำหนัก
2. วัดส่วนสูง
3. วัดความยาวขา
4. วัดความยาวแขน และรอบเอว
กราฟแสดงน�้ำหนักและความสูงของร่างกายในช่วงอายุต่างๆเปรียบเทียบระหว่างเพศชายกับเพศหญิง
น�้ำหนัก (กิโลกรัม)
เพศชาย
อายุ (ปี)
65
60
55
50
45
40
35
30
25
20
15
10
เพศหญิง
6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
กราฟแสดงน�้ำหนักในช่วงอายุต่างๆ
Book 1.indb 7 3/14/19 10:10 PM
8 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
ความสูง (เซนติเมตร)
เพศชาย
อายุ (ปี)
190
170
160
150
140
130
120
110
เพศหญิง
6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
กราฟแสดงความสูงในช่วงอายุต่างๆ
จากกราฟสรุปได้ ดังนี้

 ช่วง 6–10 ปี เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีการเจริญเติบโตของน�้ำหนักและความสูงใกล้เคียงกัน

 ช่วง 10–13 ปี เด็กผู้หญิงมีน�้ำหนักและความสูงมากกว่าเด็กผู้ชาย เนื่องจากโครงกระดูกของเด็ก
ผู้หญิงเจริญเติบโตเร็วกว่าเด็กผู้ชาย

 ช่วง 14–15 ปี เด็กผู้ชายจะมีน�้ำหนักและความสูงมากกว่าเด็กผู้หญิง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย
1. พันธุกรรม
2. การรับประทานอาหารครบทั้ง 5 หมู่และรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
3. ออกก�ำลังกายอย่างพอเหมาะ
4. พักผ่อนเพียงพอ
5. ไม่เกี่ยวข้องกับสารเสพติด
ระบบต่างๆ ในร่างกาย
1. ระบบย่อยอาหาร
แบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ
1. การย่อยเชิงกล คือ การใช้ฟันบดเคี้ยวอาหาร
2. การย่อยเชิงเคมี คือ การสลายอาหารให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลง โดยการใช้เอนไซม์หรือน�้ำย่อย
Book 1.indb 8 3/14/19 10:10 PM
9
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
ส่วนประกอบและหน้าที่ของอวัยวะในทางเดินอาหาร
ปาก
คอหอย
กระเพาะอาหาร
หลอดอาหาร
ตับอ่อน
ถุงน�้ำดี
ตับ
ล�ำไส้ใหญ่
ล�ำไส้เล็ก
เมื่อรับประทานอาหาร อาหารจะถูกล�ำเลียงไปตามทางเดินอาหารดังนี้

 ล�ำดับที่ 1 ปาก มีการย่อยทั้งเชิงกล คือ ฟันบดเคี้ยวอาหาร และการย่อยเชิงเคมี คือ ต่อมน�้ำลาย
ผลิตน�้ำย่อยอะไมเลส ย่อยแป้งให้กลายเป็นน�้ำตาลมอลโทส

 ล�ำดับที่ 2 คอหอย เป็นทางผ่านของอาหารเข้าสู่หลอดอาหาร (ไม่มีการย่อยอาหาร)

 ล�ำดับที่ 3 หลอดอาหาร เป็นทางผ่านอาหารเข้าสู่กระเพาะอาหาร (ไม่มีการย่อยอาหาร) มีต่อม
ขับน�้ำเมือกช่วยหล่อลื่นให้อาหารผ่านได้สะดวก

 ล�ำดับที่ 4 กระเพาะอาหาร ผนังของกระเพาะอาหารจะขับน�้ำย่อยออกมาย่อยอาหาร พร้อมทั้ง
บีบรัดให้อาหารคลุกเคล้ากับน�้ำย่อย โดยจะย่อยสารอาหารประเภทโปรตีนเท่านั้น และมีเอนไซม์
ที่ส�ำคัญ ได้แก่ กรดเกลือ เพปซิน ลิเพส และเรนนิน จากนั้นอาหารที่ผ่านการย่อยและไม่ได้ย่อย
จากกระเพาะอาหารจะถูกส่งต่อไปยังหูรูดสู่ล�ำไส้เล็กต่อไป

 ล�ำดับที่ 5 ล�ำไส้เล็กมีลักษณะเป็นท่อยาวประมาณ6–7เมตรมีการย่อยสารอาหารคาร์โบไฮเดรต
โปรตีนและไขมัน โดยใช้เอนไซม์ที่ล�ำไส้เล็กสร้างขึ้นเอง และเอนไซม์ที่ผลิตจากตับอ่อน นอกจากนี้
ล�ำไส้เล็กยังท�ำหน้าที่ดูดซึมสารอาหารด้วย
›
› ตับอ่อน ท�ำหน้าที่สร้างเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการย่อยอาหารแล้วส่งไปยังล�ำไส้เล็ก
›
› ตับ ท�ำหน้าที่สร้างน�้ำดีแล้วส่งไปเก็บในถุงน�้ำดี น�้ำดีสามารถช่วยให้ไขมันแตกตัวออกเป็นเม็ด
เล็กๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยของเอนไซม์จากตับอ่อน

 ล�ำดับที่ 6 ล�ำไส้ใหญ่ ในส่วนนี้ไม่มีการย่อยแต่ท�ำหน้าที่เก็บกากอาหารและดูดซึมน�้ำออกจากกาก
อาหาร ก่อนส่งกากอาหารผ่านไปยังทวารหนักเพื่อขับออกจากร่างกาย
Book 1.indb 9 3/14/19 10:10 PM
10 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
ตารางที่ 2 ตารางแสดง อวัยวะ ชนิดของน�้ำย่อย สารอาหารที่ถูกย่อย และผลจากการย่อย
อวัยวะ ชนิดของน�้ำย่อย สารอาหารที่ถูกย่อย ผลจากการย่อย
ปาก อะไมเลส แป้ง มอลโทส
กระเพาะอาหาร เพปซิน
เรนนิน
โปรตีน
โปรตีนในน�้ำนม (เคซีน)
โปรตีนโมเลกุลเล็ก
นมตกตะกอนเป็นลิ่ม
ล�ำไส้เล็ก อะมิโนเพปทิเดส
ไดเพปทิเดส
อะไมเลส
มอลเทส
ซูเครส
แลกเทส
ลิเพส
เพปไทด์
ไดเพปไทด์
แป้ง
มอลโทส
ซูโครส
แลกโทส
ไขมัน
กรดอะมิโน
กรดอะมิโน
มอลโทส
กลูโคส + กลูโคส
กลูโคส + ฟรักโทส
กลูโคส + กาแลกโทส
กรดไขมัน + กลีเซอรอล
ตับอ่อน ทริปซิน, ไคโมทริปซิน
ลิเพส
อะไมเลส
โปรตีน, ไขมัน
ไขมัน
แป้ง
กรดอะมิโน + กรดอะมิโน
กรดไขมัน + กลีเซอรอล
มอลโทส
ตับและถุงน�้ำดี เกลือน�้ำดีและด่าง ไขมัน หยดไขมันเล็กๆ
2. ระบบหมุนเวียนเลือด
เลือด
แบ่งออกเป็นส่วนที่เป็นของเหลวคือน�้ำเลือดหรือพลาสมาและส่วนที่ไม่เป็นของเหลวคือเซลล์เม็ดเลือด
และเกล็ดเลือด
1. น�้ำเลือด ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงเอนไซม์ ฮอร์โมน วิตามิน แร่ธาตุ แก๊ส สารอาหารต่างๆ ที่ได้จาก
กระบวนการย่อยไปยังเซลล์ต่างๆในร่างกายและรับของเสียจากเซลล์เช่นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2
) ออกไปก�ำจัดนอกร่างกาย
2. เซลล์เม็ดเลือด ประกอบด้วย
›
› เซลล์เม็ดเลือดแดง มีลักษณะค่อนข้างกลม ตรงกลางเว้าเข้าหากัน เนื่องจากไม่มีนิวเคลียส
ประกอบด้วยสารประเภทโปรตีนที่เรียกว่า “ฮีโมโกลบิน” ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงออกซิเจนไปยัง
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย แหล่งสร้างเม็ดเลือดแดงคือ ไขกระดูก มีอายุประมาณ 110–120 วัน
หลังจากนั้นจะถูกน�ำไปท�ำลายที่ตับและม้าม
›
› เซลล์เม็ดเลือดขาว ท�ำหน้าที่ท�ำลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย แหล่งสร้างเม็ดเลือดขาวคือ
ไขกระดูก ม้าม และต่อมน�้ำเหลือง มีอายุประมาณ 7–14 วัน
3. เกล็ดเลือด ท�ำหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัวเวลาเกิดบาดแผล
Book 1.indb 10 3/14/19 10:10 PM
11
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
หัวใจ
หัวใจของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 4 ห้อง แต่ละห้องจะมีลิ้นหัวใจกั้นไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ

 ห้องบนขวา (เอเตรียมขวา) รับเลือดเสีย (เลือดด�ำ เลือดที่มีคาร์บอนไดออกไซด์สูง ออกซิเจนต�่ำ)

 ห้องล่างขวา (เวนตริเคิลขวา) ท�ำหน้าที่ฉีดเลือดเสียไปฟอกที่ปอด

 ห้องบนซ้าย (เอเตรียมซ้าย) รับเลือดดี (เลือดแดง เลือดที่มีออกซิเจนสูง คาร์บอนไดออกไซด์ต�่ำ) ที่
ผ่านการฟอกจากปอด กลับเข้าหัวใจ

 ห้องล่างซ้าย (เวนตริเคิลซ้าย) ท�ำหน้าที่ฉีดเลือดดีไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ปอด
พัลโมนารี
อาร์เตอรี
เอออร์ตา
ส่วนอื่นๆ
ของร่างกาย
พัลโมนารีเวน
เอเตรียม
ขวา
เวนตริเคิล
ขวา
เอเตรียม
ซ้าย
เวนตริเคิล
ซ้าย
เวนา
คาวา
หลอดเลือด
หลอดเลือดแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. หลอดเลือดแดง ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงเลือดที่ถูกสูบฉีดออกจากหัวใจไปยังอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
2. หลอดเลือดด�ำ ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงเลือดจากอวัยวะต่างๆ ของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ เพื่อส่งไปฟอก
ที่ปอด
3. หลอดเลือดฝอย เป็นเส้นเลือดเล็กๆ พบในบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนสารต่างๆ ระหว่างเลือดกับ
เนื้อเยื่อ
ระบบไหลเวียนเลือดของมนุษย์เป็นระบบปิด
ข้อสังเกต
อัตราการเต้นของหัวใจ
หัวใจของมนุษย์จะมีการบีบตัวและคลายตัวเป็นจังหวะตลอดเวลาเพื่อสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของ
ร่างกาย ซึ่งเราสามารถทราบอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการฟังการเต้นของหัวใจหรือชีพจร

 ชีพจร คือ อาการเต้นของหลอดเลือด ซึ่งเกิดการขยายและคลายตัวของผนังหลอดเลือด

 การจับชีพจร คือ สามารถจับที่ข้อมือ ข้อพับ และล�ำคอ บริเวณหลอดเลือดแดง

 อัตราการเต้นของชีพจรของคนปกติ มีอัตราการเต้นอยู่ระหว่าง 60–100 ครั้ง/นาที
Book 1.indb 11 3/14/19 10:10 PM
12 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
อัตราการเต้นของหัวใจขณะออกก�ำลังกาย
อายุ (ปี) อัตราการเต้นของหัวใจ (30 วินาที)
8 53–80 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 106 ครั้ง)
9 53–79 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 106 ครั้ง)
10 53–80 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 105 ครั้ง)
11 53–70 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 105 ครั้ง)
12 53–78 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 104 ครั้ง)
3. ระบบหายใจ
คือ กระบวนการน�ำออกซิเจนเข้าสู่เลือด และน�ำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด มีขั้นตอนดังนี้

 ล�ำดับที่ 1 รูจมูก เป็นทางผ่านของอากาศเข้าสู่ร่างกาย ภายในมีขนจมูกส�ำหรับกรองฝุ่น

 ล�ำดับที่ 2 คอหอย เป็นทางผ่านของอากาศ

 ล�ำดับที่ 3 กล่องเสียง ต่อจากคอหอยเป็นทางผ่านของอากาศ ท�ำให้เกิดเสียงและป้องกันไม่ให้
อาหารเข้าไปในหลอดลม โดยมีฝาปิดกล่องเสียง

 ล�ำดับที่ 4 หลอดลม เป็นท่อกลวงน�ำอากาศผ่านเข้าสู่ขั้วปอด และแยกไปตามแขนงขั้วปอด ปลาย
แขนงนี้จะมีถุงลมเล็กๆ เป็นที่เก็บและแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับคาร์บอนไดออกไซด์

 ล�ำดับที่ 5 ปอด มี 2 ข้าง แต่ละข้างประกอบด้วยถุงลมเล็กๆ มากมาย โดยมีการแลกเปลี่ยนแก๊ส
กับถุงลมเล็กๆ เหล่านี้
หายใจเข้า
กะบังลมหดตัวต�่ำลง กระดูกซี่โครงยกตัวขึ้น ท้องจะป่อง ความดันอากาศภายในช่องอกลดต�่ำลง อากาศ
ภายนอกจึงเข้าสู่ภายใน
หายใจออก
กะบังลมคลายตัว กระดูกซี่โครงลดต�่ำลง ท้องจะแฟบ ความดันอากาศภายในสูงขึ้น อากาศภายในถูก
ดันออกสู่ภายนอก
4. ระบบขับถ่ายของเสีย
การขับถ่าย คือ การก�ำจัดของเสียออกจากร่างกาย ถูกขับออก 4 ทาง ได้แก่
1. ผิวหนัง ขับของเสียออกมาในรูปของเหงื่อซึ่งประกอบด้วย น�้ำ 99 % อีก 1 % เป็นเกลือโซเดียม
ยูเรีย กรดแลกติก และกรดอะมิโนเล็กน้อย
2. ปอด ก�ำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทางการหายใจออก
3. ไต ร่างกายของมนุษย์มีไต 1 คู่ มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง ท�ำหน้าที่กรองของเสียจากเลือด เช่น
เกลือและยูเรีย โดยขับของเสียผ่านท่อปัสสาวะ
4. ล�ำไส้ใหญ่ ขับกากอาหารและของเสียในรูปอุจจาระออกทางทวารหนัก
Book 1.indb 12 3/14/19 10:10 PM
13
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
5. ระบบสืบพันธุ์

 ระบบสืบพันธุ์ คือ ระบบที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มจ�ำนวนสิ่งมีชีวิตให้มากขึ้นเพื่อสืบทอดเผ่าพันธุ์

 การสืบพันธุ์ คือ การให้ก�ำเนิดลูกหลานขึ้นมาใหม่ที่มีลักษณะเหมือนพ่อแม่
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ท่อน�ำอสุจิ
ท่อปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะ
ถุงเก็บอสุจิ
ต่อมลูกหมาก
ต่อมคาวเปอร์
อัณฑะ
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย มีองค์ประกอบดังนี้

 อัณฑะ มี 2 ลูก ท�ำหน้าที่สร้างอสุจิ (เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย) และผลิตฮอร์โมนเพศชาย (เทสโทส-
เทอโรน)

 ถุงอัณฑะ ท�ำหน้าที่ปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมในการผลิตอสุจิ

 องคชาต ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงน�้ำปัสสาวะและอสุจิ

 หลอดน�ำตัวอสุจิ ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงตัวอสุจิไปเก็บไว้ที่ต่อมสร้างน�้ำเลี้ยงอสุจิ

 ต่อมสร้างน�้ำเลี้ยงอสุจิ ท�ำหน้าที่สร้างอาหารเลี้ยงตัวอสุจิ คือ น�้ำตาลฟรักโทส โปรตีนโกลบูลิน
วิตามินซี

 ต่อมลูกหมาก ท�ำหน้าที่หลั่งสารที่มีฤทธิ์เป็นด่างอย่างอ่อน เพื่อลดความเป็นกรดในท่อปัสสาวะ

 ต่อมคาวเปอร์ ท�ำหน้าที่สร้างเมือกหล่อลื่นในท่อปัสสาวะ
เพศชายจะเริ่มสร้างอสุจิเมื่ออายุประมาณ 12–13 ปี และสร้างไปตลอดชีวิต โดยอสุจิจะประกอบด้วย
3 ส่วน คือ ส่วนหัวที่มีนิวเคลียสอยู่ภายใน ส่วนร่างกายที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก และส่วนหางที่มีหน้าที่ใน
การเคลื่อนที่
Book 1.indb 13 3/14/19 10:10 PM
14 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ไข่
ท่อน�ำไข่
รังไข่
ช่องคลอด
มดลูก
ปากมดลูก
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง มีองค์ประกอบดังนี้

 รังไข่ ท�ำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง หรือไข่ (เซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง) และสร้างฮอร์โมนเพศ
หญิง (เอสโตรเจน และโพรเจสเทอโรน)

 มดลูก เป็นที่ฝังตัวของไข่หลังจากได้รับการผสม เป็นแหล่งที่เกิดประจ�ำเดือน และเป็นแหล่ง
เจริญเติบโตของทารก

 ท่อน�ำไข่ เป็นท่อที่เชื่อมระหว่างมดลูกกับรังไข่ เป็นบริเวณที่มีการปฏิสนธิของอสุจิกับไข่

 ช่องคลอด เป็นทางผ่านของอสุจิ และทางออกของทารกเมื่อครบก�ำหนดคลอด
พัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
เริ่มจากเซลล์ไข่ปฏิสนธิกับ
อสุจิเป็น “ไซโกต”
เซลล์จะค่อยๆ เสื่อมถอยลง
เรียกว่า “การแก่ชรา”
จนกระทั่งตายในที่สุด
เมื่อทารกเจริญเติบโต
เต็มที่กลายเป็น
“ตัวเต็มวัย”
เอ็มบริโอจะเคลื่อนที่มาตาม
ท่อน�ำไข่และมาฝังตัวในผนังมดลูก
เมื่อเอ็มบริโอเจริญเติบโตจนครบ
เวลาประมาณ 38 สัปดาห์
จะคลอดออกมาเป็น “เด็กทารก”
พัฒนาเป็น “เอ็มบริโอ”
พืช
พืช คือ สิ่งมีชีวิตประเภทหนึ่งสามารถสร้างอาหารเองได้โดยอาศัยคลอโรฟิลล์ช่วยในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
การสร้างอาหารของพืช
การสร้างอาหารของพืชโดยการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดขึ้นเวลามีแสง จ�ำเป็นต้องใช้ปัจจัยต่างๆ ดังนี้
Book 1.indb 14 3/14/19 10:10 PM
15
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
1. คลอโรฟิลล์ ท�ำหน้าที่ดึงดูดแสงเข้ามาเพื่อใช้ในกระบวนการปรุงอาหาร
2. น�้ำ (H2
O)
3. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2
)
4. แสง
ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
สามารถเขียนแสดงได้ดังนี้
6CO2
+ 12H2
O แสง
คลอโรฟิลล์
C6
H12
O6
+ 6O2
+ 6H2
O
คาร์บอนไดออกไซด์		 น�้ำ		 น�้ำตาลกลูโคส		 ออกซิเจน		 น�้ำ
การหายใจของพืช
การหายใจของพืช คือ การสลายอาหาร (น�้ำตาลกลูโคส) โดยใช้ออกซิเจนเพื่อให้ได้พลังงาน
ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในการหายใจของพืช
สามารถเขียนแสดงได้ดังนี้
C6
H12
O6
+ O2
CO2
+ H2
O + พลังงาน
น�้ำตาลกลูโคส		 ออกซิเจน		 คาร์บอนไดออกไซด์ น�้ำ
การสังเคราะห์แสงเกิดขึ้นในช่วงกลางวัน แต่การหายใจเกิดขึ้นตลอดเวลา
ข้อสังเกต
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
การจ�ำแนกพืชโดยการสืบพันธุ์ สามารถจ�ำแนกออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. พืชไร้ดอก คือ พืชที่ไม่มีอวัยวะส�ำคัญคือดอก จึงไม่สามารถสืบพันธุ์โดยใช้เมล็ดได้ เช่น มอส เฟิร์น
สาหร่าย สน
2. พืชมีดอก คือ พืชที่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว จะออกดอกเพื่อใช้ในการสืบพันธุ์ จ�ำแนกได้เป็น 2
ชนิด คือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
ตารางที่ 3 ตารางเปรียบเทียบระหว่างพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
ลักษณะ ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู่
จ�ำนวนใบเลี้ยง 1 ใบ 2 ใบ
ล�ำต้น มองเห็นข้อปล้องชัดเจน ไม่ค่อยมีกิ่งก้าน มองเห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน มีกิ่งก้านมากมาย
ใบ มีใบเลี้ยงเพียง 1 ใบ มีใบเลี้ยง 2 ใบ
ราก เป็นระบบรากฝอย เป็นระบบรากแก้ว
จ�ำนวนกลีบดอก 3 กลีบ หรือทวีคูณของ 3 กลีบ 4-5 กลีบ หรือทวีคูณของ 4-5 กลีบ
เมล็ด แกะเป็น 2 ซีกไม่ได้ แกะเป็น 2 ซีกได้
ตัวอย่าง ข้าว, ข้าวโพด, หญ้าคา, ไผ่, มะพร้าว, อ้อย มะม่วง, ตะเคียน, มะขาม, ชบา, ล�ำไย, มะนาว
Book 1.indb 15 3/14/19 10:10 PM
16 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (สเปิร์ม) กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (ไข่)
เป็นการสืบพันธุ์ที่อาจเกิดการกลายพันธุ์ได้
อับเรณู
ก้านชูอับเรณู
กลีบเลี้ยง
กลีบดอก
ยอดเกสรเพศเมีย
ก้านเกสรเพศเมีย
เกสรเพศเมีย
เกสรเพศผู้
รังไข่
ออวุล
ส่วนประกอบส�ำคัญของดอกไม้
มีดังนี้
1. กลีบเลี้ยง (Sepal) คือ ส่วนที่อยู่นอกสุดที่เปลี่ยนแปลงมาจากใบ ช่วยป้องกันอันตรายให้แก่ดอก
อ่อน
2. กลีบดอก (Petal) คือ ส่วนที่อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยง มักมีสีสด กลิ่นหอม ช่วยในการล่อแมลงมาผสม
เกสร
3. เกสรเพศผู้ (Stamen) คือ ส่วนที่อยู่ถัดจากกลีบดอกเข้าไป ประกอบด้วยก้านชูเกสรเพศผู้และ
อับเรณู ภายในบรรจุละอองเรณูที่มีเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
4. เกสรเพศเมีย (Pistil) เป็นส่วนที่อยู่ในสุด ท�ำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ประกอบด้วยยอด
เกสรเพศเมีย ก้านชูเกสรเพศเมีย รังไข่ ซึ่งภายในมีออวุลท�ำหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
การแบ่งชนิดของดอกไม้
1. ดอกครบส่วน (Complete Flower) คือ ดอกไม้ที่มีส่วนประกอบครบทั้งสี่ส่วนในดอกเดียวกัน
เช่น ชบา กุหลาบ ดอกบัว อัญชัน ชงโค มะเขือ มะลิ เป็นต้น
2. ดอกไม่ครบส่วน (Incomplete Flower)คือดอกที่มีส่วนประกอบไม่ครบทั้งสี่ส่วนเช่นกล้วยไม้
มะละกอ ฟักทอง ต�ำลึง เป็นต้น
3. ดอกสมบูรณ์เพศ คือ ดอกที่มีเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น ชบา กุหลาบ
มะลิ เป็นต้น
4. ดอกไม่สมบูรณ์เพศ คือ ดอกที่มีเกสรเพียงชนิดเดียว เช่น ต�ำลึง ฟักทอง ข้าวโพด แตงกวา เป็นต้น
Book 1.indb 16 3/14/19 10:10 PM
17
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
1. ดอกครบส่วนจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศเสมอ
2. ดอกสมบูรณ์เพศอาจเป็นดอกครบส่วนหรือไม่ครบส่วนก็ได้
3. ดอกไม่สมบูรณ์เพศเป็นดอกไม่ครบส่วนเสมอ
4. ดอกไม่ครบส่วนอาจเป็นดอกสมบูรณ์เพศหรือไม่สมบูรณ์เพศก็ได้
ข้อสังเกต
การผสมพันธุ์ของพืชดอก
มี 2 ขั้นตอน
1. ถ่ายละอองเรณู คือ กระบวนการที่ละอองเรณูไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย ซึ่งสามารถเกิดได้ทั้งใน
ดอกเดียวกันและข้ามดอกละอองเรณูถูกพัดพาไปยังที่ต่างๆโดยอาศัยปัจจัยเช่นลมพัดแมลงน�้ำ
และสัตว์ชนิดต่างๆ
2. การปฏิสนธิคือกระบวนการที่นิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่อยู่บนยอดเกสรตัวเมียงอกหลอด
ละอองเรณูเข้าผสมกับเซลล์ไข่ที่อยู่ในออวุล
การปฏิสนธิจะเกิดขึ้น 2 ครั้ง
›
› ครั้งที่ 1 นิวเคลียสของละอองเรณูเข้าผสมกับนิวเคลียสของเซลล์ไข่ในออวุล
»
» สเปิร์ม + ไข่ ไซโกต ต้นอ่อน
›
› ครั้งที่ 2 นิวเคลียสตัวที่ 2 ของละอองเรณูเข้าผสมกับโพลาร์นิวเคลียส
»
» สเปิร์ม + โพลาร์นิวเคลียส เอนโดสเปิร์ม (อาหารเลี้ยงต้นอ่อน)
การเปลี่ยนแปลงหลังปฏิสนธิ
1. กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย จะเหี่ยวแห้งร่วงไป ยกเว้นในพืชบางชนิด
2. รังไข่เจริญกลายเป็นผล
3. ผนังไข่จะเจริญเติบโตกลายเป็นเปลือก และเนื้อของผล
4. ออวุลกลายเป็นเมล็ด
5. เยื่อหุ้มออวุลกลายเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์ลักษณะนี้พืชจะใช้ส่วนต่างๆ ในการผสมพันธุ์ เช่น การใช้หน่อ ใบ ราก หรือสร้างสปอร์
ซึ่งการสืบพันธุ์ลักษณะนี้พืชจะไม่กลายพันธุ์ เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมนุษย์เป็นผู้กระท�ำ
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เกิดเองตามธรรมชาติ
1. การแตกหน่อหรือเหง้า เช่น ไผ่ ต้นกล้วย กล้วยไม้
2. การแตกต้นใหม่จากส่วนต่างๆ ของพืช
›
› ล�ำต้น เช่น ขิง ข่า ขมิ้น หัวหอม กระเทียม
›
› กิ่ง ใช้วิธีปักช�ำ เช่น พลูด่าง มะลิ
›
› ใบ เช่น ต้นตายใบเป็น ต้นทองสามย่าน กุหลาบหิน โคมญี่ปุ่น
›
› ราก เช่น มันเทศ มันส�ำปะหลัง
3. การสร้างสปอร์ พืชที่สืบพันธุ์ด้วยวิธีนี้ เช่น มอส เฟิร์น
Book 1.indb 17 3/14/19 10:10 PM
18 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เกิดจากการกระท�ำของมนุษย์
มนุษย์น�ำความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุ์พืชท�ำให้ได้พืชต้นใหม่ที่มี
ลักษณะเหมือนต้นเดิมและไม่เกิดการกลายพันธุ์คือการตอนกิ่งการติดตาการทาบกิ่งและการต่อกิ่งนอกจากนี้
ยังมีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ขยายพันธุ์พืช คือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Tissue Culture) โดยการน�ำเนื้อเยื่อของ
ส่วนต่างๆ ของพืชมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ วิธีการนี้นิยมใช้กับพืชเศรษฐกิจเนื่องจากสามารถขยายพันธุ์พืช
ปริมาณมากในระยะเวลาสั้น และพืชที่ได้มีลักษณะดีเหมือนพ่อแม่ทุกประการ
การคายน�้ำ (Transpiration)
การคายน�้ำ คือ เป็นการแพร่ของน�้ำออกจากใบของพืชโดยผ่านทางปากใบในรูปของแก๊ส (ไอน�้ำ) มีความ
ส�ำคัญต่อพืชในด้านการควบคุมการเคลื่อนที่ของน�้ำในพืช
ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน�้ำ
1. แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นแสงมาก ปากใบจะเปิดได้กว้าง พืชจะคายน�้ำได้มาก
2. อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิของบรรยากาศสูง ท�ำให้ใบคายน�้ำมากและเร็วขึ้น
3. ความชื้น ถ้าความชื้นในอากาศน้อย ท�ำให้การคายน�้ำเกิดขึ้นได้เร็ว
4. ลม ลมจะพัดพาเอาความชื้นของพืชไปที่อื่น เป็นสาเหตุให้พืชคายน�้ำมากขึ้น
5. ปริมาณน�้ำในดิน ถ้าปริมาณน�้ำในดินน้อย ปากใบของพืชจะปิดหรือหรี่ลง มีผลท�ำให้การคายน�้ำ
ลดลง
6. ความกดดันของบรรยากาศ ในที่ที่มีความกดดันของบรรยากาศต�่ำ อากาศเบาบางลง การคายน�้ำ
เกิดขึ้นได้มาก
ประโยชน์ของการคายน�้ำ
1. ช่วยลดอุณหภูมิภายในล�ำต้นและใบ
2. ช่วยในการดูดน�้ำและเกลือแร่
3. ช่วยให้ส่วนต่างๆ เกิดความชุ่มชื้น
การด�ำรงชีวิตของสัตว์
นักชีววิทยาได้แบ่งสัตว์ออกเป็น 2 ประเภท คือ
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
เป็นสัตว์ชั้นต�่ำ มีทั้งชนิดเซลล์เดียวและหลายเซลล์ บางชนิดมีขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าแทบ
ไม่เห็น เช่น ไฮดรา พารามีเซียม บางชนิดมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เช่น จุลินทรีย์และเชื้อโรคชนิดต่างๆ ซึ่งสัตว์
พวกนี้กินอาหาร แลกเปลี่ยนแก๊ส และขับถ่ายผ่านทางผิวหนัง
1. พวกที่มีล�ำตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน�้ำแก้ว ฟองน�้ำหินปูน
มีลักษณะส�ำคัญดังนี้
›
› เกาะอยู่กับที่ ล�ำตัวเป็นโพรง มีช่องเปิดด้านบน มีรูพรุนโดยรอบ
›
› สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศ (แตกหน่อ)
Book 1.indb 18 3/14/19 10:10 PM
19
สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6
›
› บางชนิดพบในน�้ำจืดแต่ส่วนใหญ่อยู่ในน�้ำเค็ม
›
› ตัวอ่อนสามารถว่ายน�้ำได้แต่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
2. ล�ำตัวกลวงหรือล�ำตัวมีโพรง ได้แก่ ไฮดรา ปะการัง ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน
มีลักษณะส�ำคัญดังนี้
›
› ตรงกลางล�ำตัวเป็นโพรง มีช่องเปิดออกจากล�ำตัวเพียงช่องเดียวเป็นทางน�ำอาหารเข้า และ
บีบเศษอาหารออก
›
› บางชนิดมีเข็มพิษไว้ช่วยในการล่าเหยื่อและป้องกันตัว เช่น แมงกะพรุน และดอกไม้ทะเล
›
› สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศ (แตกหน่อ)
›
› ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน�้ำเค็ม ยกเว้นไฮดราที่อาศัยอยู่ในน�้ำจืดที่ค่อนข้างสะอาด
3. หนอน และพยาธิ แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้
›
› หนอนตัวแบน เช่น พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้
มีลักษณะส�ำคัญดังนี้
»
» ล�ำตัวนิ่ม แบนยาว มีปาก แต่ไม่มีทวารหนัก
»
» ด�ำรงชีวิตเป็นปรสิต ดูดเลือดจากร่างกายของคนและสัตว์เป็นอาหาร
»
» สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ
»
» ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด
»
» มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
›
› หนอนตัวกลม ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิตัวจี๊ด พยาธิปากขอ
มีลักษณะส�ำคัญดังนี้
»
» ล�ำตัวนิ่ม กลมยาว ไม่มีขา
»
» ผิวเรียบ ไม่เป็นปล้อง
»
» มีปากและทวารหนัก
»
» ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด
»
» ด�ำรงชีวิตเป็นปรสิต
»
» สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ มีการแยกเพศอย่างชัดเจน
4. ล�ำตัวเป็นปล้อง ได้แก่ ไส้เดือนดิน ปลิงน�้ำจืด ทากดูดเลือด
มีลักษณะส�ำคัญดังนี้
›
› ล�ำตัวกลมยาว เป็นปล้องคล้ายวงแหวนต่อกัน
›
› บางชนิดอาศัยอยู่บนพื้นดินที่ชื้น และบางชนิดอาศัยอยู่ในน�้ำ
›
› มีระบบประสาทและระบบทางเดินอาหาร
›
› สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ
›
› มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
Book 1.indb 19 3/14/19 10:10 PM

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
Lamai Fungcholjitt
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
dnavaroj
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
ทับทิม เจริญตา
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
Kruthai Kidsdee
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
Phanuwat Somvongs
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศkrupornpana55
 

What's hot (20)

แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
 

Similar to เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf

NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
Satapon Yosakonkun
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์nonnie99
 
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
Thanachart Numnonda
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56Drnine Nan
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
Jaturapad Pratoom
 
Cybertools for Research
Cybertools for ResearchCybertools for Research
Cybertools for Research
Boonlert Aroonpiboon
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
llwssii
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
llwssii
 
การอ่าน PISA
การอ่าน PISAการอ่าน PISA
การอ่าน PISA
Patcha Linsay
 

Similar to เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf (10)

NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
 
Cybertools for Research
Cybertools for ResearchCybertools for Research
Cybertools for Research
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
 
การอ่าน PISA
การอ่าน PISAการอ่าน PISA
การอ่าน PISA
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6.pdf

  • 1.
  • 3. เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 II นักเขียน : อ. กษิติ์เดช สุนทรานนท์ บรรณาธิการ : สินีนุช จันทศรี บรรณาธิการบริหาร : กรภัทร์ สุทธิดารา ราคา 250 บาท ฝ่ายผลิต กองบรรณาธิการ:มิณฑ์ตราสุรัตนะ,ปิยพรกระหวาย, ภาวิณี พลท้าว ออกแบบปก : วสันต์ พึ่งพูลผล ออกแบบรูปเล่ม : ธนา วารีรัตน์ พิสูจน์อักษร : ปวีณา ห้อยกรุด ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพสินค้า : วรพล ณธิกุล, ปฐมพล ธรรมศรีสกุล, มงคล แก้วพลอย, นิวัช ยะหัวดง, พิพัฒน์ อ้อสถิตย์ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ (National Library of Thailand Cataloging in Publication Data) กษิติ์เดช สุนทรานนท์. เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6-- นนทบุรี : ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์, 2562. 292 หน้า. 1. วิทยาศาสตร์--ข้อสอบและเฉลย. 2. วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา). I. ชื่อเรื่อง. 372.35 ISBN 978-616-449-142-7 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดย บริษัท ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จ�ำกัด ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนใด ส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ไม่ว่ารูปแบบใดๆนอกจากจะได้รับ อนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้จัดพิมพ์เท่านั้น หนังสือเล่มนี้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการผลิต และ เนื้อหาทั้งหมดด้วยกระบวนการตามมาตรฐานการผลิต สิ่งพิมพ์อย่างละเอียดแล้ว แต่หากยังมีข้อผิดพลาดประการ ใดเกิดขึ้นทั้งในส่วนของการผลิตหรือในส่วนเนื้อหา กรุณา แจ้งความผิดพลาดนั้นแก่ทางบริษัทโดยตรง ทางบริษัทจะ ด�ำเนินการน�ำข้อผิดพลาดดังกล่าวมาแก้ไขและปรับปรุงต่อไป จัดจ�ำหน่ายทั่วประเทศโดย : บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จ�ำกัด 200 หมู่ 4 ชั้น 19 ห้อง 1901 จัสมินอินเตอร์เนชั่นแนล ทาวเวอร์ ถ.แจ้งวัฒนะ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ประเทศไทย 11120 โทรศัพท์ 0-2962-2626 (อัตโนมัติ 10 คู่สาย) โทรสาร 0-2962-1084 ส�ำหรับร้านค้าและตัวแทนจ�ำหน่าย : โทรศัพท์ 0-2962-2626 ต่อ 112-114 โทรสาร 0-2962-1084 สั่งซื้อออนไลน์ : www.serazu.com หรือโทรศัพท์ 08-4700-3219 จัดส่งฟรีทั่วประเทศ (ภายใต้เงื่อนไขที่เว็บไซต์ก�ำหนด) จัดพิมพ์โดย บริษัท ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จ�ำกัด 200หมู่4ชั้น19ห้อง1903Aจัสมินอินเตอร์เนชั่นแนล ทาวเวอร์ ถ.แจ้งวัฒนะ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2962-1081, 0-2962-2626 (อัตโนมัติ 10 คู่สาย) โทรสาร 0-2962-1084 www.thinkbeyondbook.com เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 Book 1.indb 2 3/14/19 10:10 PM
  • 4. III แลกเปลี่ยนประสบการณ์การอ่านหนังสือได้ที่ www.facebook.com/thinkbeyond.ed การสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์ในชั้นประถมศึกษาปีที่6เป็นการสอบเพื่อวัดระดับความรู้ความสามารถของ นักเรียนอีกทั้งบางโครงการยังสามารถน�ำไปใช้ประกอบเอกสารเพื่อยื่นสมัครเรียน(Portfolio)ในชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ได้อีกด้วย โดยในหนังสือเล่มนี้จะประกอบด้วยชุดข้อสอบดังต่อไปนี้   แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท.   แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร)   แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ.   แนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET)   แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์   แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO)   แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ กองบรรณาธิการ ส�ำนักพิมพ์ ธิงค์ บียอนด์เอ็ดดูเคชั่น ค�ำน�ำ คำ�นำ� Book 1.indb 3 3/14/19 10:10 PM
  • 5. เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 IV สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3 » » วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3 » » ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3 อาหารและสารอาหาร 4 » » สารอาหารที่จ�ำเป็นต่อร่างกาย 4 ร่างกายมนุษย์และความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ 7 » » การเจริญเติบโตของร่างกาย 7 » » ระบบต่างๆ ในร่างกาย 8 พืช 14 » » การสร้างอาหารของพืช 14 » » การหายใจของพืช 15 » » พืชมีดอกและพืชไร้ดอก 15 » » การสืบพันธุ์ของพืช 16 » » การคายน�้ำ (Transpiration) 18 การด�ำรงชีวิตของสัตว์ 18 » » สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 18 » » สัตว์มีกระดูกสันหลัง 21 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 21 » » สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ 21 » » สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 23 » » คุณภาพสิ่งแวดล้อมกับชีวิต 24 สารบัญ Book 1.indb 4 3/14/19 10:10 PM
  • 6. V สารบัญ สสารและสาร 25 » » สมบัติของสาร 25 » » การจ�ำแนกสาร 25 » » การเปลี่ยนแปลงของสาร 27 » » การเกิดสารใหม่ 28 » » การแยกสารผสม 28 » » สารในชีวิตประจ�ำวัน 29 วงจรไฟฟ้า 30 » » กระแสไฟฟ้าตามธรรมชาติ 30 » » กระแสไฟฟ้าที่มนุษย์สร้างขึ้น 30 » » วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 30 » » สมบัติของตัวน�ำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า 33 หินและแร่ 33 » » หิน 33 » » แร่ 35 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 36 » » ระบบสุริยะ 36 » » กลุ่มดาว 37 » » โลก 39 » » เทคโนโลยีอวกาศ 40 เสียงกับการได้ยิน 41 » » การเคลื่อนที่ของเสียง 41 » » เสียงดังเสียงค่อย 41 » » เสียงสูงเสียงต�่ำ 41 » » อวัยวะรับเสียง 42 Book 1.indb 5 3/14/19 10:10 PM
  • 7. เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 VI แสง 42 » » การเดินทางของแสงและตัวกลาง 42 » » การหักเหของแสง 43 » » การเกิดรุ้งกินน�้ำ 44 » » การเกิดมิราจ (Mirage) 44 แนวข้อสอบทบทวนความเข้าใจวิชาวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบทบทวนความเข้าใจวิชาวิทยาศาสตร์ 47 » » เฉลยแนวข้อสอบทบทวนความเข้าใจวิชาวิทยาศาสตร์ 51 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 1 55 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 1 59 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 2 63 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 2 69 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 3 73 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 1) ชุดที่ 3 79 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 1 85 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 1 88 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 2 91 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 2 94 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 3 97 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาวิทยาศาสตร์ สสวท. (รอบที่ 2) ชุดที่ 3 101 Book 1.indb 6 3/14/19 10:10 PM
  • 8. VII สารบัญ แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 1 105 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 1 112 แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 2 117 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 2 123 แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 3 127 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ (รอบเจียระไนเพชร) ชุดที่ 3 133 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 1 141 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 1 146 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 2 151 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 2 157 แนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 3 161 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ สพฐ. ชุดที่ 3 166 แนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET) แนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET) ชุดที่ 1 173 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET) ชุดที่ 1 179 Book 1.indb 7 3/14/19 10:10 PM
  • 9. เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 VIII แนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET) ชุดที่ 2 183 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ (TEDET) ชุดที่ 2 189 แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 195 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 199 แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 203 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 207 แนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 209 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันสมาคมครูวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 213 แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO) แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO) ชุดที่ 1 219 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO) ชุดที่ 1 229 แนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO) ชุดที่ 2 239 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับประถมศึกษา (IMSO) ชุดที่ 2 247 Book 1.indb 8 3/14/19 10:10 PM
  • 10. IX สารบัญ แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 1 259 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 1 264 แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 2 267 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 2 272 แนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 3 275 » » เฉลยแนวข้อสอบแข่งขันเข้ามัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ชุดที่ 3 279 Book 1.indb 9 3/14/19 10:10 PM
  • 11. Book 1.indb 10 3/14/19 10:10 PM
  • 13. Book 1.indb 2 3/14/19 10:10 PM
  • 14. 3 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คือ การศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ด้วยกระบวนการแสวงหาความรู้ มีขั้นตอน มีระเบียบแบบแผน โดยมีเหตุผล และหลักฐานที่สามารถพิสูจน์ตามหลักวิชาการได้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ ขั้นตอนที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการให้ได้มาซึ่งความรู้ ประกอบด้วย 1. ขั้นระบุปัญหาสามารถใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์มาช่วยในการระบุปัญหาที่สงสัยได้เช่นการสังเกต 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน เป็นขั้นตอนที่ผู้ศึกษาคาดคะเนค�ำตอบเอาไว้ล่วงหน้า โดยค�ำตอบนั้นจะต้องเป็น เหตุเป็นผลอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงและอยู่ในขอบเขตของปัญหาที่สงสัยซึ่งสมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจจะถูกหรือผิดก็ได้ 3. ขั้นรวบรวมค้นคว้าข้อมูล เป็นขั้นที่ผู้ศึกษาต้องค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงวิธีการที่น�ำมา เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาข้างต้นที่สงสัยโดยข้อมูลที่ได้มาต้องมาจากแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ ในขั้นตอนนี้ผู้ศึกษาควรมีการรวบรวมข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย 4. ขั้นทดลอง เป็นขั้นตอนที่ผู้ศึกษาน�ำข้อมูลที่ค้นคว้าและตรวจสอบแล้วมาลองปฏิบัติ เพื่อหา ค�ำตอบของปัญหาซึ่งวิธีการทดลองต้องท�ำซ�้ำๆกันจนเป็นผลการทดลองที่แน่ชัดน�ำไปตอบค�ำถาม ของปัญหาได้ 5. ขั้นสรุปผลการทดลองและน�ำไปใช้ เป็นการเอาความรู้ที่ได้จากการศึกษาข้อมูล มาเขียนรายงาน สรุปผลการศึกษา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. การสังเกต การเฝ้าดูโดยใช้ประสาทสัมผัส ได้แก่ การเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การรับรส การ สัมผัส 2. การวัด การใช้เครื่องมือหาขนาดหรือปริมาณของสิ่งต่างๆ โดยต้องระบุตัวเลขและหน่วยอย่าง ถูกต้อง เพื่อความแม่นย�ำของข้อมูล 3. การค�ำนวณ การใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการหาผลลัพธ์ 4. การจ�ำแนกประเภท การจัดกลุ่มข้อมูลหรือสิ่งต่างๆ ตามเกณฑ์ 5. การใช้ความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับเวลา เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติต่างๆ ที่เกี่ยวกับ ทิศทาง รูปทรง สถานที่ ระยะทาง พื้นที่ เวลา ฯลฯ เช่น การหาต�ำแหน่งของวัตถุที่เคลื่อนที่ไปเมื่อ เวลาเปลี่ยนไป Book 1.indb 3 3/14/19 10:10 PM
  • 15. 4 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 6. การจัดกระท�ำและสื่อความหมายข้อมูล การน�ำข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการวัดมาน�ำเสนอ ผ่านสื่อต่างๆ เช่น กราฟ ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร 7. การลงความเห็นจากข้อมูล การแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นเหตุเป็นผลต่อการทดลองที่ได้ 8. การพยากรณ์เป็นการคาดคะเนค�ำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลองโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด 9. การตั้งสมมติฐาน การคิดค�ำตอบของปัญหาที่ตั้งเอาไว้ก่อนท�ำการทดลอง มักเป็นข้อความที่บอก ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตาม 10. การก�ำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ เป็นการก�ำหนดความหมายหรือขอบเขตของค�ำต่างๆ ที่อยู่ใน สมมติฐานให้มีความชัดเจน 11. การก�ำหนดและควบคุมตัวแปร เป็นการควบคุมสิ่งต่างๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นหรือตัวแปร อิสระ ที่จะท�ำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน › › ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ตัวแปรที่ก�ำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน › › ตัวแปรตาม คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น › › ตัวแปรควบคุม คือ ปัจจัยอื่นนอกเหนือจากตัวแปรต้นซึ่งมีผลต่อการทดลอง จึงต้องควบคุม ให้เหมือนกันหรือคงที่ขณะท�ำการทดลอง 12. การทดลอง กระบวนการพิสูจน์สมมติฐาน ประกอบด้วย การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการ ทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง 13. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป การวิเคราะห์และแปลผลที่ได้จากการทดลองเพื่อลง ข้อสรุปของปัญหา อาหารและสารอาหาร สารอาหารแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. ให้พลังงาน ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน 2. ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ เกลือแร่ วิตามิน น�้ำ สารอาหารที่จ�ำเป็นต่อร่างกาย โปรตีน เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย พบมากในเนื้อสัตว์ นม ไข่ และถั่วต่างๆ เมื่อย่อยแล้วจะได้กรด อะมิโน หน้าที่ของโปรตีน 1. ช่วยซ่อมแซมส่วนเนื้อเยื่อที่สึกหรอของร่างกาย 2. ช่วยสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อ 3. กรดอะมิโนถูกน�ำไปสร้างเป็นฮอร์โมน เอนไซม์ และสารภูมิคุ้มกัน 4. ให้พลังงานและช่วยควบคุมการท�ำงานของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย 5. ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ไม่แคระแกร็น Book 1.indb 4 3/14/19 10:10 PM
  • 16. 5 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 คาร์โบไฮเดรต คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย พบมากในข้าว น�้ำตาล เผือก มัน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์จากแป้ง เช่น ขนมปัง หน้าที่ของคาร์โบไฮเดรต 1. เป็นพลังงานให้แก่ร่างกาย 2. ถูกร่างกายน�ำไปเผาผลาญเป็นอันดับแรก ตามด้วยไขมันและโปรตีน 3. เก็บสะสมไว้ในร่างกายเพื่อน�ำไปใช้เวลาขาดแคลน ไขมัน เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกายพบได้ในพืชและสัตว์ไขมันจากพืชเช่นน�้ำมันงา น�้ำมันมะพร้าว น�้ำมันร�ำข้าว ไขมันจากสัตว์ เช่น น�้ำมันหมู เนย   ไขมันที่มีประโยชน์ คือ ไขมันดีที่อุดมไปด้วยกรดไขมันอิ่มตัวที่ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเองได้   ไขมันที่ให้โทษ คือ ไขมันร้ายกลุ่มคอเลสเตอรอลที่ท�ำให้เกิดโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด หน้าที่ของไขมัน 1. ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย 2. ช่วยป้องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะภายในร่างกาย 3. ช่วยในการดูดซึมของวิตามิน A D E และ K วิตามิน เป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแต่หากขาดจะเกิดภาวะผิดปกติของร่างกายพบมากในผักและผลไม้ต่างๆ รวมไปถึงเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ นมและไข่ หน้าที่ของวิตามิน 1. ช่วยสร้างภูมิต้านทานโรคต่างๆ แก่ร่างกาย 2. ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายท�ำงานปกติ › › วิตามินที่ละลายในน�้ำ : C, B1, B2, B3, B5, B6, B9, B12 › › วิตามินที่ละลายในไขมัน : A, D, E, K ความส�ำคัญของวิตามิน   วิตามิน A : ช่วยในการเจริญเติบโต บ�ำรุงสายตา ช่วยป้องกันโรคตาฟาง   วิตามิน C : ท�ำให้หลอดเลือดแข็งแรง ช่วยป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน   วิตามิน D : จ�ำเป็นในการสร้างกระดูกและฟัน ช่วยป้องกันโรคกระดูกอ่อน   วิตามิน B1 : ช่วยป้องกันโรคเหน็บชา   วิตามิน B2 : ช่วยป้องกันโรคปากนกกระจอก   วิตามิน B12 : จ�ำเป็นส�ำหรับการสร้างเม็ดเลือดแดง และช่วยเสริมสร้างการท�ำงานของระบบ ประสาทและสมอง Book 1.indb 5 3/14/19 10:10 PM
  • 17. 6 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 แร่ธาตุ เป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน แร่ธาตุยังเป็นส่วนประกอบของสารหลายชนิดที่มีความส�ำคัญต่อการท�ำ หน้าที่ของเซลล์และอวัยวะ พบมากในผักและผลไม้ต่างๆ รวมไปถึงเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ นมและไข่ หน้าที่ของแร่ธาตุ ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายท�ำงานปกติ ความส�ำคัญของแร่ธาตุ   แคลเซียม : ช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง   เหล็ก : เป็นส่วนประกอบส�ำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง   ไอโอดีน : ช่วยป้องกันโรคคอพอก น�้ำ เป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน เป็นส่วนประกอบของเซลล์ในร่างกาย ช่วยในการน�ำของเสียออกจาก ร่างกายและควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้คงที่ ล�ำดับในการดึงพลังงานไปใช้ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน พลังงานของสารอาหารแต่ละชนิด   คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี   โปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี   ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี การทดสอบสารอาหาร การทดสอบ วิธีทดสอบ ความเปลี่ยนแปลง การทดสอบแป้ง ใช้สารละลายไอโอดีน หยดสารละลายลงบนอาหาร สารละลายเปลี่ยนเป็นสีม่วงแกม น�้ำเงิน การทดสอบน�้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ใช้สารละลายเบเนดิกส์ น�ำสารละลายใส่กับอาหารและน�ำ ไปต้ม สารละลายเปลี่ยนเป็นสีแดงอิฐ การทดสอบโปรตีน ใช้สารละลายไบยูเรต หยดสารละลายลงบนอาหาร สารละลายเปลี่ยนเป็นสีม่วงหรือ น�้ำเงิน การทดสอบไขมัน ใช้กระดาษขาวหรือกระดาษไข น�ำมาสัมผัสกับอาหาร กระดาษจะเกิดคราบหรือโปร่งแสง Book 1.indb 6 3/14/19 10:10 PM
  • 18. 7 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ตารางที่ 1 ตารางแสดงความต้องการพลังงานที่ควรได้รับใน 1 วันส�ำหรับเด็กไทย ประเภท อายุ (ปี) พลังงาน (กิโลแคลอรี) เด็กเล็ก 1–3 4–6 7–9 1,200 1,450 1,600 เด็กผู้ชาย 10–12 13–15 16–19 1,850 2,300 2,400 เด็กผู้หญิง 10–12 13–15 16–19 1,700 2,000 1,850 ร่างกายมนุษย์และความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ การเจริญเติบโตของร่างกาย การวัดค่าการเจริญเติบโตของร่างกายวัดได้จาก 1. การชั่งน�้ำหนัก 2. วัดส่วนสูง 3. วัดความยาวขา 4. วัดความยาวแขน และรอบเอว กราฟแสดงน�้ำหนักและความสูงของร่างกายในช่วงอายุต่างๆเปรียบเทียบระหว่างเพศชายกับเพศหญิง น�้ำหนัก (กิโลกรัม) เพศชาย อายุ (ปี) 65 60 55 50 45 40 35 30 25 20 15 10 เพศหญิง 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 กราฟแสดงน�้ำหนักในช่วงอายุต่างๆ Book 1.indb 7 3/14/19 10:10 PM
  • 19. 8 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 ความสูง (เซนติเมตร) เพศชาย อายุ (ปี) 190 170 160 150 140 130 120 110 เพศหญิง 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 กราฟแสดงความสูงในช่วงอายุต่างๆ จากกราฟสรุปได้ ดังนี้   ช่วง 6–10 ปี เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีการเจริญเติบโตของน�้ำหนักและความสูงใกล้เคียงกัน   ช่วง 10–13 ปี เด็กผู้หญิงมีน�้ำหนักและความสูงมากกว่าเด็กผู้ชาย เนื่องจากโครงกระดูกของเด็ก ผู้หญิงเจริญเติบโตเร็วกว่าเด็กผู้ชาย   ช่วง 14–15 ปี เด็กผู้ชายจะมีน�้ำหนักและความสูงมากกว่าเด็กผู้หญิง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย 1. พันธุกรรม 2. การรับประทานอาหารครบทั้ง 5 หมู่และรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ 3. ออกก�ำลังกายอย่างพอเหมาะ 4. พักผ่อนเพียงพอ 5. ไม่เกี่ยวข้องกับสารเสพติด ระบบต่างๆ ในร่างกาย 1. ระบบย่อยอาหาร แบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ 1. การย่อยเชิงกล คือ การใช้ฟันบดเคี้ยวอาหาร 2. การย่อยเชิงเคมี คือ การสลายอาหารให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลง โดยการใช้เอนไซม์หรือน�้ำย่อย Book 1.indb 8 3/14/19 10:10 PM
  • 20. 9 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ส่วนประกอบและหน้าที่ของอวัยวะในทางเดินอาหาร ปาก คอหอย กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร ตับอ่อน ถุงน�้ำดี ตับ ล�ำไส้ใหญ่ ล�ำไส้เล็ก เมื่อรับประทานอาหาร อาหารจะถูกล�ำเลียงไปตามทางเดินอาหารดังนี้   ล�ำดับที่ 1 ปาก มีการย่อยทั้งเชิงกล คือ ฟันบดเคี้ยวอาหาร และการย่อยเชิงเคมี คือ ต่อมน�้ำลาย ผลิตน�้ำย่อยอะไมเลส ย่อยแป้งให้กลายเป็นน�้ำตาลมอลโทส   ล�ำดับที่ 2 คอหอย เป็นทางผ่านของอาหารเข้าสู่หลอดอาหาร (ไม่มีการย่อยอาหาร)   ล�ำดับที่ 3 หลอดอาหาร เป็นทางผ่านอาหารเข้าสู่กระเพาะอาหาร (ไม่มีการย่อยอาหาร) มีต่อม ขับน�้ำเมือกช่วยหล่อลื่นให้อาหารผ่านได้สะดวก   ล�ำดับที่ 4 กระเพาะอาหาร ผนังของกระเพาะอาหารจะขับน�้ำย่อยออกมาย่อยอาหาร พร้อมทั้ง บีบรัดให้อาหารคลุกเคล้ากับน�้ำย่อย โดยจะย่อยสารอาหารประเภทโปรตีนเท่านั้น และมีเอนไซม์ ที่ส�ำคัญ ได้แก่ กรดเกลือ เพปซิน ลิเพส และเรนนิน จากนั้นอาหารที่ผ่านการย่อยและไม่ได้ย่อย จากกระเพาะอาหารจะถูกส่งต่อไปยังหูรูดสู่ล�ำไส้เล็กต่อไป   ล�ำดับที่ 5 ล�ำไส้เล็กมีลักษณะเป็นท่อยาวประมาณ6–7เมตรมีการย่อยสารอาหารคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน โดยใช้เอนไซม์ที่ล�ำไส้เล็กสร้างขึ้นเอง และเอนไซม์ที่ผลิตจากตับอ่อน นอกจากนี้ ล�ำไส้เล็กยังท�ำหน้าที่ดูดซึมสารอาหารด้วย › › ตับอ่อน ท�ำหน้าที่สร้างเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการย่อยอาหารแล้วส่งไปยังล�ำไส้เล็ก › › ตับ ท�ำหน้าที่สร้างน�้ำดีแล้วส่งไปเก็บในถุงน�้ำดี น�้ำดีสามารถช่วยให้ไขมันแตกตัวออกเป็นเม็ด เล็กๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยของเอนไซม์จากตับอ่อน   ล�ำดับที่ 6 ล�ำไส้ใหญ่ ในส่วนนี้ไม่มีการย่อยแต่ท�ำหน้าที่เก็บกากอาหารและดูดซึมน�้ำออกจากกาก อาหาร ก่อนส่งกากอาหารผ่านไปยังทวารหนักเพื่อขับออกจากร่างกาย Book 1.indb 9 3/14/19 10:10 PM
  • 21. 10 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 ตารางที่ 2 ตารางแสดง อวัยวะ ชนิดของน�้ำย่อย สารอาหารที่ถูกย่อย และผลจากการย่อย อวัยวะ ชนิดของน�้ำย่อย สารอาหารที่ถูกย่อย ผลจากการย่อย ปาก อะไมเลส แป้ง มอลโทส กระเพาะอาหาร เพปซิน เรนนิน โปรตีน โปรตีนในน�้ำนม (เคซีน) โปรตีนโมเลกุลเล็ก นมตกตะกอนเป็นลิ่ม ล�ำไส้เล็ก อะมิโนเพปทิเดส ไดเพปทิเดส อะไมเลส มอลเทส ซูเครส แลกเทส ลิเพส เพปไทด์ ไดเพปไทด์ แป้ง มอลโทส ซูโครส แลกโทส ไขมัน กรดอะมิโน กรดอะมิโน มอลโทส กลูโคส + กลูโคส กลูโคส + ฟรักโทส กลูโคส + กาแลกโทส กรดไขมัน + กลีเซอรอล ตับอ่อน ทริปซิน, ไคโมทริปซิน ลิเพส อะไมเลส โปรตีน, ไขมัน ไขมัน แป้ง กรดอะมิโน + กรดอะมิโน กรดไขมัน + กลีเซอรอล มอลโทส ตับและถุงน�้ำดี เกลือน�้ำดีและด่าง ไขมัน หยดไขมันเล็กๆ 2. ระบบหมุนเวียนเลือด เลือด แบ่งออกเป็นส่วนที่เป็นของเหลวคือน�้ำเลือดหรือพลาสมาและส่วนที่ไม่เป็นของเหลวคือเซลล์เม็ดเลือด และเกล็ดเลือด 1. น�้ำเลือด ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงเอนไซม์ ฮอร์โมน วิตามิน แร่ธาตุ แก๊ส สารอาหารต่างๆ ที่ได้จาก กระบวนการย่อยไปยังเซลล์ต่างๆในร่างกายและรับของเสียจากเซลล์เช่นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 ) ออกไปก�ำจัดนอกร่างกาย 2. เซลล์เม็ดเลือด ประกอบด้วย › › เซลล์เม็ดเลือดแดง มีลักษณะค่อนข้างกลม ตรงกลางเว้าเข้าหากัน เนื่องจากไม่มีนิวเคลียส ประกอบด้วยสารประเภทโปรตีนที่เรียกว่า “ฮีโมโกลบิน” ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงออกซิเจนไปยัง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย แหล่งสร้างเม็ดเลือดแดงคือ ไขกระดูก มีอายุประมาณ 110–120 วัน หลังจากนั้นจะถูกน�ำไปท�ำลายที่ตับและม้าม › › เซลล์เม็ดเลือดขาว ท�ำหน้าที่ท�ำลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย แหล่งสร้างเม็ดเลือดขาวคือ ไขกระดูก ม้าม และต่อมน�้ำเหลือง มีอายุประมาณ 7–14 วัน 3. เกล็ดเลือด ท�ำหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัวเวลาเกิดบาดแผล Book 1.indb 10 3/14/19 10:10 PM
  • 22. 11 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 หัวใจ หัวใจของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 4 ห้อง แต่ละห้องจะมีลิ้นหัวใจกั้นไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ   ห้องบนขวา (เอเตรียมขวา) รับเลือดเสีย (เลือดด�ำ เลือดที่มีคาร์บอนไดออกไซด์สูง ออกซิเจนต�่ำ)   ห้องล่างขวา (เวนตริเคิลขวา) ท�ำหน้าที่ฉีดเลือดเสียไปฟอกที่ปอด   ห้องบนซ้าย (เอเตรียมซ้าย) รับเลือดดี (เลือดแดง เลือดที่มีออกซิเจนสูง คาร์บอนไดออกไซด์ต�่ำ) ที่ ผ่านการฟอกจากปอด กลับเข้าหัวใจ   ห้องล่างซ้าย (เวนตริเคิลซ้าย) ท�ำหน้าที่ฉีดเลือดดีไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ปอด พัลโมนารี อาร์เตอรี เอออร์ตา ส่วนอื่นๆ ของร่างกาย พัลโมนารีเวน เอเตรียม ขวา เวนตริเคิล ขวา เอเตรียม ซ้าย เวนตริเคิล ซ้าย เวนา คาวา หลอดเลือด หลอดเลือดแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. หลอดเลือดแดง ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงเลือดที่ถูกสูบฉีดออกจากหัวใจไปยังอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย 2. หลอดเลือดด�ำ ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงเลือดจากอวัยวะต่างๆ ของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ เพื่อส่งไปฟอก ที่ปอด 3. หลอดเลือดฝอย เป็นเส้นเลือดเล็กๆ พบในบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนสารต่างๆ ระหว่างเลือดกับ เนื้อเยื่อ ระบบไหลเวียนเลือดของมนุษย์เป็นระบบปิด ข้อสังเกต อัตราการเต้นของหัวใจ หัวใจของมนุษย์จะมีการบีบตัวและคลายตัวเป็นจังหวะตลอดเวลาเพื่อสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของ ร่างกาย ซึ่งเราสามารถทราบอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการฟังการเต้นของหัวใจหรือชีพจร   ชีพจร คือ อาการเต้นของหลอดเลือด ซึ่งเกิดการขยายและคลายตัวของผนังหลอดเลือด   การจับชีพจร คือ สามารถจับที่ข้อมือ ข้อพับ และล�ำคอ บริเวณหลอดเลือดแดง   อัตราการเต้นของชีพจรของคนปกติ มีอัตราการเต้นอยู่ระหว่าง 60–100 ครั้ง/นาที Book 1.indb 11 3/14/19 10:10 PM
  • 23. 12 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 อัตราการเต้นของหัวใจขณะออกก�ำลังกาย อายุ (ปี) อัตราการเต้นของหัวใจ (30 วินาที) 8 53–80 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 106 ครั้ง) 9 53–79 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 106 ครั้ง) 10 53–80 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 105 ครั้ง) 11 53–70 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 105 ครั้ง) 12 53–78 ครั้ง (ไม่ควรเกิน 104 ครั้ง) 3. ระบบหายใจ คือ กระบวนการน�ำออกซิเจนเข้าสู่เลือด และน�ำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด มีขั้นตอนดังนี้   ล�ำดับที่ 1 รูจมูก เป็นทางผ่านของอากาศเข้าสู่ร่างกาย ภายในมีขนจมูกส�ำหรับกรองฝุ่น   ล�ำดับที่ 2 คอหอย เป็นทางผ่านของอากาศ   ล�ำดับที่ 3 กล่องเสียง ต่อจากคอหอยเป็นทางผ่านของอากาศ ท�ำให้เกิดเสียงและป้องกันไม่ให้ อาหารเข้าไปในหลอดลม โดยมีฝาปิดกล่องเสียง   ล�ำดับที่ 4 หลอดลม เป็นท่อกลวงน�ำอากาศผ่านเข้าสู่ขั้วปอด และแยกไปตามแขนงขั้วปอด ปลาย แขนงนี้จะมีถุงลมเล็กๆ เป็นที่เก็บและแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับคาร์บอนไดออกไซด์   ล�ำดับที่ 5 ปอด มี 2 ข้าง แต่ละข้างประกอบด้วยถุงลมเล็กๆ มากมาย โดยมีการแลกเปลี่ยนแก๊ส กับถุงลมเล็กๆ เหล่านี้ หายใจเข้า กะบังลมหดตัวต�่ำลง กระดูกซี่โครงยกตัวขึ้น ท้องจะป่อง ความดันอากาศภายในช่องอกลดต�่ำลง อากาศ ภายนอกจึงเข้าสู่ภายใน หายใจออก กะบังลมคลายตัว กระดูกซี่โครงลดต�่ำลง ท้องจะแฟบ ความดันอากาศภายในสูงขึ้น อากาศภายในถูก ดันออกสู่ภายนอก 4. ระบบขับถ่ายของเสีย การขับถ่าย คือ การก�ำจัดของเสียออกจากร่างกาย ถูกขับออก 4 ทาง ได้แก่ 1. ผิวหนัง ขับของเสียออกมาในรูปของเหงื่อซึ่งประกอบด้วย น�้ำ 99 % อีก 1 % เป็นเกลือโซเดียม ยูเรีย กรดแลกติก และกรดอะมิโนเล็กน้อย 2. ปอด ก�ำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทางการหายใจออก 3. ไต ร่างกายของมนุษย์มีไต 1 คู่ มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง ท�ำหน้าที่กรองของเสียจากเลือด เช่น เกลือและยูเรีย โดยขับของเสียผ่านท่อปัสสาวะ 4. ล�ำไส้ใหญ่ ขับกากอาหารและของเสียในรูปอุจจาระออกทางทวารหนัก Book 1.indb 12 3/14/19 10:10 PM
  • 24. 13 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 5. ระบบสืบพันธุ์   ระบบสืบพันธุ์ คือ ระบบที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มจ�ำนวนสิ่งมีชีวิตให้มากขึ้นเพื่อสืบทอดเผ่าพันธุ์   การสืบพันธุ์ คือ การให้ก�ำเนิดลูกหลานขึ้นมาใหม่ที่มีลักษณะเหมือนพ่อแม่ ระบบสืบพันธุ์เพศชาย ท่อน�ำอสุจิ ท่อปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะ ถุงเก็บอสุจิ ต่อมลูกหมาก ต่อมคาวเปอร์ อัณฑะ ระบบสืบพันธุ์เพศชาย มีองค์ประกอบดังนี้   อัณฑะ มี 2 ลูก ท�ำหน้าที่สร้างอสุจิ (เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย) และผลิตฮอร์โมนเพศชาย (เทสโทส- เทอโรน)   ถุงอัณฑะ ท�ำหน้าที่ปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมในการผลิตอสุจิ   องคชาต ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงน�้ำปัสสาวะและอสุจิ   หลอดน�ำตัวอสุจิ ท�ำหน้าที่ล�ำเลียงตัวอสุจิไปเก็บไว้ที่ต่อมสร้างน�้ำเลี้ยงอสุจิ   ต่อมสร้างน�้ำเลี้ยงอสุจิ ท�ำหน้าที่สร้างอาหารเลี้ยงตัวอสุจิ คือ น�้ำตาลฟรักโทส โปรตีนโกลบูลิน วิตามินซี   ต่อมลูกหมาก ท�ำหน้าที่หลั่งสารที่มีฤทธิ์เป็นด่างอย่างอ่อน เพื่อลดความเป็นกรดในท่อปัสสาวะ   ต่อมคาวเปอร์ ท�ำหน้าที่สร้างเมือกหล่อลื่นในท่อปัสสาวะ เพศชายจะเริ่มสร้างอสุจิเมื่ออายุประมาณ 12–13 ปี และสร้างไปตลอดชีวิต โดยอสุจิจะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนหัวที่มีนิวเคลียสอยู่ภายใน ส่วนร่างกายที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก และส่วนหางที่มีหน้าที่ใน การเคลื่อนที่ Book 1.indb 13 3/14/19 10:10 PM
  • 25. 14 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ไข่ ท่อน�ำไข่ รังไข่ ช่องคลอด มดลูก ปากมดลูก ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง มีองค์ประกอบดังนี้   รังไข่ ท�ำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง หรือไข่ (เซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง) และสร้างฮอร์โมนเพศ หญิง (เอสโตรเจน และโพรเจสเทอโรน)   มดลูก เป็นที่ฝังตัวของไข่หลังจากได้รับการผสม เป็นแหล่งที่เกิดประจ�ำเดือน และเป็นแหล่ง เจริญเติบโตของทารก   ท่อน�ำไข่ เป็นท่อที่เชื่อมระหว่างมดลูกกับรังไข่ เป็นบริเวณที่มีการปฏิสนธิของอสุจิกับไข่   ช่องคลอด เป็นทางผ่านของอสุจิ และทางออกของทารกเมื่อครบก�ำหนดคลอด พัฒนาการของสิ่งมีชีวิต เริ่มจากเซลล์ไข่ปฏิสนธิกับ อสุจิเป็น “ไซโกต” เซลล์จะค่อยๆ เสื่อมถอยลง เรียกว่า “การแก่ชรา” จนกระทั่งตายในที่สุด เมื่อทารกเจริญเติบโต เต็มที่กลายเป็น “ตัวเต็มวัย” เอ็มบริโอจะเคลื่อนที่มาตาม ท่อน�ำไข่และมาฝังตัวในผนังมดลูก เมื่อเอ็มบริโอเจริญเติบโตจนครบ เวลาประมาณ 38 สัปดาห์ จะคลอดออกมาเป็น “เด็กทารก” พัฒนาเป็น “เอ็มบริโอ” พืช พืช คือ สิ่งมีชีวิตประเภทหนึ่งสามารถสร้างอาหารเองได้โดยอาศัยคลอโรฟิลล์ช่วยในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง การสร้างอาหารของพืช การสร้างอาหารของพืชโดยการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดขึ้นเวลามีแสง จ�ำเป็นต้องใช้ปัจจัยต่างๆ ดังนี้ Book 1.indb 14 3/14/19 10:10 PM
  • 26. 15 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 1. คลอโรฟิลล์ ท�ำหน้าที่ดึงดูดแสงเข้ามาเพื่อใช้ในกระบวนการปรุงอาหาร 2. น�้ำ (H2 O) 3. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 ) 4. แสง ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง สามารถเขียนแสดงได้ดังนี้ 6CO2 + 12H2 O แสง คลอโรฟิลล์ C6 H12 O6 + 6O2 + 6H2 O คาร์บอนไดออกไซด์ น�้ำ น�้ำตาลกลูโคส ออกซิเจน น�้ำ การหายใจของพืช การหายใจของพืช คือ การสลายอาหาร (น�้ำตาลกลูโคส) โดยใช้ออกซิเจนเพื่อให้ได้พลังงาน ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในการหายใจของพืช สามารถเขียนแสดงได้ดังนี้ C6 H12 O6 + O2 CO2 + H2 O + พลังงาน น�้ำตาลกลูโคส ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ น�้ำ การสังเคราะห์แสงเกิดขึ้นในช่วงกลางวัน แต่การหายใจเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อสังเกต พืชมีดอกและพืชไร้ดอก การจ�ำแนกพืชโดยการสืบพันธุ์ สามารถจ�ำแนกออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. พืชไร้ดอก คือ พืชที่ไม่มีอวัยวะส�ำคัญคือดอก จึงไม่สามารถสืบพันธุ์โดยใช้เมล็ดได้ เช่น มอส เฟิร์น สาหร่าย สน 2. พืชมีดอก คือ พืชที่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว จะออกดอกเพื่อใช้ในการสืบพันธุ์ จ�ำแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ ตารางที่ 3 ตารางเปรียบเทียบระหว่างพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ ลักษณะ ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู่ จ�ำนวนใบเลี้ยง 1 ใบ 2 ใบ ล�ำต้น มองเห็นข้อปล้องชัดเจน ไม่ค่อยมีกิ่งก้าน มองเห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน มีกิ่งก้านมากมาย ใบ มีใบเลี้ยงเพียง 1 ใบ มีใบเลี้ยง 2 ใบ ราก เป็นระบบรากฝอย เป็นระบบรากแก้ว จ�ำนวนกลีบดอก 3 กลีบ หรือทวีคูณของ 3 กลีบ 4-5 กลีบ หรือทวีคูณของ 4-5 กลีบ เมล็ด แกะเป็น 2 ซีกไม่ได้ แกะเป็น 2 ซีกได้ ตัวอย่าง ข้าว, ข้าวโพด, หญ้าคา, ไผ่, มะพร้าว, อ้อย มะม่วง, ตะเคียน, มะขาม, ชบา, ล�ำไย, มะนาว Book 1.indb 15 3/14/19 10:10 PM
  • 27. 16 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 การสืบพันธุ์ของพืช การสืบพันธุ์ของพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (สเปิร์ม) กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (ไข่) เป็นการสืบพันธุ์ที่อาจเกิดการกลายพันธุ์ได้ อับเรณู ก้านชูอับเรณู กลีบเลี้ยง กลีบดอก ยอดเกสรเพศเมีย ก้านเกสรเพศเมีย เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้ รังไข่ ออวุล ส่วนประกอบส�ำคัญของดอกไม้ มีดังนี้ 1. กลีบเลี้ยง (Sepal) คือ ส่วนที่อยู่นอกสุดที่เปลี่ยนแปลงมาจากใบ ช่วยป้องกันอันตรายให้แก่ดอก อ่อน 2. กลีบดอก (Petal) คือ ส่วนที่อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยง มักมีสีสด กลิ่นหอม ช่วยในการล่อแมลงมาผสม เกสร 3. เกสรเพศผู้ (Stamen) คือ ส่วนที่อยู่ถัดจากกลีบดอกเข้าไป ประกอบด้วยก้านชูเกสรเพศผู้และ อับเรณู ภายในบรรจุละอองเรณูที่มีเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ 4. เกสรเพศเมีย (Pistil) เป็นส่วนที่อยู่ในสุด ท�ำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ประกอบด้วยยอด เกสรเพศเมีย ก้านชูเกสรเพศเมีย รังไข่ ซึ่งภายในมีออวุลท�ำหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย การแบ่งชนิดของดอกไม้ 1. ดอกครบส่วน (Complete Flower) คือ ดอกไม้ที่มีส่วนประกอบครบทั้งสี่ส่วนในดอกเดียวกัน เช่น ชบา กุหลาบ ดอกบัว อัญชัน ชงโค มะเขือ มะลิ เป็นต้น 2. ดอกไม่ครบส่วน (Incomplete Flower)คือดอกที่มีส่วนประกอบไม่ครบทั้งสี่ส่วนเช่นกล้วยไม้ มะละกอ ฟักทอง ต�ำลึง เป็นต้น 3. ดอกสมบูรณ์เพศ คือ ดอกที่มีเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น ชบา กุหลาบ มะลิ เป็นต้น 4. ดอกไม่สมบูรณ์เพศ คือ ดอกที่มีเกสรเพียงชนิดเดียว เช่น ต�ำลึง ฟักทอง ข้าวโพด แตงกวา เป็นต้น Book 1.indb 16 3/14/19 10:10 PM
  • 28. 17 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 1. ดอกครบส่วนจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศเสมอ 2. ดอกสมบูรณ์เพศอาจเป็นดอกครบส่วนหรือไม่ครบส่วนก็ได้ 3. ดอกไม่สมบูรณ์เพศเป็นดอกไม่ครบส่วนเสมอ 4. ดอกไม่ครบส่วนอาจเป็นดอกสมบูรณ์เพศหรือไม่สมบูรณ์เพศก็ได้ ข้อสังเกต การผสมพันธุ์ของพืชดอก มี 2 ขั้นตอน 1. ถ่ายละอองเรณู คือ กระบวนการที่ละอองเรณูไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย ซึ่งสามารถเกิดได้ทั้งใน ดอกเดียวกันและข้ามดอกละอองเรณูถูกพัดพาไปยังที่ต่างๆโดยอาศัยปัจจัยเช่นลมพัดแมลงน�้ำ และสัตว์ชนิดต่างๆ 2. การปฏิสนธิคือกระบวนการที่นิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่อยู่บนยอดเกสรตัวเมียงอกหลอด ละอองเรณูเข้าผสมกับเซลล์ไข่ที่อยู่ในออวุล การปฏิสนธิจะเกิดขึ้น 2 ครั้ง › › ครั้งที่ 1 นิวเคลียสของละอองเรณูเข้าผสมกับนิวเคลียสของเซลล์ไข่ในออวุล » » สเปิร์ม + ไข่ ไซโกต ต้นอ่อน › › ครั้งที่ 2 นิวเคลียสตัวที่ 2 ของละอองเรณูเข้าผสมกับโพลาร์นิวเคลียส » » สเปิร์ม + โพลาร์นิวเคลียส เอนโดสเปิร์ม (อาหารเลี้ยงต้นอ่อน) การเปลี่ยนแปลงหลังปฏิสนธิ 1. กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย จะเหี่ยวแห้งร่วงไป ยกเว้นในพืชบางชนิด 2. รังไข่เจริญกลายเป็นผล 3. ผนังไข่จะเจริญเติบโตกลายเป็นเปลือก และเนื้อของผล 4. ออวุลกลายเป็นเมล็ด 5. เยื่อหุ้มออวุลกลายเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ การสืบพันธุ์ลักษณะนี้พืชจะใช้ส่วนต่างๆ ในการผสมพันธุ์ เช่น การใช้หน่อ ใบ ราก หรือสร้างสปอร์ ซึ่งการสืบพันธุ์ลักษณะนี้พืชจะไม่กลายพันธุ์ เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมนุษย์เป็นผู้กระท�ำ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เกิดเองตามธรรมชาติ 1. การแตกหน่อหรือเหง้า เช่น ไผ่ ต้นกล้วย กล้วยไม้ 2. การแตกต้นใหม่จากส่วนต่างๆ ของพืช › › ล�ำต้น เช่น ขิง ข่า ขมิ้น หัวหอม กระเทียม › › กิ่ง ใช้วิธีปักช�ำ เช่น พลูด่าง มะลิ › › ใบ เช่น ต้นตายใบเป็น ต้นทองสามย่าน กุหลาบหิน โคมญี่ปุ่น › › ราก เช่น มันเทศ มันส�ำปะหลัง 3. การสร้างสปอร์ พืชที่สืบพันธุ์ด้วยวิธีนี้ เช่น มอส เฟิร์น Book 1.indb 17 3/14/19 10:10 PM
  • 29. 18 เตรียมสอบแข่งขันทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ ป.6 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เกิดจากการกระท�ำของมนุษย์ มนุษย์น�ำความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุ์พืชท�ำให้ได้พืชต้นใหม่ที่มี ลักษณะเหมือนต้นเดิมและไม่เกิดการกลายพันธุ์คือการตอนกิ่งการติดตาการทาบกิ่งและการต่อกิ่งนอกจากนี้ ยังมีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ขยายพันธุ์พืช คือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Tissue Culture) โดยการน�ำเนื้อเยื่อของ ส่วนต่างๆ ของพืชมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ วิธีการนี้นิยมใช้กับพืชเศรษฐกิจเนื่องจากสามารถขยายพันธุ์พืช ปริมาณมากในระยะเวลาสั้น และพืชที่ได้มีลักษณะดีเหมือนพ่อแม่ทุกประการ การคายน�้ำ (Transpiration) การคายน�้ำ คือ เป็นการแพร่ของน�้ำออกจากใบของพืชโดยผ่านทางปากใบในรูปของแก๊ส (ไอน�้ำ) มีความ ส�ำคัญต่อพืชในด้านการควบคุมการเคลื่อนที่ของน�้ำในพืช ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน�้ำ 1. แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นแสงมาก ปากใบจะเปิดได้กว้าง พืชจะคายน�้ำได้มาก 2. อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิของบรรยากาศสูง ท�ำให้ใบคายน�้ำมากและเร็วขึ้น 3. ความชื้น ถ้าความชื้นในอากาศน้อย ท�ำให้การคายน�้ำเกิดขึ้นได้เร็ว 4. ลม ลมจะพัดพาเอาความชื้นของพืชไปที่อื่น เป็นสาเหตุให้พืชคายน�้ำมากขึ้น 5. ปริมาณน�้ำในดิน ถ้าปริมาณน�้ำในดินน้อย ปากใบของพืชจะปิดหรือหรี่ลง มีผลท�ำให้การคายน�้ำ ลดลง 6. ความกดดันของบรรยากาศ ในที่ที่มีความกดดันของบรรยากาศต�่ำ อากาศเบาบางลง การคายน�้ำ เกิดขึ้นได้มาก ประโยชน์ของการคายน�้ำ 1. ช่วยลดอุณหภูมิภายในล�ำต้นและใบ 2. ช่วยในการดูดน�้ำและเกลือแร่ 3. ช่วยให้ส่วนต่างๆ เกิดความชุ่มชื้น การด�ำรงชีวิตของสัตว์ นักชีววิทยาได้แบ่งสัตว์ออกเป็น 2 ประเภท คือ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ชั้นต�่ำ มีทั้งชนิดเซลล์เดียวและหลายเซลล์ บางชนิดมีขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าแทบ ไม่เห็น เช่น ไฮดรา พารามีเซียม บางชนิดมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เช่น จุลินทรีย์และเชื้อโรคชนิดต่างๆ ซึ่งสัตว์ พวกนี้กินอาหาร แลกเปลี่ยนแก๊ส และขับถ่ายผ่านทางผิวหนัง 1. พวกที่มีล�ำตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน�้ำแก้ว ฟองน�้ำหินปูน มีลักษณะส�ำคัญดังนี้ › › เกาะอยู่กับที่ ล�ำตัวเป็นโพรง มีช่องเปิดด้านบน มีรูพรุนโดยรอบ › › สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศ (แตกหน่อ) Book 1.indb 18 3/14/19 10:10 PM
  • 30. 19 สรุปวิทยาศาสตร์ประถมศึกษาปีที่ 4-6 › › บางชนิดพบในน�้ำจืดแต่ส่วนใหญ่อยู่ในน�้ำเค็ม › › ตัวอ่อนสามารถว่ายน�้ำได้แต่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ 2. ล�ำตัวกลวงหรือล�ำตัวมีโพรง ได้แก่ ไฮดรา ปะการัง ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน มีลักษณะส�ำคัญดังนี้ › › ตรงกลางล�ำตัวเป็นโพรง มีช่องเปิดออกจากล�ำตัวเพียงช่องเดียวเป็นทางน�ำอาหารเข้า และ บีบเศษอาหารออก › › บางชนิดมีเข็มพิษไว้ช่วยในการล่าเหยื่อและป้องกันตัว เช่น แมงกะพรุน และดอกไม้ทะเล › › สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศ (แตกหน่อ) › › ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน�้ำเค็ม ยกเว้นไฮดราที่อาศัยอยู่ในน�้ำจืดที่ค่อนข้างสะอาด 3. หนอน และพยาธิ แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้ › › หนอนตัวแบน เช่น พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้ มีลักษณะส�ำคัญดังนี้ » » ล�ำตัวนิ่ม แบนยาว มีปาก แต่ไม่มีทวารหนัก » » ด�ำรงชีวิตเป็นปรสิต ดูดเลือดจากร่างกายของคนและสัตว์เป็นอาหาร » » สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ » » ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด » » มี 2 เพศในตัวเดียวกัน › › หนอนตัวกลม ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิตัวจี๊ด พยาธิปากขอ มีลักษณะส�ำคัญดังนี้ » » ล�ำตัวนิ่ม กลมยาว ไม่มีขา » » ผิวเรียบ ไม่เป็นปล้อง » » มีปากและทวารหนัก » » ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด » » ด�ำรงชีวิตเป็นปรสิต » » สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ มีการแยกเพศอย่างชัดเจน 4. ล�ำตัวเป็นปล้อง ได้แก่ ไส้เดือนดิน ปลิงน�้ำจืด ทากดูดเลือด มีลักษณะส�ำคัญดังนี้ › › ล�ำตัวกลมยาว เป็นปล้องคล้ายวงแหวนต่อกัน › › บางชนิดอาศัยอยู่บนพื้นดินที่ชื้น และบางชนิดอาศัยอยู่ในน�้ำ › › มีระบบประสาทและระบบทางเดินอาหาร › › สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ › › มี 2 เพศในตัวเดียวกัน Book 1.indb 19 3/14/19 10:10 PM