SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
รายงานการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ
รายวิชาทัศนศิลป์ ศ๓๑๑๐๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
โดย
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
ครูวิทยฐานะชานาญการ
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : รายงานการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ
รายวิชา ศ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
โดย : นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
รายงานการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ รายวิชา ศ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
๔ จานวน ๕ เล่ม มีวัตถุประสงค์ ๑) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่สาระศิลปะให้ดีขึ้น ๒) สร้างและ
พัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ๓)
ศึกษาผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะที่จัดสร้าง
ขึ้นในครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี
เขต ๘ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จาวนวน ๔๗ คนได้มาโดยซุ่มแบบเจาะจง โดยสร้างและพัฒนา
เอกสารดังกล่าวปีการศึกษา ๒๕๖๒ และรายงานผลการใช้ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เก็บช้อมูลโดยใช้แบบทดสอบ
ปรนัยชนิดเลือกตอบจาก ๔ ตัวเลือก จานวน ๒ ชุด ได้แก่ ๑) แบบทดสอบก่อนและหลังจากแบบฝึกเสริม
ทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะเป็นรายเล่ม เล่มละ ๑ ฉบับ รวม ๕ ฉบับ ฉบับละ ๒๐ ข้อ ๒) แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะที่จัดทาขึ้นครั้งนี้ ทั้ง ๕ เล่ม จานวน ๑ ฉบับ
มี ๒๐ ข้อ และ ๓) แบบประเมินพึงความพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ
ที่จัดทาขึ้นในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า ๑) หลังการเรียนรู้จากแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะทั้ง
๕ เล่ม นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะดีขึ้น ๒) แบบฝึกเสริมทักษะการ
สร้างสรรค์งานศิลปะทั้ง ๕ เล่ม มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ทุกเล่ม ๓) นักเรียนมีความ
พึงพอใจต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะที่จัดทาครั้งนี้อยู่ในระดับดีมากทุกเล่ม
วิธีการดาเนินการพัฒนา
ผู้รายงานได้ดาเนินการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (วิชาทัศนศิลป์) เพื่อ
การศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ที่เรียนรายวิชาทัศนศิลป์ ศ๓๑๑๐๑ ที่สอนโดยใช้
แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะจานวน ๕ เล่ม ซึ่งมีรายละเอียดและ ได้ดาเนินการตามลาดับ
ขั้นตอนดังนี้
๑.วัตถุประสงค์ของการพัฒนา
๒.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
๓.เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา
๔.การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ
๕.แบบแผนการดาเนินการพัฒนา
๖.การวิเคราะห์ข้อมูล
๗.สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล
๑.วัตถุประสงค์ของการพัฒนา
๑.เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะให้สูงขึ้น
๒.เพื่อสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะให้มีประสิทธิภาพมาตรฐาน ๘๐/๘๐
๓. เพื่อการศึกษาผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งาน
ศิลปะ
๒.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการพัฒนาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี สพ
ม. เขต ๘ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๒ ห้องรวมนักเรียน ๔๗ คน
กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี สพม.เขต ๘
ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๔๗ คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง
๓. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา
ผู้รายงานได้จัดทาเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาครั้งนี้ มีรายการดังต่อไปนี้
๓.๑ แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน
๕ เล่ม ดังนี้
เล่มที่ ๑ เรื่องการวาดเส้นแรเงา
เล่มที่ ๒ เรื่องการระบายสีน้า
เล่มที่ ๓ เรื่องการพิมพ์ภาพ
เล่มที่ ๔ เรื่องภาพปะติด
เล่มที่ ๕ เรื่องการออกแบบพาณิชย์ศิลป์
๓.๒ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๒๐
ข้อ
๓.๓ แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๒๐ ข้อ
๔. การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ
ผู้รายงานได้สร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ศ ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ดังนี้
๔.๑ แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ
ผู้รายงานได้ศึกษาค้นคว้าหลักการ แนวคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะที่ดีจากเอกสาร
และตาราต่างๆโดยได้ดาเนินการสร้างและหาคุณภาพ ดังนี้
๑)ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะวิชาทัศนศิลป์
ศ ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
๒)วิเคราะห์หลักสูตร และจัดแบ่งสาระการเรียนรู้ออกเป็นเรื่องย่อยๆมความเหมาะสมศักยภาพของ
ผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ผลการเรียนที่คาดหวัง และจุดประสงค์การเรียนรู้
๓)ศึกษาเอกสาร และตาราที่เกี่ยวกับการจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะทางศิลปะอย่างชัดแจ้ง เช่น
ลักษณะ ส่วนประกอบ รูปแบบ การนาเสนอ เป็นต้น
๔)พิจารณาเลือกรูปแบบที่เหมาะสม และได้ออกแบบจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งาน
ศิลปะ จานวน ๕ เล่ม โดยภายในเล่มได้จัดทารูปแบบที่สวยงาม กะทัดรัด น่าสนใจ อ่านง่าย ใช้
ขนาดตัวอักษรชัดเจน มีรูปภาพที่สวยงามเพื่อกระตุ้นแรงบันดาลใจของนักเรียน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้รายงานได้ดาเนินการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชา ศ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ (สาระการเรียนรู้ศิลปะ)ใน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ผู้รายงานได้เก็บข้อมูลโดยนาเครื่องมือที่ใช้การพัฒนา
ได้แก่
๑. แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ จานวน ๕ เล่ม
๒. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ศ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ (กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๒๐ ข้อ
๓. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ จานวน
๒๐ ข้อ
ซึ่งเครื่องมือทั้ง ๓ รายการนี้ได้ผ่านการตรวจสอบผู้เชี่ยวชาญจานวน ๒ คน และนาไปทดลองใช้จนมี
คุณภาพ แล้วนาไปใช้กับนักเรียนชั้นมะยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ จานวน ๔๗ คน ด้วยการทดสอบก่อน
เรียนและดาเนินกิจกรรมโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ หลังจากนั้นได้ดาเนินการทดสอบหลังเรียน ผู้รายงาน
จึงขอเสนอดาเนินงาน ดังนี้
ตอนที่ ๑ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ตอนที่ ๒ การหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ตามเกณฑ์มาตรฐาน (๘๐ / ๘๐)
ตอนที่ ๓ การหาค่าความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔
ผลการดาเนินการ
ตอนที่ ๑ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ดังตาราง
แสดงที่ ๑-๘
ตารางที่ ๑ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เล่มที่ ๑ เรื่องการวาดเส้น
แรเงา
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทดสอบก่อนเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ทดสอบหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ผลการพัฒนา
คะแนนรวม ๓๕๗ ๔๘๗ ๑๓๐
คะแนนเฉลี่ย ๖.๗๔ ๙.๑๙ ๒.๔๕
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๗.๔๐ ๙๑.๙๐ ๒๔.๕๓
จากตารางที่ ๑ พบว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยม
วัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๗.๔๐ ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
๙๑.๙๐ ซึ่งมีผลการพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๔.๕๓
ตารางที่ ๒ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เล่มที่ ๒ เรื่อง
การระบายสีน้า
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทดสอบก่อนเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ทดสอบหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ผลการพัฒนา
คะแนนรวม ๓๔๒ ๔๙๐ ๑๔๘
คะแนนเฉลี่ย ๖.๔๕ ๙.๒๕ ๒.๗๙
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๔.๕๓ ๙๒.๔๕ ๒๗.๙๒
จากตารางที่ ๒ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๔.๕๒ ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๙๒.๔๕ ซึ่งมีผล
การพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๗.๙๒
ตารางที่ ๓ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เล่ม เรื่อง
การพิมพ์ภาพ
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทดสอบก่อนเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ทดสอบหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ผลการพัฒนา
คะแนนรวม ๓๘๙ ๕๐๘ ๑๑๙
คะแนนเฉลี่ย ๗.๓๔ ๙.๕๘ ๒.๒๕
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๓.๔๐ ๘๕.๘๕ ๒๒.๔๕
จากตารางที่ ๓ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียน
มัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๓.๔๐ ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อย
ละ ๙๘.๘๕ ซึ่งผลการพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๒.๔๕
ตารางที่ ๔ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากการใช้แบบฝึกเสริม ทักษะ เล่ม
ที่ ๔ เรื่องภาพปะติด
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทดสอบก่อนเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ทดสอบหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ผลการพัฒนา
คะแนนรวม ๓๙๗ ๕๑๑ ๑๑๔
คะแนนเฉลี่ย ๗.๔๙ ๙.๖๔ ๒.๑๕
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๔.๙๑ ๙๖.๔๒ ๒๑.๕๑
จากตารางที่ ๔ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียน
มัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๔.๙๑ ส่วนคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย
ร้อยละ ๒๑.๕๑
ตารางที่ ๕ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากกการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เล่มที่ ๕
เรื่องการออกแบบพาณิชย์ศิลป์
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทดสอบก่อนเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ทดสอบหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน
ผลการพัฒนา
คะแนนรวม ๓๘๑ ๕๐๓ ๑๒๒
คะแนนเฉลี่ย ๗.๑๙ ๙.๔๙ ๒.๓๐
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๑.๘๙ ๙๔.๙๑ ๒๓.๐๒
จากตารางที่ ๕ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียน
มัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๑.๘๙ ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อย
ละ ๙๔.๙๑ ซึ่งมีผลการพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๓.๐๒
สรุปผลการพัฒนาจากการทดลองก่อนเรียนและหลังเรียน
ตารางที่ ๖ แสดงคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการ
สร้างสรรค์งานศิลปะ จานวน 5 เล่ม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
ราชบุรี ปีการศึกษา 2558
เรื่อง
คะแนนรวมเฉลี่ยร้อยละ
ก่อนเรียน หลังเรียน ผลการพัฒนา
1 การวาดเส้นแรเงา ๖๗.๔๐ ๙๑.๙๐ ๒๔.๕๓
2 การระบายสีน้า ๖๔.๕๓ ๙.๔๕ ๒๗.๙๒
3 การพิมพ์ภาพ ๗๓.๔๐ ๙๕.๘๕ ๒๒.๔๕
4 ภาพปะติด ๗๔.๙๑ ๙๖.๔๒ ๒๑.๕๑
5 การออกแบบพาณิชย์ศิลป์ ๗๑.๘๙ ๙๔.๙๑ ๒๓.๐๒
เฉลี่ยร้อยละ ๗๐.๔๒ ๙๔.๓๐ ๒๓.๘๘
จากตารางที่ ๖ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง
๑,๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างสรรค์งานศิลปะจานวน ๕ เล่ม
มีคะแนนการทดสอบก่อนเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๗๐.๔๒ ส่วนคะแนนการทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ
๙๔.๓๐ มีคะแนนการพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๓.๘๘ จึงสรุปได้ว่าการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการ
สร้างสรรค์งานศิลปะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์สูงขึ้น
การหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างสรรค์งานศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ดังแสดงในตาราง
ตารางแสดงการหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างงานศิลปะเล่มที่ ๑ เรื่องการวาดเส้น
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทาแบบฝึกระหว่างเรียน
คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E )
ทาแบบฝึกหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E )
คะแนนรวม ๓๗๑๘ ๔๘๗
คะแนนเฉลี่ย ๗๐.๑๕ ๙.๑๙
เฉลี่ยร้อยละ ๘๗.๖๙ ๙๑.๙๐
จากตารางพบว่ากิจกรรมระหว่างเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๑ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๙๑.๙๐ ดังแบบ
ฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E / 2E ) เท่ากับ ๘๗.๖๙ / ๙๑.๙๐ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
จากตารางแสดงการหาค่าประสิทธิของแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างสรรค์งานศิลปะ เล่มที่ ๒ เรื่อง การระบาย
สีน้า
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทาแบบฝึกระหว่างเรียน
คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E )
ทาแบบฝึกหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E )
คะแนนรวม ๓๕๘๓ ๔๙๐
คะแนนเฉลี่ย ๖๗.๖๐ ๙.๒๕
เฉลี่ยร้อยละ ๘๔.๕๐ ๙๒.๔๕
จากตาราง พบว่านักเรียนทากิจกรรมระหว่างเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๒ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
๘๔.๕๐ ได้คะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๙๒.๕๐ ดังนั้นแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E /
2E ) เท่ากับ ๙๔.๕๐ / ๙๒.๕๐ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
จากตารางแสดงการหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะเล่มที่ ๓ เรื่องการ
พิมพ์ภาพ
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทาแบบฝึกระหว่างเรียน
คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E )
ทาแบบฝึกหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E )
คะแนนรวม ๓๖๒๓ ๕๐๘
คะแนนเฉลี่ย ๖๘.๓๖ ๙.๕๘
เฉลี่ยร้อยละ ๘๕.๔๕ ๙๕.๘๕
จากตาราง พบว่า นักเรียนทากิจกรรมระหว่างเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๓ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
๘๕.๔๕ ได้คะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๙๕.๘๕ ดังนั้นแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E /
2E ) เท่ากับ ๘๕.๔๕ / ๙๕.๘๕ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
ตารางแสดงการหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างสรรค์งานศิลปะเล่มที่ ๔ เรื่องภาพปะติด
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทาแบบฝึกระหว่างเรียน
คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E )
ทาแบบฝึกหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E )
คะแนนรวม ๓๗๙๙ ๕๑๑
คะแนนเฉลี่ย ๗๑.๖๘ ๙.๖๔
เฉลี่ยร้อยละ ๘๙.๖๐ ๙๖.๔๒
จากตาราง พบว่านักเรียนทากิจกรรมแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๔ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘๙.๖๐ ได้คะแนน
ทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๙๖.๔๒ ดังนั้นแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E / 2E ) เท่ากับ
๘๙.๖๐ / ๙๖.๔๒ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
ตารางการแสดงหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ เล่มที่ ๕ เรื่องการ
ออกแบบพาณิชย์ศิลป์
จานวนนักเรียน
๔๗ คน
ทาแบบฝึกระหว่างเรียน
คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E )
ทาแบบฝึกหลังเรียน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E )
คะแนนรวม ๓๘๒๓ ๕๐๓
คะแนนเฉลี่ย ๗๓.๑๓ ๙.๔๙
เฉลี่ยร้อยละ ๙๐.๑๗ ๙๔.๙๑
จากตารางพบว่า นักเรียนทากิจกรรมระหว่างเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๕ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
๙๐.๑๗ ได้คะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๙๔.๙๑ ดังนั้นแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E /
2E ) เท่ากับ ๙๐.๑๗ /๙๔.๙๑ ซึ่งสูงสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
ตารางสรุปของประสิทธิภาพแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๕ เล่ม
เล่มที่ / เรื่อง ประสิทธิภาพของแบบฝึก ( 1E / 2E )
๑.การวาดเส้นแรเงา ๘๗.๖๙ / ๙๑.๙๐
๒.การระบายสีน้า ๘๔.๕๐ / ๙๒.๔๕
๓.การพิมพ์ภาพ ๘๕.๔๕ / ๙๘.๘๕
๔.ภาพปะติด ๘๙.๖๐ /๙๖.๔๒
๕.การออกแบบพาณิชย์ศิลป์ ๙๐.๑๗ / ๙๔.๙๑
ค่าเฉลี่ย ๘๗.๔๘ / ๙๔.๓๑
จากตารางสรุปได้ว่า ผลสรุปรวมค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้ง ๕ เล่ม
มีค่าเฉลี่ย ( 1E / 2E ) เท่ากับ ๘๗.๔๘ / ๙๔.๓๑ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
ภาคผนวก ง
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รายวิชาทัศนศิลป์ ศ ๓๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รายวิชาทัศนศิลป์ ศ๓๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี เวลา ๓๐ นาที คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน
คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกากบาททับตัวอักษรหน้าข้อใน
กระดาษคาตอบที่กาหนดให้
๑.เส้นในข้อใด ที่ให้ความรู้สึก ราบเรียบ สงบนิ่ง
ก.
ข.
ค.
ง.
๒.ภาพในข้อใด ใช้เส้นแสดงระยะใกล้ไกลได้มากที่สุด
ก.
ข.
ค.
ง.
๓.ในขั้นเริ่มต้น ผู้ฝึกวาดเส้นแรเงาควรเลือกใช้หุ่นในข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
ก. เก้าอี้ไม้
ข.ผลมะนาว
ค.รองเท้าผ้าใบ
ง.กระติ๊กน้าร้อน
๔. ถ้านักเรียนต้องการแรเงาวัตถุรูปทรงที่กาหนดให้นี้ ให้มีเงาถูกต้องและเหมาะสม
นักเรียนจะแรเงาเหมือนภาพในข้อใด
๕.ในการระบายสีน้า ควรใช้พู่กันในข้อใด
ก. พู่กันจีน
ข.พู่กันกลม
ค.พู่กันแบน
ง.พู่กันปลายตัด
๖. สีในข้อใดเป็นแม่สี
ก.
ข.
ค.
ง.
๗.สีในข้อใดที่ไม่ใช่แม่สี
ก. ข. ค. ง.
๘.เมื่อเราแม่สีทั้งหมด12สีมาผสมในสัดส่วนเท่ากัน จะได้สีใด
ก. ข. ค. ง.น้าตาล
๙.สีในข้อใดให้ความรู้สึก อ่อนหวาน นุ่มนวล อ่อนโยน
ก. ข. ค. ง.
๑๐.อใดเป็นภาพพิมพ์ที่ได้จากแม่พิมพ์ธรรมชาติ
ก. ข
ค. ง.
๑๑.ข้อใดหมายถึงการพิมพ์ภาพด้วยพื้นผิว
ก. การฝนสีไม้บนกระดาษที่ทับบนผิวของวัตถุที่หยาบหรือมีร่องลวดลาย
ข. การพิมพ์ภาพโดยใช่เนื้อสีปริมาณมากๆ เพื่อจะได้พื้นผิวที่ขรุขระ
ค. การทาสีบนผิวของวัตถุที่มีลวดลายแล้วประทับบนลงกระดาษ
ง. การพิมพ์ภาพที่ใช้แม่พิมพ์มากกว่า 2 ชนิดขึ้นไป
๑๒.ภาพพิมพ์นี้หมายถึงการพิมพ์ภาพในข้อใด
ก. ภาพพิมพ์ด้วยนิ้วมือ
ข. ภาพพิมพ์ภาพด้วยใบไม้
ค. ภาพพิมพ์ภาพด้วยพู่กัน
ง. ภาพพิมพ์ภาพแบบสต็ลซิล
๑๓.ภาพพิมพ์ภาพนี้เป็นภาพพิมพ์ด้วยวัสดุใด
ก. ภาพพิมพ์นูนธรรมชาติ
ข. ภาพพิมพ์พื้นราบ
ค. ภาพพิมพ์ปีกแมลง
ง. พิมพ์ใบไม้
๑๔.ใครเป็นผู้ที่นาวิธีการปะติดมาใช้ในวงการศิลปะเป็นคนแรก
ก. เฮนรี มัวร์
ข. ลีโอนาโด ดาวินซี
ค. ปิกาสโซ่ และ บราก
ง. อเล็กซานเดอร์คาลเตอร์
๑๕.วัสดุในข้อใดไม่เหมาะสมที่จะนามาสร้างสรรค์ในงานภาพปะติด
ก. เศษกระดาษ กระดุม ฝาขวด และเศษสิ่งเหลือใช้ต่างๆ
ข. ปีกแมลง เกล็ดปลา ขนไก่ เปลือกไข่
ค. เศษกิ่งไม้ ใบไม้
ง. เม็ดทุเรียน
๑๖.ภาพในข้อใดเป็นการปะติดด้วยวัสดุที่ได้จากพืช
ก.
ข.
ค.
ง.
๑๗.ข้อใดเกี่ยวข้องกับ “งานพาณิชย์ศิลป์”
ก. มุ่งประโยชน์อย่างเดียว
ข. มุ่งเรื่องการค้าอย่างเดียว
ค. มุ่งเรื่องความงามเป็นหลักเพื่อดึงดูดใจ
ง. มุ่งประโยชน์เป็นหลัก ความงามเป็นรอง
๑๘.งานออกแบบหน้ากากประดับผนังชิ้นนี้ ให้อารมณ์ใดแก่ผู้ดู
ก. ตลก สนุกสนาน
ข. สวยงาม สดใส
ค. เศร้า หดหู่
ง. สยดสยอง
๑๙.การออกแบบงานชิ้นนี้ ไม่เกี่ยวข้องกับข้อใด
ก. ฟุ่มเฟือย
ข. เรียบง่าย
ค. มีคุณค่าทางจิตใจ
ง. เศรษฐกิจพอเพียง
๒๐.ข้อใดเป็นงานออกแบบงานพาณิชย์ศิลป์
ก.
ข.
ค.
ง.

More Related Content

What's hot

Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paperpeter dontoom
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1thanakit553
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1krupornpana55
 
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอนink3828
 
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64วายุ วรเลิศ
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูJaratpong Moonjai
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 

What's hot (17)

Work you selt
Work you seltWork you selt
Work you selt
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paper
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1
 
Sar arom
Sar aromSar arom
Sar arom
 
port peter64.pdf
port peter64.pdfport peter64.pdf
port peter64.pdf
 
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา  ผลเกิดก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา  ผลเกิด
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
Math
MathMath
Math
 
Math 2
Math 2Math 2
Math 2
 
ก.ค.ศ.1
ก.ค.ศ.1ก.ค.ศ.1
ก.ค.ศ.1
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
 
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
 
คำนำ ปก สารบัญ
คำนำ ปก สารบัญคำนำ ปก สารบัญ
คำนำ ปก สารบัญ
 
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 

Similar to Plan

คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพkoyrattanasri
 
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีcomed
 
สื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานภาคเรียน1ปี60
สื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานภาคเรียน1ปี60สื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานภาคเรียน1ปี60
สื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานภาคเรียน1ปี60chaiyaporn malilar
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556Kapook Bank
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 

Similar to Plan (20)

คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
Work you selt
Work you seltWork you selt
Work you selt
 
research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Plan 003
Plan 003Plan 003
Plan 003
 
Chapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to printChapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to print
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
B1
B1B1
B1
 
ปก+รายงาน..[1]
ปก+รายงาน..[1]ปก+รายงาน..[1]
ปก+รายงาน..[1]
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
 
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
 
สื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานภาคเรียน1ปี60
สื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานภาคเรียน1ปี60สื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานภาคเรียน1ปี60
สื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานภาคเรียน1ปี60
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 
4.2.pdf
4.2.pdf4.2.pdf
4.2.pdf
 
3.4.pdf
3.4.pdf3.4.pdf
3.4.pdf
 

Plan

  • 1. รายงานการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ศ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โดย นายอารมย์ อินทรประเสริฐ ครูวิทยฐานะชานาญการ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : รายงานการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ รายวิชา ศ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โดย : นายอารมย์ อินทรประเสริฐ รายงานการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ รายวิชา ศ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๕ เล่ม มีวัตถุประสงค์ ๑) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่สาระศิลปะให้ดีขึ้น ๒) สร้างและ พัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ๓) ศึกษาผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะที่จัดสร้าง ขึ้นในครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี เขต ๘ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จาวนวน ๔๗ คนได้มาโดยซุ่มแบบเจาะจง โดยสร้างและพัฒนา เอกสารดังกล่าวปีการศึกษา ๒๕๖๒ และรายงานผลการใช้ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เก็บช้อมูลโดยใช้แบบทดสอบ ปรนัยชนิดเลือกตอบจาก ๔ ตัวเลือก จานวน ๒ ชุด ได้แก่ ๑) แบบทดสอบก่อนและหลังจากแบบฝึกเสริม ทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะเป็นรายเล่ม เล่มละ ๑ ฉบับ รวม ๕ ฉบับ ฉบับละ ๒๐ ข้อ ๒) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะที่จัดทาขึ้นครั้งนี้ ทั้ง ๕ เล่ม จานวน ๑ ฉบับ มี ๒๐ ข้อ และ ๓) แบบประเมินพึงความพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ที่จัดทาขึ้นในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า ๑) หลังการเรียนรู้จากแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะทั้ง ๕ เล่ม นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะดีขึ้น ๒) แบบฝึกเสริมทักษะการ
  • 3. สร้างสรรค์งานศิลปะทั้ง ๕ เล่ม มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ทุกเล่ม ๓) นักเรียนมีความ พึงพอใจต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะที่จัดทาครั้งนี้อยู่ในระดับดีมากทุกเล่ม วิธีการดาเนินการพัฒนา ผู้รายงานได้ดาเนินการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (วิชาทัศนศิลป์) เพื่อ การศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ที่เรียนรายวิชาทัศนศิลป์ ศ๓๑๑๐๑ ที่สอนโดยใช้ แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะจานวน ๕ เล่ม ซึ่งมีรายละเอียดและ ได้ดาเนินการตามลาดับ ขั้นตอนดังนี้ ๑.วัตถุประสงค์ของการพัฒนา ๒.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๓.เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ๔.การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ ๕.แบบแผนการดาเนินการพัฒนา ๖.การวิเคราะห์ข้อมูล
  • 4. ๗.สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ๑.วัตถุประสงค์ของการพัฒนา ๑.เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะให้สูงขึ้น ๒.เพื่อสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะให้มีประสิทธิภาพมาตรฐาน ๘๐/๘๐ ๓. เพื่อการศึกษาผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งาน ศิลปะ ๒.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการพัฒนาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี สพ ม. เขต ๘ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๒ ห้องรวมนักเรียน ๔๗ คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี สพม.เขต ๘ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๔๗ คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง ๓. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ผู้รายงานได้จัดทาเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาครั้งนี้ มีรายการดังต่อไปนี้ ๓.๑ แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๕ เล่ม ดังนี้ เล่มที่ ๑ เรื่องการวาดเส้นแรเงา เล่มที่ ๒ เรื่องการระบายสีน้า เล่มที่ ๓ เรื่องการพิมพ์ภาพ
  • 5. เล่มที่ ๔ เรื่องภาพปะติด เล่มที่ ๕ เรื่องการออกแบบพาณิชย์ศิลป์ ๓.๒ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๒๐ ข้อ ๓.๓ แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๒๐ ข้อ ๔. การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ ผู้รายงานได้สร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ศ ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ดังนี้ ๔.๑ แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ผู้รายงานได้ศึกษาค้นคว้าหลักการ แนวคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะที่ดีจากเอกสาร และตาราต่างๆโดยได้ดาเนินการสร้างและหาคุณภาพ ดังนี้ ๑)ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะวิชาทัศนศิลป์ ศ ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๒)วิเคราะห์หลักสูตร และจัดแบ่งสาระการเรียนรู้ออกเป็นเรื่องย่อยๆมความเหมาะสมศักยภาพของ ผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ผลการเรียนที่คาดหวัง และจุดประสงค์การเรียนรู้ ๓)ศึกษาเอกสาร และตาราที่เกี่ยวกับการจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะทางศิลปะอย่างชัดแจ้ง เช่น ลักษณะ ส่วนประกอบ รูปแบบ การนาเสนอ เป็นต้น ๔)พิจารณาเลือกรูปแบบที่เหมาะสม และได้ออกแบบจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งาน ศิลปะ จานวน ๕ เล่ม โดยภายในเล่มได้จัดทารูปแบบที่สวยงาม กะทัดรัด น่าสนใจ อ่านง่าย ใช้ ขนาดตัวอักษรชัดเจน มีรูปภาพที่สวยงามเพื่อกระตุ้นแรงบันดาลใจของนักเรียน
  • 6. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้รายงานได้ดาเนินการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชา ศ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ (สาระการเรียนรู้ศิลปะ)ใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ผู้รายงานได้เก็บข้อมูลโดยนาเครื่องมือที่ใช้การพัฒนา ได้แก่ ๑. แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ จานวน ๕ เล่ม ๒. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ศ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ (กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๒๐ ข้อ ๓. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ จานวน ๒๐ ข้อ ซึ่งเครื่องมือทั้ง ๓ รายการนี้ได้ผ่านการตรวจสอบผู้เชี่ยวชาญจานวน ๒ คน และนาไปทดลองใช้จนมี คุณภาพ แล้วนาไปใช้กับนักเรียนชั้นมะยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ จานวน ๔๗ คน ด้วยการทดสอบก่อน เรียนและดาเนินกิจกรรมโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ หลังจากนั้นได้ดาเนินการทดสอบหลังเรียน ผู้รายงาน จึงขอเสนอดาเนินงาน ดังนี้ ตอนที่ ๑ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ตอนที่ ๒ การหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ตามเกณฑ์มาตรฐาน (๘๐ / ๘๐) ตอนที่ ๓ การหาค่าความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ผลการดาเนินการ ตอนที่ ๑ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ดังตาราง แสดงที่ ๑-๘
  • 7. ตารางที่ ๑ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เล่มที่ ๑ เรื่องการวาดเส้น แรเงา จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ผลการพัฒนา คะแนนรวม ๓๕๗ ๔๘๗ ๑๓๐ คะแนนเฉลี่ย ๖.๗๔ ๙.๑๙ ๒.๔๕ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๗.๔๐ ๙๑.๙๐ ๒๔.๕๓ จากตารางที่ ๑ พบว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยม วัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๗.๔๐ ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๙๑.๙๐ ซึ่งมีผลการพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๔.๕๓ ตารางที่ ๒ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เล่มที่ ๒ เรื่อง การระบายสีน้า จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ผลการพัฒนา คะแนนรวม ๓๔๒ ๔๙๐ ๑๔๘ คะแนนเฉลี่ย ๖.๔๕ ๙.๒๕ ๒.๗๙
  • 8. คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๔.๕๓ ๙๒.๔๕ ๒๗.๙๒ จากตารางที่ ๒ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๔.๕๒ ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๙๒.๔๕ ซึ่งมีผล การพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๗.๙๒ ตารางที่ ๓ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เล่ม เรื่อง การพิมพ์ภาพ จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ผลการพัฒนา คะแนนรวม ๓๘๙ ๕๐๘ ๑๑๙ คะแนนเฉลี่ย ๗.๓๔ ๙.๕๘ ๒.๒๕ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๓.๔๐ ๘๕.๘๕ ๒๒.๔๕ จากตารางที่ ๓ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียน มัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๓.๔๐ ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อย ละ ๙๘.๘๕ ซึ่งผลการพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๒.๔๕ ตารางที่ ๔ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากการใช้แบบฝึกเสริม ทักษะ เล่ม ที่ ๔ เรื่องภาพปะติด
  • 9. จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ผลการพัฒนา คะแนนรวม ๓๙๗ ๕๑๑ ๑๑๔ คะแนนเฉลี่ย ๗.๔๙ ๙.๖๔ ๒.๑๕ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๔.๙๑ ๙๖.๔๒ ๒๑.๕๑ จากตารางที่ ๔ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียน มัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๔.๙๑ ส่วนคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ๒๑.๕๑ ตารางที่ ๕ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคเรียนที่ ๑ จากกการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เล่มที่ ๕ เรื่องการออกแบบพาณิชย์ศิลป์ จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ผลการพัฒนา คะแนนรวม ๓๘๑ ๕๐๓ ๑๒๒ คะแนนเฉลี่ย ๗.๑๙ ๙.๔๙ ๒.๓๐ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๑.๘๙ ๙๔.๙๑ ๒๓.๐๒
  • 10. จากตารางที่ ๕ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียน มัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๑.๘๙ ส่วนคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อย ละ ๙๔.๙๑ ซึ่งมีผลการพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๓.๐๒ สรุปผลการพัฒนาจากการทดลองก่อนเรียนและหลังเรียน ตารางที่ ๖ แสดงคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการ สร้างสรรค์งานศิลปะ จานวน 5 เล่ม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี ปีการศึกษา 2558 เรื่อง คะแนนรวมเฉลี่ยร้อยละ ก่อนเรียน หลังเรียน ผลการพัฒนา 1 การวาดเส้นแรเงา ๖๗.๔๐ ๙๑.๙๐ ๒๔.๕๓ 2 การระบายสีน้า ๖๔.๕๓ ๙.๔๕ ๒๗.๙๒ 3 การพิมพ์ภาพ ๗๓.๔๐ ๙๕.๘๕ ๒๒.๔๕ 4 ภาพปะติด ๗๔.๙๑ ๙๖.๔๒ ๒๑.๕๑ 5 การออกแบบพาณิชย์ศิลป์ ๗๑.๘๙ ๙๔.๙๑ ๒๓.๐๒ เฉลี่ยร้อยละ ๗๐.๔๒ ๙๔.๓๐ ๒๓.๘๘ จากตารางที่ ๖ พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๑,๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างสรรค์งานศิลปะจานวน ๕ เล่ม มีคะแนนการทดสอบก่อนเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๗๐.๔๒ ส่วนคะแนนการทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ
  • 11. ๙๔.๓๐ มีคะแนนการพัฒนาเฉลี่ยร้อยละ ๒๓.๘๘ จึงสรุปได้ว่าการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการ สร้างสรรค์งานศิลปะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์สูงขึ้น การหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างสรรค์งานศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ดังแสดงในตาราง ตารางแสดงการหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างงานศิลปะเล่มที่ ๑ เรื่องการวาดเส้น จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทาแบบฝึกระหว่างเรียน คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E ) ทาแบบฝึกหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E ) คะแนนรวม ๓๗๑๘ ๔๘๗ คะแนนเฉลี่ย ๗๐.๑๕ ๙.๑๙ เฉลี่ยร้อยละ ๘๗.๖๙ ๙๑.๙๐ จากตารางพบว่ากิจกรรมระหว่างเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๑ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๙๑.๙๐ ดังแบบ ฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E / 2E ) เท่ากับ ๘๗.๖๙ / ๙๑.๙๐ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด จากตารางแสดงการหาค่าประสิทธิของแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างสรรค์งานศิลปะ เล่มที่ ๒ เรื่อง การระบาย สีน้า จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทาแบบฝึกระหว่างเรียน คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E ) ทาแบบฝึกหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E )
  • 12. คะแนนรวม ๓๕๘๓ ๔๙๐ คะแนนเฉลี่ย ๖๗.๖๐ ๙.๒๕ เฉลี่ยร้อยละ ๘๔.๕๐ ๙๒.๔๕ จากตาราง พบว่านักเรียนทากิจกรรมระหว่างเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๒ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘๔.๕๐ ได้คะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๙๒.๕๐ ดังนั้นแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E / 2E ) เท่ากับ ๙๔.๕๐ / ๙๒.๕๐ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด จากตารางแสดงการหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะเล่มที่ ๓ เรื่องการ พิมพ์ภาพ จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทาแบบฝึกระหว่างเรียน คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E ) ทาแบบฝึกหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E ) คะแนนรวม ๓๖๒๓ ๕๐๘ คะแนนเฉลี่ย ๖๘.๓๖ ๙.๕๘ เฉลี่ยร้อยละ ๘๕.๔๕ ๙๕.๘๕ จากตาราง พบว่า นักเรียนทากิจกรรมระหว่างเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๓ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘๕.๔๕ ได้คะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๙๕.๘๕ ดังนั้นแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E / 2E ) เท่ากับ ๘๕.๔๕ / ๙๕.๘๕ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด ตารางแสดงการหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างสรรค์งานศิลปะเล่มที่ ๔ เรื่องภาพปะติด
  • 13. จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทาแบบฝึกระหว่างเรียน คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E ) ทาแบบฝึกหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E ) คะแนนรวม ๓๗๙๙ ๕๑๑ คะแนนเฉลี่ย ๗๑.๖๘ ๙.๖๔ เฉลี่ยร้อยละ ๘๙.๖๐ ๙๖.๔๒ จากตาราง พบว่านักเรียนทากิจกรรมแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๔ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘๙.๖๐ ได้คะแนน ทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๙๖.๔๒ ดังนั้นแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E / 2E ) เท่ากับ ๘๙.๖๐ / ๙๖.๔๒ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด ตารางการแสดงหาค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ เล่มที่ ๕ เรื่องการ ออกแบบพาณิชย์ศิลป์ จานวนนักเรียน ๔๗ คน ทาแบบฝึกระหว่างเรียน คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน( 1E ) ทาแบบฝึกหลังเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน( 2E ) คะแนนรวม ๓๘๒๓ ๕๐๓ คะแนนเฉลี่ย ๗๓.๑๓ ๙.๔๙ เฉลี่ยร้อยละ ๙๐.๑๗ ๙๔.๙๑ จากตารางพบว่า นักเรียนทากิจกรรมระหว่างเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มที่ ๕ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๙๐.๑๗ ได้คะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ ๙๔.๙๑ ดังนั้นแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้มีประสิทธิภาพ ( 1E / 2E ) เท่ากับ ๙๐.๑๗ /๙๔.๙๑ ซึ่งสูงสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด ตารางสรุปของประสิทธิภาพแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๕ เล่ม
  • 14. เล่มที่ / เรื่อง ประสิทธิภาพของแบบฝึก ( 1E / 2E ) ๑.การวาดเส้นแรเงา ๘๗.๖๙ / ๙๑.๙๐ ๒.การระบายสีน้า ๘๔.๕๐ / ๙๒.๔๕ ๓.การพิมพ์ภาพ ๘๕.๔๕ / ๙๘.๘๕ ๔.ภาพปะติด ๘๙.๖๐ /๙๖.๔๒ ๕.การออกแบบพาณิชย์ศิลป์ ๙๐.๑๗ / ๙๔.๙๑ ค่าเฉลี่ย ๘๗.๔๘ / ๙๔.๓๑ จากตารางสรุปได้ว่า ผลสรุปรวมค่าประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้ง ๕ เล่ม มีค่าเฉลี่ย ( 1E / 2E ) เท่ากับ ๘๗.๔๘ / ๙๔.๓๑ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
  • 15. ภาคผนวก ง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาทัศนศิลป์ ศ ๓๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
  • 16. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาทัศนศิลป์ ศ๓๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี เวลา ๓๐ นาที คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกากบาททับตัวอักษรหน้าข้อใน กระดาษคาตอบที่กาหนดให้ ๑.เส้นในข้อใด ที่ให้ความรู้สึก ราบเรียบ สงบนิ่ง ก. ข. ค. ง. ๒.ภาพในข้อใด ใช้เส้นแสดงระยะใกล้ไกลได้มากที่สุด
  • 19. ๖. สีในข้อใดเป็นแม่สี ก. ข. ค. ง. ๗.สีในข้อใดที่ไม่ใช่แม่สี ก. ข. ค. ง. ๘.เมื่อเราแม่สีทั้งหมด12สีมาผสมในสัดส่วนเท่ากัน จะได้สีใด ก. ข. ค. ง.น้าตาล
  • 20. ๙.สีในข้อใดให้ความรู้สึก อ่อนหวาน นุ่มนวล อ่อนโยน ก. ข. ค. ง. ๑๐.อใดเป็นภาพพิมพ์ที่ได้จากแม่พิมพ์ธรรมชาติ ก. ข ค. ง. ๑๑.ข้อใดหมายถึงการพิมพ์ภาพด้วยพื้นผิว ก. การฝนสีไม้บนกระดาษที่ทับบนผิวของวัตถุที่หยาบหรือมีร่องลวดลาย ข. การพิมพ์ภาพโดยใช่เนื้อสีปริมาณมากๆ เพื่อจะได้พื้นผิวที่ขรุขระ
  • 21. ค. การทาสีบนผิวของวัตถุที่มีลวดลายแล้วประทับบนลงกระดาษ ง. การพิมพ์ภาพที่ใช้แม่พิมพ์มากกว่า 2 ชนิดขึ้นไป ๑๒.ภาพพิมพ์นี้หมายถึงการพิมพ์ภาพในข้อใด ก. ภาพพิมพ์ด้วยนิ้วมือ ข. ภาพพิมพ์ภาพด้วยใบไม้ ค. ภาพพิมพ์ภาพด้วยพู่กัน ง. ภาพพิมพ์ภาพแบบสต็ลซิล ๑๓.ภาพพิมพ์ภาพนี้เป็นภาพพิมพ์ด้วยวัสดุใด ก. ภาพพิมพ์นูนธรรมชาติ ข. ภาพพิมพ์พื้นราบ ค. ภาพพิมพ์ปีกแมลง ง. พิมพ์ใบไม้ ๑๔.ใครเป็นผู้ที่นาวิธีการปะติดมาใช้ในวงการศิลปะเป็นคนแรก ก. เฮนรี มัวร์ ข. ลีโอนาโด ดาวินซี ค. ปิกาสโซ่ และ บราก ง. อเล็กซานเดอร์คาลเตอร์ ๑๕.วัสดุในข้อใดไม่เหมาะสมที่จะนามาสร้างสรรค์ในงานภาพปะติด ก. เศษกระดาษ กระดุม ฝาขวด และเศษสิ่งเหลือใช้ต่างๆ ข. ปีกแมลง เกล็ดปลา ขนไก่ เปลือกไข่
  • 22. ค. เศษกิ่งไม้ ใบไม้ ง. เม็ดทุเรียน ๑๖.ภาพในข้อใดเป็นการปะติดด้วยวัสดุที่ได้จากพืช ก. ข. ค. ง.
  • 23. ๑๗.ข้อใดเกี่ยวข้องกับ “งานพาณิชย์ศิลป์” ก. มุ่งประโยชน์อย่างเดียว ข. มุ่งเรื่องการค้าอย่างเดียว ค. มุ่งเรื่องความงามเป็นหลักเพื่อดึงดูดใจ ง. มุ่งประโยชน์เป็นหลัก ความงามเป็นรอง ๑๘.งานออกแบบหน้ากากประดับผนังชิ้นนี้ ให้อารมณ์ใดแก่ผู้ดู ก. ตลก สนุกสนาน ข. สวยงาม สดใส ค. เศร้า หดหู่ ง. สยดสยอง ๑๙.การออกแบบงานชิ้นนี้ ไม่เกี่ยวข้องกับข้อใด ก. ฟุ่มเฟือย ข. เรียบง่าย ค. มีคุณค่าทางจิตใจ ง. เศรษฐกิจพอเพียง