SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม
ผู้จัดท้า
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อ้าเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาการพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จ้านวน 42 คน โดยการทดลองให้นักเรียน ท้างานเป็นกลุ่มสามารถพัฒนาทักษะ
การระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ดีขึ้นและ มีการประเมินผลการระบายสีน้้าจากใบงาน
ทั้งหมด 3 ครั้ง และเก็บรวบรวมขอมูลจากคะแนนของ นักเรียนแตละคนมาเปรียบเทียบกันทั้ง 3 ครั้ง จะเห็น
ได้ว่า นักเรียนมีทักษะในการระบายสีน้้า สูงขึ้นตามล้าดับ โดยครั้งที่ 1 อยู่ในระดับดีมากร้อยละ 15.52 ครั้งที่
2 ร้อยละ 28.10 และครั้งที่ 3 ร้อยละ 54.28 ตามล้าดับ ผลการวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้
และเกิดการพัฒนาทักษะการระบาย สีน้้าดีขึ้นและบรรลุวัตถุประสงคเป็นที่น่าพึงพอใจ
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
ค้าน้า
ตามที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก้าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ศิลปะโดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนรู้ได้พัฒนาด้านสุนทรียภาพร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และ
สังคม ส่งเสริมให้ผู้เรียน กล้าคิด กล้าท้า กล้าแสดงออก ในเชิง สร้างสรรค์สามารถค้นพบศักยภาพของตนเอง
อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพที่ สุจริตในอนาคตได้
การท้าวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยการท้างานเป็นกลุ่ม ซึ่งถือวาเป็นวิธีการน้ามาใช้แก้ปัญหาในการจัดการเรียน การสอนวิธีหนึ่ง เพื่อให้ผู้
เรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทัศนศิลป์เกี่ยวกับการระบายสีน้้าให้ดีขึ้น ผู้วิจัยขอขอบพระคุณบุคคลที่ให้การ
สนับสนุนส่งเสริมในการวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
สารบัญ
บทคัดย่อ หน้า
ค้าน้า
บทที่ 1 บทน้า
-ความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา
-วัตถุประสงค์
-สมมุติฐาน
-นิยามศัพทเฉพาะ
- ประโยชนของการท้าวิจัย
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ
เอกสารที่เกี่ยวของในการจัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีน้้า
บทที่ 3 วิธีการวิจัย
กลุ่มเป้าหมาย
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช้
แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะการระบายสีน้้า
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การระบายสีน้้าจากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 1
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ
การระบายสีน้้าจากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 2
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ
การระบายสีน้้าจากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 3
สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผล
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ตัวอย่างภาพครั้งที่ 1
ตัวอย่างภาพครั้งที่ 2
ตัวอย่างภาพครั้งที่ 3
ภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ปฏิบัติงานกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 2
แบบสอบถามความคิดเห็น
ใบงานที่ 1
ใบความรู้ที่ 2
ใบงานที่ 3
แบบประเมินการทดสอบการระบายสีน้้าครั้งที่ 1
แบบประเมินการทดสอบการระบายสีน้้าครั้งที่ 2
แบบประเมินการทดสอบการระบายสีน้้าครั้งที่ 3
แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
บทที่ 1
บทน้า
การวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยการท้างานเป็นกลุ่ม
1. ความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา
การจัดกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาศิลปะพื้นฐาน3ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สวนหนึ่งของเนื้อหาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก้าหนดให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ด้านทัศนศิลป ประเภทจิตรกรรมการวาดภาพระบายสี โดยเน้นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง
ทฤษฎีและการปฏิบัติ จากการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ซึ่งมี
นักเรียนทั้งหมดจ้านวน 42 คนพบว่านักเรียนจ้านวน 38 คน ยังขาดทักษะในการระบายสีจะเห็น
ได้จากผลงานที่นักเรียนฝึกปฏิบัติ ทั้งนี้เป็นเพราะนักเรียนขาดกิจกรรมที่สงเสริมทักษะการระบาย
สี ซึ่งการระบายสีเป็นทักษะที่ส้าคัญและจ้าเปนในทางศิลปะ อันเป็นทักษะพื้นฐานที่จะน้าไปสู่
งานศิลปะด้านอื่น นอกจากนี้การวาดภาพระบายสียังเป็นกิจกรรมที่สร้างความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน ท้าให้นักเรียนได้ผ่อนคลายอารมณ์ ท้าให้นักเรียนมีจิตใจอ่อนโยน และถ้าหาก
นักเรียนขาดทักษะการระบายสี จะส่งผลต่อการเรียนศิลปะด้านอื่น ๆ ท้าใหนักเรียนขาดแรงจูงใจ
ที่จะเรียนศิลปะด้านอื่นๆอีกด้วย
ดังนั้นหากได้ให้นักเรียนฝึกระบายสีน้้าเป็นกลุ่ม จะท้าให้นักเรียนมีทักษะในการระบายสีดีขึ้น
ได้ ทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการในการท้างานเป็นกลุ่มได้ช่วยสนับสนุน ให้นักเรียนเกิดจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันภายในกลุ่ม และมีการยกย่องชมเชย
สร้างแรงจูงใจและก้าลังใจให้เกิดขึ้นภายในกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนมีทักษะในการระบายสีน้้า
ตลอดจนการได้เป็นผู้พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทางด้านสุนทรียะ มีความพร้อมที่จะเรียน
ในกลุ่มสาระการเรียนรูศิลปะในระดับชั้นที่สูงขึ้นตอไป
2. วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม
3. สมมุติฐาน
การท้างานเป็นกลุ่มสามารถพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1/2 ได้ดีขึ้น
4. นิยามศัพทเฉพาะ
1.การท้างานเป็นกลุ่ม หมายถึง การท้างานร่วมกันของนักเรียนโดยแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 - 8 คน โดยมี
การจัดระบบการท้างานร่วมกัน สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีส่วนร่วมใน การแสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงานได้
เรียนรู้การท้างานร่วมกับผู้อื่น
2.ทักษะการระบายสี หมายถึง ความสามารถในการระบายสีของนักเรียนประเมิน
ได้จากการฝึกปฏิบัติการระบายสีให้เกิดความช้านาญตามขั้นตอนของทฤษฎีสีและหลักการ
จัดองค์ประกอบของศิลปะ เพื่อให้ได้ภาพระบายสีที่มีความสวยงามสามารถน้าไปใช้สอย
ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันได้ตามความเหมาะสม
5. ประโยชน์ของการท้าวิจัย
1. นักเรียนได้พัฒนาทักษะด้านการระบายสีน้้า
2. นักเรียนได้ฝกการท้างานเป็นกลุ่ม
3. นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สามารถวาดภาพระบายสีน้้าได้สวยงาม
4. นักเรียนมีความภูมิใจในผลงานของตนเองและได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
ในการท้างาน
5. นักเรียนมีความรักสามัคคีกันในการท้างานเป็นกลุ่มและรู้จักการเสียสละเพื่อ
ประโยชน์ของส่วนรวม
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวของ
การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยเพื่อเป็นแนวทางในการ
ด้าเนินการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีของนักเรียน โดยศึกษาเอกสาร
ตามล้าดับดังนี้
1.โชดก เก่งเขตรกิจ, ปัญญา ทรงเสรีย์ , ยศนันท์ แย้มเมือง และเศรษฐ์ศิริ สายกระสุน
( 2548 ) สรุปได้วา สีสันกับโลกสวยงาม เกี่ยวกับกับทัศนธาตุ และองค์ประกอบศิลปะ คือผู้ที่
สร้างสรรค์ผลงานศิลปะจะใช้เป็นสื่อความหมายในการแสดงออกโดยองค์ประกอบพื้นฐานคือ
ทัศนธาตุ่างๆ ได้แก่ จุด เส้น น้้าหนัก(แสง - เงา ) ทีว่าง ลักษณะผิว และสี เพื่อน้ามาจัดรวมเข้า
ด้วยกันจะเกิดเป็นรูปทรงของงานศิลปะขึ้น
แสดงให้เห็นว่าการระบายสีเป็นองค์ประกอบศิลปะที่ท้าให้ผลงานมีความน่าสนใจแก่ผู้พบ
เห็นโดยมีความสวยงามเกิดความรู้สึกทางอารมณ์จิตใจได้หลากหลาย สภาพแวดล้อมของมนุษย์
ล้วนแต่ประกอบดวยสีสันไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมที่มนุษย์สร้างขึ้น
ถ้าขาดการตกแต่งด้วยสีสันย่อมไม่น่าสนใจและจะไม่มีความสวยงาม
2.วัชรพงษ์ หงษ์สุวรรณ ( 2548 ) สรุปได้วาการเขียนภาพสีน้้า(WATERCOLOUR)เป็น
สีเคมีชนิดหนึ่งที่มีเชื้อสีเป็นน้้า ซึ่งมีการผสมอยู่ในเนื้อสีเป็นตัวท้าให้เนื้อสีเกาะติดอยูในเนื้อ
กระดาษ สีน้้าเป็นสีโปร่งใส (TRANSPARENT) ที่ใช้ผสมกับน้้าแล้วใช้พู่กันระบายลงบนกระดาษ
การผสมสีเกิดจากการผสมระหว่างสีหนึ่งกับอีกสีหนึ่ง หรือหลายสีผสมกัน เพื่อให้เกิดเป็นสีใหม่
ตามต้องการ เพราะสีน้้าเป็นสีโปร่งใส ดังนั้นการระบายสีน้้าจะต้องให้สะอาดและใส การควบคุม
ปริมาณของสีกับน้้า จึงเป็นสิ่งที่จ้าเป็นมาก ส้าหรับผู้เขียนภาพสีน้้า การกระจายหรือการซอฟของสี
เป็นลักษณะพิเศษของสีน้้า อีกอย่างหนึ่งซึ่งไม่มีในสีใด ๆ
แสดงให้เห็นว่า การระบายสีน้้า เป็นเทคนิคที่ใช้ระบายสีส้าหรับภาพวาดดวยวิธีการ
ที่ไม่ยากมีความเพลิดเพลิน การที่จะระบายสีน้้าให้เกิดความสวยงามดูเป็นธรรมชาติ จะต้องเรียนรู้
ทฤษฎีสีให้เขาใจ สามารถผสมสีได้ด้วยความช้านาญ
3. ประเทือง เอมเจริญ (2546) ได้กล่าวถึงสิ่งที่ปรากฏเป็นความงามของศิลปความชุ่ม
นุ่มนวลเต็มพื้นที่ของภาพที่ดูกลมกลืนกัน การไหลอยางอิสระของน้้าที่ก่อให้เกิดลีลา ความงามของ
สีที่ทาของการปาดป้ายแปรงที่ดูเฉียบขาดเรียบงาย ค่าแตกต่างของสี น้้าหนัก รูปทรงที่ดูมีเอกภาพ
ในตัวเอง พลังกระตุ้นจินตนาการจากภาพสู่ผู้ชมงานที่มีสมาธิในการดู สิ่งที่ก่อให้เกิดความส้าเร็จใน
งานคือสีทุกสีน้้า บวกน้้าใจ
มิติแห่งสีน้้า
* แผ่ซ่านไปทั่วแผนกระดาษเปียกฉ่้าดั่งมวลเมฆบนท้องฟาคือ มิติแหงสีน้้า
*เคลื่อนไหวอย่างอิสระร่าเริงเพื่อเข้าร่วมเป็นหนึ่งเดียวกับความสงบ คือ มิติแห่งสีน้้า
*แทรกซึมสู่ใต้ผิวลื่นไหลอยูเบื้องบน มุ่งผสานความกลมกลืนคือ มิติแห่งสีน้้า
* แตกตัวเป็นสีทุกสีดั่งดอกไม้หลากสีบนพื้นพิภพคือ มิติแห่งสีน้้า
* ไม่แยกตัวจากความดี หลีกหนีความชั่วคือ มิติแหงสีน้้า
*เปิดประตูแห่งความไม่รู้ ไปสู่ความรู้แจ้งอันเบิกบานคือ มิติแห่งสีน้้า
แสดงให้เห็นว่ามิติแห่งสีน้้าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวมีเสน่ห์ไม่เหมือนสีอื่น ภาพที่เกิด
จากการระบายสีน้้าดูชุ่มชื่น มีชีวิตชีวา มีความสวยงามน่าสนใจแก่ผู้พบเห็น
4. การท้างานกลุ่ม
การท้างานกลุ่ม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมในชมรมต่าง ๆ เพื่อ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการวางแผน ความรับผิดชอบและการบริหารเวลา
(http//:www.acp.assumption.ac.th/Homepage/self)
E-book หมายถึง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากเว็บไซต์ครู www.peterfineart.com
ดังนั้นการท้างานเป็นกลุ่ม จึงหมายถึง การร่วมกันท้างานตั้งแต่ 3 - 8คนขึ้นไป สมาชิกใน
กลุ่มมีสวนร่วมในการวางแผนท้างานและได้แสดงความคิดเห็นร่วมกัน ส่งผลให้ได้ชิ้นงานที่ส้าเร็จ
เป็นที่พึงพอใจร่วมกัน
ประโยชน์ของการท้างานเป็นกลุ่ม
1. นักเรียนได้รู้จักการวางแผนการจัดกิจกรรมร่วมกัน
2. นักเรียนได้พัฒนาบุคลิกของตนเองให้ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้
3. นักเรียนได้รู้จักการเสียสละเวลาและทุนทรัพย์เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม
4. นักเรียนมีความรักสามัคคีในหมู่คณะและมีความภูมิใจในงานที่ท้าร่วมกัน
บทที่ 3
วิธีการวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยผู้วิจัยได้ด้าเนินการตามล้าดับดังนี้
1. กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จ้านวน 42 คน
2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
2.1 ตัวแปรต้น การท้างานเป็นกลุ่ม
2.2 ตัวแปรตาม การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้า
3. วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช้
1. แผนการเรียนรู้ เรื่อง ทัศนธาตุและองค์ประกอบศิลปะ
2. แผนการจัดกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม
2.1 นักเรียนแบ่งกลุ่มกันท้างานตามอัธยาศัย ใหมีจ้านวนกลุ่มละ 3 - 4 คน เสร็จแล้ว
ให้ประชุมสมาชิกกลุ่ม แบ่งงานกันรับผิดชอบ โดยแต่ละกลุ่มนัดหมาย เรื่องการเตรียมอุปกรณ์
ส้าหรับวาดภาพระบายสีน้้ามาให้พร้อมในชั่วโมงเรียน
2.2 ให้นักเรียนทดลองวาดภาพระบายสีน้้า ครั้งที่ 1 ภาพตามจินตนาการของตนเอง
2.3 ครูจัดท้าใบความรู้ที่ 1เรื่อง ทฤษฎีสี และ ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การเขียนภาพสีน้้า
ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้
2.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มทุกคนทดลองวาดภาพระบายสีครั้งที่ 2
2.5 เพื่อนในกลุ่มและครูร่วมกันประเมินผลการท้างานครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2
2.6 หลังการประเมินผลงานนักเรียนบางคนได้คะแนนไม่ผ่านเกณฑเพื่อนในกลุ่ม
และครูช่วยกันแนะน้าเพิ่มเติมโดยการสาธิต
2.7 หลังประเมินผลงานนักเรียนครั้งที่ 1 และครั้งที่2 ที่ได้คะแนนผานเกณฑ์ให้ท้าใบ
งานที่ 3
2.8 นักเรียนแต่ละกลุ่มทุกคนทดลองวาดภาพระบายสีครั้งที่ 3
2.9 สรุปผลการประเมินการท้างานจากใบงานทั้ง 3 ครั้ง ให้นักเรียนทุกกลุ่มทราบ
แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะการระบายสีน้้า
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม
นักเรียนแบ่งกลุ่มท้างานตามอัธยาศัย กลุ่มละ 3-4
นักเรียนท้าใบงานที่ 1
นักเรียนศึกษาใบความรู้
นักเรียนท้าใบงานที่ 2
นักเรียนและครูร่วมกันประเมินผลงานครั้งที่ 1และครั้งที่2 ไม่ผานเกณฑ เพื่อนในกลุ่มและครู
ผ่านเกณฑ์
นักเรียนท้าใบงานที่ 3
สรุปการประเมินผลการท้างานจากใบงานทั้ง 3 ครั้ง
4. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลดวยตนเอง ตามขั้นตอนดังนี้
1. ให้นักเรียนท้างานเป็นกลุ่มทั้งหมด 3 ครั้ง เริ่มตั้งแต่การประเมินผลก่อนเรียน
โดยวาดภาพระบายสีตามจินตนาการ
2. นักเรียนปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 1 , ใบงานที่ 2 , ใบงานที่ 3
3. ครูแจกแบบการประเมินผลการใหคะแนนทั้ง 3 ครั้ง
4. ครูก้าหนดเวลาให้นักเรียนส่งผลงานที่ท้าเสร็จแลวให้ครูตรวจประเมินผล
5. ครูสรุปผลการตรวจผลงาน ครั้งที่ 1 และด้าเนินการต่อดังนี้
5.1 ครูแจกใบงาน นักเรียนปฏิบัติตามใบงานครั้งที่ 2 วาดภาพระบายสีน้้า
แจกันดอกไม้ และส่งผลงานให้ครูตรวจ ประเมินผล
5.2 ครูแจ้งผลคะแนนครั้งที่ 2
6. ครูแจกใบงานครั้งที่ 3 และด้าเนินการต่อดังนี้
6.1 นักเรียนปฏิบัติตามใบงานครั้งที่ 3 วาดภาพระบายสีน้้า แจกันดอกไม้
ส่งผลงานที่เสร็จแล้วให้ครูตรวจประเมินผล
6.2 ครูแจ้งผลคะแนน จากการท้างานครั้งที่ 3 และแจงผลการประเมินทั้ง
3 ครั้งให้นักเรียนทราบ
7. วิธีการวิเคราะห์ขอมูล
7.1 เปรียบเทียบผลคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ค่าร้อยละ
7.2 รวบรวมข้อมูลจากแบบประเมินผลการให้คะแนนทั้ง 3 ครั้ง
5. วิธีการวิเคราะห์ขอมูล
- ผู้ท้าวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีหาค่าเฉลี่ยร้อยละ
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ขอมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ปรากฏดังตารางที่ 1 , 2 และ 3 ดังนี้
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสี จากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม
จ้านวนนักเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 1/2
เกณฑการประเมิน ผล
การพัฒนาทักษะการ
ระบายสีน้้า
ผลการประเมินร้อยละ หมายเหตุ
42 ดีมาก
พอใช้
ปรับปรุง
9.52
50
40.48
นร. 4 คน
นร. 21 คน
นร. 17 คน
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสี จากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 2
จ้านวนนักเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 1/2
เกณฑ์การประเมิน ผล
การพัฒนาทักษะการ
ระบายสีน้้า
ผลการประเมินร้อยละ หมายเหตุ
42 ดีมาก
พอใช้
ปรับปรุง
38.10
52.38
9.52
นร. 16 คน
นร. 22 คน
นร. 4 คน
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสี จากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 3
จากการเปรียบเทียบคะแนนทั้ง 3 ตาราง จะเห็นได้ว่านักเรียนมีทักษะในการระบายสีน้้า สูงขึ้นตามล้าดับ
โดยครั้งที่ 1 อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 9.52 ครั้งที่ 2 ร้อยละ 38.10 และ ครั้งที่ 3 ร้อยละ 64.28
ตามล้าดับ และนักเรียนที่มีทักษะการระบายสีน้้าอยู่ในระดับปรับปรุง
ตารางที่ 4 สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
จากการท้าวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ พฤติกรรมกลุ่มที่สังเกตโดยเพื่อนในกลุ่ม มี 4 ข้อ คือ
1. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
2. การให้ความรวมมือ
3. ความสนใจต่อกิจกรรมกลุ่ม
4. การแสดงความคิดเห็น
กลุ่มที่
คะแนนเฉลี่ย คาระดับคะแนน
ด้าน 1 ด้าน 2 ด้าน 3 ด้าน 4
กลุ่มที่ 1 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุ่มที่ 2 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุ่มที่ 3 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุ่มที่ 4 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
จ้านวนนักเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 1/2
เกณฑการประเมิน ผล
การพัฒนาทักษะการ
ระบายสีน้้า
ผลการประเมินร้อยละ หมายเหตุ
42 ดีมาก
พอใช้
ปรับปรุง
64.28
33.34
2.38
นร. 27 คน
นร. 14 คน
นร. 1 คน
กลุ่มที่ 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุ่มที่ 6 3 3 3 3 พอใช้
กลุ่มที่ 7 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุ่มที่ 8 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุ่มที่ 9 3 3 3 3 พอใช้
กลุ่มที่ 10 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุ่มที่ 11 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
บทที่ 5
สรุปอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยการ
ท้างานเป็นกลุ่ม ในครั้งนี้ คือ
1. สรุปผล
- จากตารางเปรียบเทียบคะแนนการท้างาน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้า
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม จ้านวน 3 ครั้ง พบว่า จากการท้างาน
ครั้งที่ 1 มีนักเรียนจ้านวน 4 คน ที่มีความสามารถในการระบายสีน้้าได้ถูกต้องตามหลักการ อยู่ใน
ขั้นเกณฑ์ดีมาก และมีนักเรียนจ้านวน 21 คน ที่มีความสามารถในการระบายสีน้้า อยู่ในเกณฑ์ระดับ
พอใช้ นักเรียนจ้านวน 17 คน มีความสามารถในการระบายสีน้้า อยู่ในระดับปรับปรุง
- คะแนนการท้างานครั้งที่ 2 พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ท้างานอยู่ในระดับดีมากจ้านวน
16 คน และอยู่ในระดับพอใช้ 22 คน มีนักเรียนจ้านวน 4 คน ที่อยู่ในระดับปรับปรุง
- คะแนนการท้างานครั้งที่ 3 พบว่า นักเรียนจ้านวน 1 คน ที่อยู่ในระดับปรับปรุง
ดังนั้นการพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2
โดยวิธีท้างานเป็นกลุ่ม ท้าให้เกิดผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้น และบรรลุวัตถุประสงค์การท้าวิจัยในชั้นเรียน
ครั้งนี้
2. อภิปรายผล
- จากการท้าวิจัยในชั้นเรียนในครั้งนี้สงผลให้นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ได้พัฒนาทักษะการ
ระบายสีน้้าโดยการท้างานเป็นกลุ่ม คือ กระบวนการที่ท้าให้การท้างานแต่ละครั้งของนักเรียนเกิดผล
ส้าเร็จและได้ผลงานเป็นที่น่าพึงพอใจเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งผู้ท้าวิจัยได้ตรวจ ผลงานและประเมินผลการให้
คะแนนตามประเด็นและหลักเกณฑ์ตามที่ก้าหนดไว้ ท้าเป็นข้อมูล หลักฐานยืนยันได้ว่า การท้างานในครั้ง
ที่ 1 ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 ท้าให้นักเรียนมีการพัฒนาทักษะ การระบายสีน้้า จากท้างานอยูในขั้นเกณฑ์
ปรับปรุง พัฒนาเปนพอใช้และดีมาก ขึ้นมาตามล้าดับ และนักเรียนที่มีความสามารถท้างานจากครั้งที่ 1 ดี
มาก ก็ได้รักษาระดับความสามารถของตนเองไว้ ตลอดทั้ง 3 ครั้ง
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2
โดยวิธีการท้างานเป็นกลุ่มซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการจัดการเรียนการสอนใน วิชาศิลปะพื้นฐาน 3 พบว่า
นักเรียนขาดทักษะในการระบายสี ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการท้างานเป็นกลุ่ม
สรุปได้ว่า การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ส่งผลให้นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เกิดการพัฒนาการ
เรียนรู้และประสบการณ์ที่ใหม่ๆ ฝึกให้นักเรียนเป็นคนคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถน้าความรู้ที่ได้รับไปใช้แก้
ปัญหาให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันได้เหมาะสม การวิจัย ในชั้นเรียนเป็นกระบวนการท้างานโดยมีวิธีการ
วางแผนจนเกิดผลส้าเร็จที่ดีในการท้างาน เพื่อ สนองตอบนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2551
ขอเสนอแนะ
ในการท้าวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะแนวทางส้าหรับผู้สนใจ จะน้าไป พัฒนาการ
เรียนการสอนหรือ ศึกษาการวิจัยในชั้นเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้
ดังนี้
1. ผู้ท้าวิจัยในชั้นเรียนควรศึกษาสภาพปัญหาในห้องเรียน ที่สมควรให้มีการแก้ไขและ ปรับปรุงเพื่อให้การ
เรียนการสอนดีขึ้น
2. นักเรียนตอบแบบสอบถาม ข้อดี – ข้อเสีย โดยการท้างานเป็นกลุ่ม มีความพึงพอใจมาก น้อยอย่างไร ครู
เก็บรวบรวมข้อมูลและได้ข้อสรุป คือ ร้อยละ 95 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เห็นด้วยกับวิธีการเรียน
โดยการท้างานเป็นกลุ่ม
3. นักเรียนควรได้น้าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเอง และครอบครัว
ตลอดจนในสังคมให้ดีขึ้นต่อไปในอนาคต
4. การจัดกระบวนการสอน โดยให้นักเรียนท้างานเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-4 คน เป็นลักษณะ กลุ่มที่เหมาะสม
เพราะการแสดงความคิดเห็นร่วมกันในกลุ่ม หรือการนัดหมายแบ่งงานรับผิดชอบ แก่สมาชิกในกลุ่มจะมีความ
คล่องตัวง่าย สะดวกต่อการประสานงานกัน
บรรณานุกรม
โชดก เก่งเขตรกิจ, ปัญญา ทรงเสรี, ยศนันท์ แย้มเมือง, เศรษฐศิริ สายกระสุน.(2548) ทัศนศิลป์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิชย์ จ้ากัด. กรุงเทพมหานคร. วัชรพงศ์ หงส์สุวรรณ.(2548) สี
น้้าภาคปฏิบัติ บริษัทวาดศิลป์ จ้ากัด. กรุงเทพมาหานคร. ประเทือง เอมเจริญ.(2546) มิติแห่งสีน้้า 2003
บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พัลลิชชิ่งจ้ากัด. (มหาชน)
www.peterfineart.com E – book ทัศนศิลป์
www.acp.assumpton.ac.th/Homepasge/self การท้างานกลุ่ม
ผลงานนักเรียนม.1/2

More Related Content

What's hot

แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานpeter dontoom
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64วายุ วรเลิศ
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 

What's hot (20)

Sar peter 60
Sar peter 60Sar peter 60
Sar peter 60
 
962
962962
962
 
Port peter
Port peterPort peter
Port peter
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
Work you selt
Work you seltWork you selt
Work you selt
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Math 2
Math 2Math 2
Math 2
 
Math
MathMath
Math
 
Research 2005 29
Research 2005 29Research 2005 29
Research 2005 29
 
Post selt2
Post selt2Post selt2
Post selt2
 
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
 
Kruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contestKruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contest
 
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา  ผลเกิดก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา  ผลเกิด
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
Sar 54
Sar 54Sar 54
Sar 54
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Similar to Classroom research paper

Report water colours
Report water coloursReport water colours
Report water colourspeter dontoom
 
Report water colours
Report water coloursReport water colours
Report water colourspeter dontoom
 
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdfเรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdfpeter dontoom
 
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdfเรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdfpeter dontoom
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณaapiaa
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 

Similar to Classroom research paper (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
Report water colours
Report water coloursReport water colours
Report water colours
 
Report water colours
Report water coloursReport water colours
Report water colours
 
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdfเรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
 
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdfเรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 
4.2.pdf
4.2.pdf4.2.pdf
4.2.pdf
 
3.4.pdf
3.4.pdf3.4.pdf
3.4.pdf
 

Classroom research paper

  • 1. เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม ผู้จัดท้า นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อ้าเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
  • 2. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาการพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จ้านวน 42 คน โดยการทดลองให้นักเรียน ท้างานเป็นกลุ่มสามารถพัฒนาทักษะ การระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ดีขึ้นและ มีการประเมินผลการระบายสีน้้าจากใบงาน ทั้งหมด 3 ครั้ง และเก็บรวบรวมขอมูลจากคะแนนของ นักเรียนแตละคนมาเปรียบเทียบกันทั้ง 3 ครั้ง จะเห็น ได้ว่า นักเรียนมีทักษะในการระบายสีน้้า สูงขึ้นตามล้าดับ โดยครั้งที่ 1 อยู่ในระดับดีมากร้อยละ 15.52 ครั้งที่ 2 ร้อยละ 28.10 และครั้งที่ 3 ร้อยละ 54.28 ตามล้าดับ ผลการวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ และเกิดการพัฒนาทักษะการระบาย สีน้้าดีขึ้นและบรรลุวัตถุประสงคเป็นที่น่าพึงพอใจ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
  • 3. ค้าน้า ตามที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก้าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะโดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนรู้ได้พัฒนาด้านสุนทรียภาพร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และ สังคม ส่งเสริมให้ผู้เรียน กล้าคิด กล้าท้า กล้าแสดงออก ในเชิง สร้างสรรค์สามารถค้นพบศักยภาพของตนเอง อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพที่ สุจริตในอนาคตได้ การท้าวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม ซึ่งถือวาเป็นวิธีการน้ามาใช้แก้ปัญหาในการจัดการเรียน การสอนวิธีหนึ่ง เพื่อให้ผู้ เรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทัศนศิลป์เกี่ยวกับการระบายสีน้้าให้ดีขึ้น ผู้วิจัยขอขอบพระคุณบุคคลที่ให้การ สนับสนุนส่งเสริมในการวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
  • 4. สารบัญ บทคัดย่อ หน้า ค้าน้า บทที่ 1 บทน้า -ความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ -สมมุติฐาน -นิยามศัพทเฉพาะ - ประโยชนของการท้าวิจัย บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ เอกสารที่เกี่ยวของในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีน้้า บทที่ 3 วิธีการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช้ แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะการระบายสีน้้า วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การระบายสีน้้าจากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 1
  • 5. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ การระบายสีน้้าจากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ การระบายสีน้้าจากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 3 สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผล อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ตัวอย่างภาพครั้งที่ 1 ตัวอย่างภาพครั้งที่ 2 ตัวอย่างภาพครั้งที่ 3 ภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ปฏิบัติงานกลุ่ม ใบความรู้ที่ 1 ใบความรู้ที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็น ใบงานที่ 1 ใบความรู้ที่ 2 ใบงานที่ 3 แบบประเมินการทดสอบการระบายสีน้้าครั้งที่ 1 แบบประเมินการทดสอบการระบายสีน้้าครั้งที่ 2
  • 6. แบบประเมินการทดสอบการระบายสีน้้าครั้งที่ 3 แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม บทที่ 1 บทน้า การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม 1. ความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา การจัดกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาศิลปะพื้นฐาน3ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สวนหนึ่งของเนื้อหาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก้าหนดให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ด้านทัศนศิลป ประเภทจิตรกรรมการวาดภาพระบายสี โดยเน้นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง ทฤษฎีและการปฏิบัติ จากการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ซึ่งมี นักเรียนทั้งหมดจ้านวน 42 คนพบว่านักเรียนจ้านวน 38 คน ยังขาดทักษะในการระบายสีจะเห็น ได้จากผลงานที่นักเรียนฝึกปฏิบัติ ทั้งนี้เป็นเพราะนักเรียนขาดกิจกรรมที่สงเสริมทักษะการระบาย สี ซึ่งการระบายสีเป็นทักษะที่ส้าคัญและจ้าเปนในทางศิลปะ อันเป็นทักษะพื้นฐานที่จะน้าไปสู่ งานศิลปะด้านอื่น นอกจากนี้การวาดภาพระบายสียังเป็นกิจกรรมที่สร้างความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ท้าให้นักเรียนได้ผ่อนคลายอารมณ์ ท้าให้นักเรียนมีจิตใจอ่อนโยน และถ้าหาก นักเรียนขาดทักษะการระบายสี จะส่งผลต่อการเรียนศิลปะด้านอื่น ๆ ท้าใหนักเรียนขาดแรงจูงใจ ที่จะเรียนศิลปะด้านอื่นๆอีกด้วย
  • 7. ดังนั้นหากได้ให้นักเรียนฝึกระบายสีน้้าเป็นกลุ่ม จะท้าให้นักเรียนมีทักษะในการระบายสีดีขึ้น ได้ ทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการในการท้างานเป็นกลุ่มได้ช่วยสนับสนุน ให้นักเรียนเกิดจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันภายในกลุ่ม และมีการยกย่องชมเชย สร้างแรงจูงใจและก้าลังใจให้เกิดขึ้นภายในกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนมีทักษะในการระบายสีน้้า ตลอดจนการได้เป็นผู้พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทางด้านสุนทรียะ มีความพร้อมที่จะเรียน ในกลุ่มสาระการเรียนรูศิลปะในระดับชั้นที่สูงขึ้นตอไป 2. วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม 3. สมมุติฐาน การท้างานเป็นกลุ่มสามารถพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1/2 ได้ดีขึ้น 4. นิยามศัพทเฉพาะ 1.การท้างานเป็นกลุ่ม หมายถึง การท้างานร่วมกันของนักเรียนโดยแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 - 8 คน โดยมี การจัดระบบการท้างานร่วมกัน สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีส่วนร่วมใน การแสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงานได้ เรียนรู้การท้างานร่วมกับผู้อื่น 2.ทักษะการระบายสี หมายถึง ความสามารถในการระบายสีของนักเรียนประเมิน ได้จากการฝึกปฏิบัติการระบายสีให้เกิดความช้านาญตามขั้นตอนของทฤษฎีสีและหลักการ จัดองค์ประกอบของศิลปะ เพื่อให้ได้ภาพระบายสีที่มีความสวยงามสามารถน้าไปใช้สอย ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันได้ตามความเหมาะสม 5. ประโยชน์ของการท้าวิจัย 1. นักเรียนได้พัฒนาทักษะด้านการระบายสีน้้า 2. นักเรียนได้ฝกการท้างานเป็นกลุ่ม 3. นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สามารถวาดภาพระบายสีน้้าได้สวยงาม
  • 8. 4. นักเรียนมีความภูมิใจในผลงานของตนเองและได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ในการท้างาน 5. นักเรียนมีความรักสามัคคีกันในการท้างานเป็นกลุ่มและรู้จักการเสียสละเพื่อ ประโยชน์ของส่วนรวม บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยเพื่อเป็นแนวทางในการ ด้าเนินการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีของนักเรียน โดยศึกษาเอกสาร ตามล้าดับดังนี้ 1.โชดก เก่งเขตรกิจ, ปัญญา ทรงเสรีย์ , ยศนันท์ แย้มเมือง และเศรษฐ์ศิริ สายกระสุน ( 2548 ) สรุปได้วา สีสันกับโลกสวยงาม เกี่ยวกับกับทัศนธาตุ และองค์ประกอบศิลปะ คือผู้ที่ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะจะใช้เป็นสื่อความหมายในการแสดงออกโดยองค์ประกอบพื้นฐานคือ ทัศนธาตุ่างๆ ได้แก่ จุด เส้น น้้าหนัก(แสง - เงา ) ทีว่าง ลักษณะผิว และสี เพื่อน้ามาจัดรวมเข้า ด้วยกันจะเกิดเป็นรูปทรงของงานศิลปะขึ้น แสดงให้เห็นว่าการระบายสีเป็นองค์ประกอบศิลปะที่ท้าให้ผลงานมีความน่าสนใจแก่ผู้พบ เห็นโดยมีความสวยงามเกิดความรู้สึกทางอารมณ์จิตใจได้หลากหลาย สภาพแวดล้อมของมนุษย์ ล้วนแต่ประกอบดวยสีสันไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมที่มนุษย์สร้างขึ้น ถ้าขาดการตกแต่งด้วยสีสันย่อมไม่น่าสนใจและจะไม่มีความสวยงาม 2.วัชรพงษ์ หงษ์สุวรรณ ( 2548 ) สรุปได้วาการเขียนภาพสีน้้า(WATERCOLOUR)เป็น สีเคมีชนิดหนึ่งที่มีเชื้อสีเป็นน้้า ซึ่งมีการผสมอยู่ในเนื้อสีเป็นตัวท้าให้เนื้อสีเกาะติดอยูในเนื้อ กระดาษ สีน้้าเป็นสีโปร่งใส (TRANSPARENT) ที่ใช้ผสมกับน้้าแล้วใช้พู่กันระบายลงบนกระดาษ การผสมสีเกิดจากการผสมระหว่างสีหนึ่งกับอีกสีหนึ่ง หรือหลายสีผสมกัน เพื่อให้เกิดเป็นสีใหม่ ตามต้องการ เพราะสีน้้าเป็นสีโปร่งใส ดังนั้นการระบายสีน้้าจะต้องให้สะอาดและใส การควบคุม
  • 9. ปริมาณของสีกับน้้า จึงเป็นสิ่งที่จ้าเป็นมาก ส้าหรับผู้เขียนภาพสีน้้า การกระจายหรือการซอฟของสี เป็นลักษณะพิเศษของสีน้้า อีกอย่างหนึ่งซึ่งไม่มีในสีใด ๆ แสดงให้เห็นว่า การระบายสีน้้า เป็นเทคนิคที่ใช้ระบายสีส้าหรับภาพวาดดวยวิธีการ ที่ไม่ยากมีความเพลิดเพลิน การที่จะระบายสีน้้าให้เกิดความสวยงามดูเป็นธรรมชาติ จะต้องเรียนรู้ ทฤษฎีสีให้เขาใจ สามารถผสมสีได้ด้วยความช้านาญ 3. ประเทือง เอมเจริญ (2546) ได้กล่าวถึงสิ่งที่ปรากฏเป็นความงามของศิลปความชุ่ม นุ่มนวลเต็มพื้นที่ของภาพที่ดูกลมกลืนกัน การไหลอยางอิสระของน้้าที่ก่อให้เกิดลีลา ความงามของ สีที่ทาของการปาดป้ายแปรงที่ดูเฉียบขาดเรียบงาย ค่าแตกต่างของสี น้้าหนัก รูปทรงที่ดูมีเอกภาพ ในตัวเอง พลังกระตุ้นจินตนาการจากภาพสู่ผู้ชมงานที่มีสมาธิในการดู สิ่งที่ก่อให้เกิดความส้าเร็จใน งานคือสีทุกสีน้้า บวกน้้าใจ มิติแห่งสีน้้า * แผ่ซ่านไปทั่วแผนกระดาษเปียกฉ่้าดั่งมวลเมฆบนท้องฟาคือ มิติแหงสีน้้า *เคลื่อนไหวอย่างอิสระร่าเริงเพื่อเข้าร่วมเป็นหนึ่งเดียวกับความสงบ คือ มิติแห่งสีน้้า *แทรกซึมสู่ใต้ผิวลื่นไหลอยูเบื้องบน มุ่งผสานความกลมกลืนคือ มิติแห่งสีน้้า * แตกตัวเป็นสีทุกสีดั่งดอกไม้หลากสีบนพื้นพิภพคือ มิติแห่งสีน้้า * ไม่แยกตัวจากความดี หลีกหนีความชั่วคือ มิติแหงสีน้้า *เปิดประตูแห่งความไม่รู้ ไปสู่ความรู้แจ้งอันเบิกบานคือ มิติแห่งสีน้้า แสดงให้เห็นว่ามิติแห่งสีน้้าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวมีเสน่ห์ไม่เหมือนสีอื่น ภาพที่เกิด จากการระบายสีน้้าดูชุ่มชื่น มีชีวิตชีวา มีความสวยงามน่าสนใจแก่ผู้พบเห็น 4. การท้างานกลุ่ม การท้างานกลุ่ม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมในชมรมต่าง ๆ เพื่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการวางแผน ความรับผิดชอบและการบริหารเวลา (http//:www.acp.assumption.ac.th/Homepage/self)
  • 10. E-book หมายถึง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากเว็บไซต์ครู www.peterfineart.com ดังนั้นการท้างานเป็นกลุ่ม จึงหมายถึง การร่วมกันท้างานตั้งแต่ 3 - 8คนขึ้นไป สมาชิกใน กลุ่มมีสวนร่วมในการวางแผนท้างานและได้แสดงความคิดเห็นร่วมกัน ส่งผลให้ได้ชิ้นงานที่ส้าเร็จ เป็นที่พึงพอใจร่วมกัน ประโยชน์ของการท้างานเป็นกลุ่ม 1. นักเรียนได้รู้จักการวางแผนการจัดกิจกรรมร่วมกัน 2. นักเรียนได้พัฒนาบุคลิกของตนเองให้ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ 3. นักเรียนได้รู้จักการเสียสละเวลาและทุนทรัพย์เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม 4. นักเรียนมีความรักสามัคคีในหมู่คณะและมีความภูมิใจในงานที่ท้าร่วมกัน บทที่ 3 วิธีการวิจัย การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยผู้วิจัยได้ด้าเนินการตามล้าดับดังนี้ 1. กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จ้านวน 42 คน 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรต้น การท้างานเป็นกลุ่ม 2.2 ตัวแปรตาม การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้า 3. วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช้ 1. แผนการเรียนรู้ เรื่อง ทัศนธาตุและองค์ประกอบศิลปะ 2. แผนการจัดกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม 2.1 นักเรียนแบ่งกลุ่มกันท้างานตามอัธยาศัย ใหมีจ้านวนกลุ่มละ 3 - 4 คน เสร็จแล้ว
  • 11. ให้ประชุมสมาชิกกลุ่ม แบ่งงานกันรับผิดชอบ โดยแต่ละกลุ่มนัดหมาย เรื่องการเตรียมอุปกรณ์ ส้าหรับวาดภาพระบายสีน้้ามาให้พร้อมในชั่วโมงเรียน 2.2 ให้นักเรียนทดลองวาดภาพระบายสีน้้า ครั้งที่ 1 ภาพตามจินตนาการของตนเอง 2.3 ครูจัดท้าใบความรู้ที่ 1เรื่อง ทฤษฎีสี และ ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การเขียนภาพสีน้้า ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 2.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มทุกคนทดลองวาดภาพระบายสีครั้งที่ 2 2.5 เพื่อนในกลุ่มและครูร่วมกันประเมินผลการท้างานครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 2.6 หลังการประเมินผลงานนักเรียนบางคนได้คะแนนไม่ผ่านเกณฑเพื่อนในกลุ่ม และครูช่วยกันแนะน้าเพิ่มเติมโดยการสาธิต 2.7 หลังประเมินผลงานนักเรียนครั้งที่ 1 และครั้งที่2 ที่ได้คะแนนผานเกณฑ์ให้ท้าใบ งานที่ 3 2.8 นักเรียนแต่ละกลุ่มทุกคนทดลองวาดภาพระบายสีครั้งที่ 3 2.9 สรุปผลการประเมินการท้างานจากใบงานทั้ง 3 ครั้ง ให้นักเรียนทุกกลุ่มทราบ
  • 12. แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะการระบายสีน้้า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม นักเรียนแบ่งกลุ่มท้างานตามอัธยาศัย กลุ่มละ 3-4 นักเรียนท้าใบงานที่ 1 นักเรียนศึกษาใบความรู้ นักเรียนท้าใบงานที่ 2 นักเรียนและครูร่วมกันประเมินผลงานครั้งที่ 1และครั้งที่2 ไม่ผานเกณฑ เพื่อนในกลุ่มและครู ผ่านเกณฑ์ นักเรียนท้าใบงานที่ 3 สรุปการประเมินผลการท้างานจากใบงานทั้ง 3 ครั้ง 4. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลดวยตนเอง ตามขั้นตอนดังนี้ 1. ให้นักเรียนท้างานเป็นกลุ่มทั้งหมด 3 ครั้ง เริ่มตั้งแต่การประเมินผลก่อนเรียน โดยวาดภาพระบายสีตามจินตนาการ 2. นักเรียนปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 1 , ใบงานที่ 2 , ใบงานที่ 3 3. ครูแจกแบบการประเมินผลการใหคะแนนทั้ง 3 ครั้ง
  • 13. 4. ครูก้าหนดเวลาให้นักเรียนส่งผลงานที่ท้าเสร็จแลวให้ครูตรวจประเมินผล 5. ครูสรุปผลการตรวจผลงาน ครั้งที่ 1 และด้าเนินการต่อดังนี้ 5.1 ครูแจกใบงาน นักเรียนปฏิบัติตามใบงานครั้งที่ 2 วาดภาพระบายสีน้้า แจกันดอกไม้ และส่งผลงานให้ครูตรวจ ประเมินผล 5.2 ครูแจ้งผลคะแนนครั้งที่ 2 6. ครูแจกใบงานครั้งที่ 3 และด้าเนินการต่อดังนี้ 6.1 นักเรียนปฏิบัติตามใบงานครั้งที่ 3 วาดภาพระบายสีน้้า แจกันดอกไม้ ส่งผลงานที่เสร็จแล้วให้ครูตรวจประเมินผล 6.2 ครูแจ้งผลคะแนน จากการท้างานครั้งที่ 3 และแจงผลการประเมินทั้ง 3 ครั้งให้นักเรียนทราบ 7. วิธีการวิเคราะห์ขอมูล 7.1 เปรียบเทียบผลคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ค่าร้อยละ 7.2 รวบรวมข้อมูลจากแบบประเมินผลการให้คะแนนทั้ง 3 ครั้ง 5. วิธีการวิเคราะห์ขอมูล - ผู้ท้าวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีหาค่าเฉลี่ยร้อยละ
  • 14. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ปรากฏดังตารางที่ 1 , 2 และ 3 ดังนี้ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสี จากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม จ้านวนนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เกณฑการประเมิน ผล การพัฒนาทักษะการ ระบายสีน้้า ผลการประเมินร้อยละ หมายเหตุ 42 ดีมาก พอใช้ ปรับปรุง 9.52 50 40.48 นร. 4 คน นร. 21 คน นร. 17 คน ตารางที่ 2 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสี จากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 2 จ้านวนนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เกณฑ์การประเมิน ผล การพัฒนาทักษะการ ระบายสีน้้า ผลการประเมินร้อยละ หมายเหตุ 42 ดีมาก พอใช้ ปรับปรุง 38.10 52.38 9.52 นร. 16 คน นร. 22 คน นร. 4 คน ตารางที่ 3 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสี จากกิจกรรมการท้างานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 3
  • 15. จากการเปรียบเทียบคะแนนทั้ง 3 ตาราง จะเห็นได้ว่านักเรียนมีทักษะในการระบายสีน้้า สูงขึ้นตามล้าดับ โดยครั้งที่ 1 อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 9.52 ครั้งที่ 2 ร้อยละ 38.10 และ ครั้งที่ 3 ร้อยละ 64.28 ตามล้าดับ และนักเรียนที่มีทักษะการระบายสีน้้าอยู่ในระดับปรับปรุง ตารางที่ 4 สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม จากการท้าวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ พฤติกรรมกลุ่มที่สังเกตโดยเพื่อนในกลุ่ม มี 4 ข้อ คือ 1. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 2. การให้ความรวมมือ 3. ความสนใจต่อกิจกรรมกลุ่ม 4. การแสดงความคิดเห็น กลุ่มที่ คะแนนเฉลี่ย คาระดับคะแนน ด้าน 1 ด้าน 2 ด้าน 3 ด้าน 4 กลุ่มที่ 1 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุ่มที่ 2 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุ่มที่ 3 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุ่มที่ 4 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี จ้านวนนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เกณฑการประเมิน ผล การพัฒนาทักษะการ ระบายสีน้้า ผลการประเมินร้อยละ หมายเหตุ 42 ดีมาก พอใช้ ปรับปรุง 64.28 33.34 2.38 นร. 27 คน นร. 14 คน นร. 1 คน
  • 16. กลุ่มที่ 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุ่มที่ 6 3 3 3 3 พอใช้ กลุ่มที่ 7 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุ่มที่ 8 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุ่มที่ 9 3 3 3 3 พอใช้ กลุ่มที่ 10 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุ่มที่ 11 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี บทที่ 5 สรุปอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยการ ท้างานเป็นกลุ่ม ในครั้งนี้ คือ 1. สรุปผล - จากตารางเปรียบเทียบคะแนนการท้างาน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีน้้า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยการท้างานเป็นกลุ่ม จ้านวน 3 ครั้ง พบว่า จากการท้างาน ครั้งที่ 1 มีนักเรียนจ้านวน 4 คน ที่มีความสามารถในการระบายสีน้้าได้ถูกต้องตามหลักการ อยู่ใน ขั้นเกณฑ์ดีมาก และมีนักเรียนจ้านวน 21 คน ที่มีความสามารถในการระบายสีน้้า อยู่ในเกณฑ์ระดับ พอใช้ นักเรียนจ้านวน 17 คน มีความสามารถในการระบายสีน้้า อยู่ในระดับปรับปรุง - คะแนนการท้างานครั้งที่ 2 พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ท้างานอยู่ในระดับดีมากจ้านวน 16 คน และอยู่ในระดับพอใช้ 22 คน มีนักเรียนจ้านวน 4 คน ที่อยู่ในระดับปรับปรุง - คะแนนการท้างานครั้งที่ 3 พบว่า นักเรียนจ้านวน 1 คน ที่อยู่ในระดับปรับปรุง ดังนั้นการพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยวิธีท้างานเป็นกลุ่ม ท้าให้เกิดผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้น และบรรลุวัตถุประสงค์การท้าวิจัยในชั้นเรียน
  • 17. ครั้งนี้ 2. อภิปรายผล - จากการท้าวิจัยในชั้นเรียนในครั้งนี้สงผลให้นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ได้พัฒนาทักษะการ ระบายสีน้้าโดยการท้างานเป็นกลุ่ม คือ กระบวนการที่ท้าให้การท้างานแต่ละครั้งของนักเรียนเกิดผล ส้าเร็จและได้ผลงานเป็นที่น่าพึงพอใจเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งผู้ท้าวิจัยได้ตรวจ ผลงานและประเมินผลการให้ คะแนนตามประเด็นและหลักเกณฑ์ตามที่ก้าหนดไว้ ท้าเป็นข้อมูล หลักฐานยืนยันได้ว่า การท้างานในครั้ง ที่ 1 ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 ท้าให้นักเรียนมีการพัฒนาทักษะ การระบายสีน้้า จากท้างานอยูในขั้นเกณฑ์ ปรับปรุง พัฒนาเปนพอใช้และดีมาก ขึ้นมาตามล้าดับ และนักเรียนที่มีความสามารถท้างานจากครั้งที่ 1 ดี มาก ก็ได้รักษาระดับความสามารถของตนเองไว้ ตลอดทั้ง 3 ครั้ง การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีน้้าของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โดยวิธีการท้างานเป็นกลุ่มซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการจัดการเรียนการสอนใน วิชาศิลปะพื้นฐาน 3 พบว่า นักเรียนขาดทักษะในการระบายสี ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการท้างานเป็นกลุ่ม สรุปได้ว่า การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ส่งผลให้นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เกิดการพัฒนาการ เรียนรู้และประสบการณ์ที่ใหม่ๆ ฝึกให้นักเรียนเป็นคนคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถน้าความรู้ที่ได้รับไปใช้แก้ ปัญหาให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันได้เหมาะสม การวิจัย ในชั้นเรียนเป็นกระบวนการท้างานโดยมีวิธีการ วางแผนจนเกิดผลส้าเร็จที่ดีในการท้างาน เพื่อ สนองตอบนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ขอเสนอแนะ ในการท้าวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะแนวทางส้าหรับผู้สนใจ จะน้าไป พัฒนาการ เรียนการสอนหรือ ศึกษาการวิจัยในชั้นเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้ ดังนี้ 1. ผู้ท้าวิจัยในชั้นเรียนควรศึกษาสภาพปัญหาในห้องเรียน ที่สมควรให้มีการแก้ไขและ ปรับปรุงเพื่อให้การ เรียนการสอนดีขึ้น 2. นักเรียนตอบแบบสอบถาม ข้อดี – ข้อเสีย โดยการท้างานเป็นกลุ่ม มีความพึงพอใจมาก น้อยอย่างไร ครู เก็บรวบรวมข้อมูลและได้ข้อสรุป คือ ร้อยละ 95 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เห็นด้วยกับวิธีการเรียน โดยการท้างานเป็นกลุ่ม
  • 18. 3. นักเรียนควรได้น้าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเอง และครอบครัว ตลอดจนในสังคมให้ดีขึ้นต่อไปในอนาคต 4. การจัดกระบวนการสอน โดยให้นักเรียนท้างานเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-4 คน เป็นลักษณะ กลุ่มที่เหมาะสม เพราะการแสดงความคิดเห็นร่วมกันในกลุ่ม หรือการนัดหมายแบ่งงานรับผิดชอบ แก่สมาชิกในกลุ่มจะมีความ คล่องตัวง่าย สะดวกต่อการประสานงานกัน บรรณานุกรม โชดก เก่งเขตรกิจ, ปัญญา ทรงเสรี, ยศนันท์ แย้มเมือง, เศรษฐศิริ สายกระสุน.(2548) ทัศนศิลป์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิชย์ จ้ากัด. กรุงเทพมหานคร. วัชรพงศ์ หงส์สุวรรณ.(2548) สี น้้าภาคปฏิบัติ บริษัทวาดศิลป์ จ้ากัด. กรุงเทพมาหานคร. ประเทือง เอมเจริญ.(2546) มิติแห่งสีน้้า 2003 บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พัลลิชชิ่งจ้ากัด. (มหาชน) www.peterfineart.com E – book ทัศนศิลป์ www.acp.assumpton.ac.th/Homepasge/self การท้างานกลุ่ม