SlideShare a Scribd company logo
วิชาดนตรี 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
เล่มที่ 1 : ขลุ่ยไทย 
ชุดฝึกทักษะ 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : ดนตรีไทย 
เล่มที่ 1 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการ 
โรงเรียนดอนชัยวิทยา 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
นางเมธิกา รัตนรังษี 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการ 
โรงเรียนดอนชัยวิทยา 
ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 
ชุดฝึกทักษะ 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : ดนตรีไทย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
เล่มที่ 1 : ขลุ่ยไทย 
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
สารบัญ 
คานา 
ชุดฝึกทักษะดนตรีไทยเล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ฝึกทักษะทางดนตรีไทยในการเรียนรู้เรื่องของขลุ่ย ไทย ที่ผ่านการบูรณาการนาไปสู่การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความ สนใจ เหมาะสมกับวัย ระดับชั้นและเป็นการเติมเต็มตามศักยภาพในการเล่นดนตรีของผู้เรียนให้สูงที่สุด เพราะการเล่นดนตรีไทยเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่ง เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น นอกจากจะทาให้ ผู้เรียนเกิดความรู้แล้วยังก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ส่งเสริมให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ได้ แนวคิดในการดาเนินชีวิต 
ดนตรีไทยเป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทยที่ได้รับอิทธิพลมาจากต่างประเทศ ส่งเสริมให้ผู้ที่เรียน ดนตรีไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของคนตรีไทยอันเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ จากการสารวจ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนแล้วพบว่า ผู้เรียนมีปัญหาที่สาคัญในการเล่นดนตรีไทยทา ให้ไม่ได้รับประโยชน์จากการเล่นดนตรีไทยเท่าที่ควร เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการเรียนรู้ ผู้จัดทาจึงสนใจที่ จะพัฒนาชุดฝึกทักษะโดยได้ผ่านการวิเคราะห์เนื้อหาที่ส่งเสริมเทคนิคการเล่นดนตรีไทยเพื่อให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ถึงเทคนิคการเล่นดนตรีไทยในแนวต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลายและเหมาะสม 
ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนสนับสนุน ให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการจัดทา อาทิ ผู้อานวยการ โรงเรียนดอนชัยวิทยา คณะครู นักเรียน และผู้ปกครองโรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอ แม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ทุกท่านที่สนับสนุนและให้กาลังใจจนทาให้ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการจัดการเรียนการสอน จนสามารถพัฒนาทักษะการเล่น ดนตรีไทยของผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 
เมธิกา รัตนรังสี 
ก
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
สารบัญ 
หน้า 
คานา.......................................................................................................................... 
ก 
สารบัญ....................................................................................................................... 
ข 
คาชี้แจง ............................................................................................................................. 
1 
คาแนะนาการใช้สาหรับครู................................................................................................. 
2 
คาแนะนาการใช้สาหรับนักเรียน........................................................................................ 
3 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ..................................... 
4 
จุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................................... 
ขั้นตอนการใช้ชุดฝึกทักษะ ................................................................................................ 
5 
6 
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เรื่อง ขลุ่ยไทย .......................................................... 
7 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะของขลุ่ยไทย..................................... 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะของขลุ่ยไทย......................................... 
12 
17 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย.......................................................................... 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย.............................................................................. 
19 
21 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ขลุ่ยหลิบ ........................................................................................... 
23 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขลุ่ยหลิบ ............................................................................................... 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย................................................... 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย........................................................ 
25 
26 
31 
แบบทดสอบหลังเรียน (Post - test) เรื่อง ขลุ่ยไทย ......................................................... 
เฉลยใบงานที่ 1 – 5 เรื่อง ขลุ่ยไทย .................................................................................. 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)............................................................................. 
34 
38 
48 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test)............................................................................ 
49 
บรรณานุกรม ............................................................................................................. 
50 
ข
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง 
ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะทางดนตรีไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยในการเตรียมความพร้อมมีรายละเอียด ดังนี้ 
1. ชุดฝึกทักษะดนตรีไทย มีจานวนทั้งหมด 5 เล่ม แต่ละเล่มประกอบด้วย 4 ใบความรู้ และ 4 ใบงาน รวม 20 ใบงานให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ดังนี้ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
เล่มที่ 2 การบันทึกและการอ่านโน้ตระบบตัวอักษรไทย 
เล่มที่ 3 การปฏิบัติขลุ่ยหลิบเสียงฟา ซอล ลา ที (ซ ล ท ) และโด เร มี ฟา (สูง) 
เล่มที่ 4 การปฏิบัติขลุ่ยหลิบเพลงเต้ยโขง เพลงแม่สะเรียงและเพลงฤาษีหลงถ้า 
เล่มที่ 5 การปฏิบัติขลุ่ยหลิบเพลงล่องแม่ปิง เพลงลอยกระทง และเพลงลาวจ้อย 2 ชั้น 
2. ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะทางดนตรีไทยเล่ม 1 เรื่อง ขลุ่ยไทย ที่ประกอบด้วย ใบความรู้และใบงานให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ จานวน 4 ใบงาน 
3. ชุดฝึกเสริมทักษะดนตรีไทย มีส่วนประกอบ ดังนี้ 
3.1 ชื่อชุดฝึกทักษะ 
3.2 สาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัดการเรียนรู้ 
3.3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 
3.4 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
3.5 ใบความรู้และใบงานที่ 1 – 4 
3.6 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
3.7 เฉลยใบงานที่ 1 – 4 
3.8 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
3.9 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
1
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาแนะนาการใช้ชุดฝึกทักษะ 
สาหรับครู 
1. ชุดฝึกทักษะทางดนตรีไทยเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้านการเล่นดนตรีไทย มีจานวนทั้งหมด 4 ใบงาน 
2. ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 เรื่อง ขลุ่ยไทย สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 
3. ส่วนประกอบของชุดฝึกเล่มนี้ประกอบด้วย 
3.1 ชื่อชุดฝึกทักษะ 
3.2 สาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัดการเรียนรู้ 
3.3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 
3.4 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
3.5 ใบความรู้และใบงานที่ 1 – 4 
3.6 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
3.7 เฉลยใบงานที่ 1 – 4 
3.8 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
3.9 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
4. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้ชุดฝึกทักษะให้เข้าใจก่อนการใช้ทุกเล่ม 
5. เตรียมอุปกรณ์การฝึกปฏิบัติล่วงหน้าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกครั้ง เช่น ชุดฝึกทักษะ เครื่องดนตรีต่าง ๆ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post- test) แบบสังเกตพฤติกรรม ให้พร้อมเพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้ 
6. อธิบายให้นักเรียนทราบถึงความสาคัญของการฝึกแต่ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนเห็น ประโยชน์ที่จะได้รับจากการฝึก 
2
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาแนะนาการใช้ชุดฝึกทักษะ 
สาหรับนักเรียน 
1. ชุดฝึกทักษะทางดนตรีไทยเล่มนี้เป็นชุดฝึกที่ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการเล่นดนตรีไทย มีจานวนทั้งหมด 4 ใบงาน 
2. ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 เรื่อง ดนตรีไทย สาหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
3. ขั้นตอนการใช้ชุดฝึกทักษะ 
3.1 ให้นักเรียนเตรียมขลุ่ยหลิบคนละ 1 เลา 
3.2 ศึกษาทาความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้และคาชี้แจงของชุดฝึกทักษะให้เข้าใจ ก่อน 
3.3 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ด้วยความละเอียดรอบคอบ 
3.4 ศึกษาใบความรู้อย่างละเอียดให้เข้าใจ 
3.5 ทาใบงานแต่ละใบงานด้วยความมุมานะ อดทนและตั้งใจ 
3.6 ทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ด้วยความละเอียดรอบคอบ 
3.7 ร่วมตรวจคาตอบของใบงานทั้ง 4 ใบงานได้ในเฉลยท้ายเล่ม 
3.8 ร่วมตรวจคาตอบของแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน 
(Post-test) ในเฉลยท้ายเล่มเมื่อเรียนในแต่ละเรื่องเพื่อวัดความรู้ที่พัฒนาขึ้นในเรื่องนั้น ๆ 
3.9 เมื่อเกิดปัญหาในขณะปฏิบัติกิจกรรมให้ปรึกษาครูผู้สอน 
3
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด 
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
สาระที่ 2 ดนตรี 
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ 
คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และ 
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 
ตัวชี้วัดชั้นปี 
ศ 2.1 ป.5/3 อ่าน เขียนโน้ตดนตรีไทยและสากล 5 ระดับเสียง 
ศ 2.1 ป.5/4 ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงจังหวะ และทานอง 
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
1. ความสามารถในการคิด 
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 
4
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
ด้านความรู้ (K-Knowledge) 
1. นักเรียนสามารถอธิบายประเภทของขลุ่ยไทยได้ 
2. นักเรียนสามารถบรรยายลักษณะทั่วไปของขลุ่ยไทยได้ 
3. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีนั่งเป่าขลุ่ยหลิบได้ 
4. นักเรียนสามารถบอกวิธีการจับขลุ่ยหลิบได้ 
5. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการเก็บรักษาขลุ่ยหลิบได้ 
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P-Process) 
1. นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบของขลุ่ยหลิบได้ 
2. นักเรียนสามารถแสดงวิธีการนั่งเป่าขลุ่ย และวิธีการจับขลุ่ยหลิบได้ถูกต้อง 
3. นักเรียนสามารถเก็บรักษาขลุ่ยหลิบได้ 
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A-Attitude) 
ข้อที่ 4 : ใฝ่เรียนรู้ 
ตัวชี้วัด : 
4.1 ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 
4.2 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สื่อเทคโนโลยีต่างๆ ทั้งภายในและ ภายนอก 
ข้อที่ 6 : มุ่งมั่นในการทางาน ตัวชี้วัด : 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเท อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหา เพื่อให้งานสาเร็จ ตามเป้าหมาย ข้อที่ 7 : รักความเป็นไทย ตัวชี้วัด : 7.1 ภาคภูมิใจในความเป็นไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม (มีมารยาท งดงามอย่างไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูต่อผู้มีพระคุณ และร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ 
ความเป็นไทย) 
5
๖ 
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ขั้นตอนการใช้ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 
กิจกรรมการเรียนรู้ 
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
2. ศึกษาค้นคว้าใบความรู้ในชุดฝึก 
3. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนในชุดฝึก 
4. ทากิจกรรมในใบงานที่กาหนดให้ในชุดฝึก 
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
การวัดผลและประเมินผล 
• แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
• ประเมินผลจากใบงาน 
• แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
เวลาในการจัดการเรียนรู้ 
ในการจัดการเรียนรู้ ใช้เวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมตามชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย จานวน 4 ชั่วโมง 
6
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
เรื่อง ขลุ่ยไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
7
ม่ อยู่ด้านหลัง 
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
เรื่อง ขลุ่ยไทย 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมายกากบาท 
() ทับหน้าตัวเลือกที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 
1. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของไทยชนิดหนึ่งที่มีหลักฐานปรากฏอยู่ในสมัยใด 
ก. กฏมณเฑียรบาลสมัยอยุธยา 
ข. กฎมณเฑียรบาลสมัยสุโขทัย 
ค. กฎมณเฑียรบาลสมัยธนบุรี 
ง. กฎมณเฑียรบาลสมัยรัตนโกสินทร์ 
2. ขลุ่ยได้วิวัฒนาการมาจากข้อใด 
ก. ปี่อ้อ 
ข. ปี่ชวา 
ค. ปี่ไทย 
ง. ปี่พาทย์ 
3. ขลุ่ยหลิบจัดเป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทใด 
ก. เครื่องตี 
ข. เครื่องสี 
ค. เครื่องดีด 
ง. เครื่องเป่า 
4. ส่วนประกอบในข้อใดของขลุ่ยหลิบที่ทาให้เกิดเสียง 
ก. รูลม 
ข. รูนิ้วค้า 
ค. รูร้อยเชือก 
ง. รูเสียงหรือรูบังคับเสียง 
เราต้องทาด้วย 
ความรอบคอบนะครับ 
8
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
5. ขลุ่ยไทยข้อใดที่ทาให้ผู้ฟังเกิดจินตนาการตามบทเพลง 
ก. ขลุ่ยอู้ 
ข. ขลุ่ยนก 
ค. ขลุ่ยหลิบ 
ง. ขลุ่ยเพียงออ 
6. ข้อใด ไม่ใช่ วัสดุที่นิยมนามาทาขลุ่ยหลิบ 
ก. งาช้าง 
ข. ไม้รวก 
ค. ไม้ชิงชัน 
ง. ไม้ไผ่ตรง 
7. การประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ บนผิวขลุ่ยนิยมประดิษฐ์ลวดลายในข้อใด 
ก. ลายหิน 
ข. ลายดอกพิกุล 
ค. ลายลูกระนาด 
ง. ถูกทุกข้อ 
8. ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่น มีชื่อเรียกตามข้อใด 
ก. มุราลี 
ข. โถ่งเซีย 
ค. ฮวยเต็ก 
ง. ซากุฮาชิ 
ข้อสอบง่ายมากเลย 
9
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
9. ข้อใดเป็นท่านั่งเป่าขลุ่ยหลิบที่ ไม่ ถูกต้อง 
ก. หญิงนั่งพับเพียบ 
ข. ชายนั่งพับเพียบ 
ค. หญิงนั่งขัดสมาธิ 
ง. ชายนั่งขัดสมาธิ 
10. รูนิ้วค้า ใช้นิ้วใดกดไว้ 
ก. หัวแม่มือ ข้างซ้าย 
ข. หัวแม่มือ ข้างขวา 
ค. นิ้วชี้ ข้างซ้าย 
ง. นิ้วชี้ข้างขวา 
10 
เราต้องตรวจทาน 
ก่อนส่งนะครับ
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ชุดฝึกทักษะ 
เรื่อง ขลุ่ยไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
11
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของไทยชนิดหนึ่งที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณและมี หลักฐานปรากฏในกฎมณเฑียรบาลสมัยอยุธยาเป็นราชธานี ขลุ่ยเป็นเครื่องเป่าที่มีลิ้นอยู่ภายใน เครื่องดนตรี 
ขลุ่ยมี 3 ประเภท คือ 
12 
ใบความรู้ที่ 1 
เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะ 
ของขลุ่ยไทย 
1) ขลุ่ยอู้ 
2) ขลุ่ยหลิบ 
3) ขลุ่ยเพียงออ
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
วงดนตรีที่มีขลุ่ยบรรเลงร่วมอยู่ 
- วงปี่พาทย์ไม้นวม 
- วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 
- วงเครื่องสายไทย 
13
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
- วงเครื่องสายผสม 
- วงมโหรี 
- วงขลุ่ย รวม 3 เลา ( ได้แก่ ขลุ่ยอู้ ขลุ่ยเพียงออและขลุ่ยหลิบ ) 
14
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ลักษณะทั่วไปของขลุ่ย 
นอกจากขลุ่ยไทยแล้วยังมีชาติอื่นก็มีเครื่องเป่าซึ่งมีลักษณะคล้ายกับขลุ่ยของคนไทย เหมือนกัน เช่น ขลุ่ยของญี่ปุ่นเรียกว่า ซากุฮาชิ ซึ่งใช้เป่าเหมือนกับขลุ่ยไทย ขลุ่ยของอินเดีย เรียกว่า มุราลี ส่วนของจีนก็มีขลุ่ยเช่นเดียวกันแต่ใช้เป่าด้านข้างเรียกว่า ฮวยเต็ก ถ้าเป็นแบบที่ ใช้เป่าตรงแบบขลุ่ยไทยจะเรียกว่า โถ่งเซีย แต่จะต่างกันตรงที่ขลุ่ยของจีนไม่มีดาก การเป่าต้อง ใช้การผิวลมจึงจะเกิดเสียง 
15 
ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่นเรียกว่า “ซากุฮาชิ” 
ขลุ่ยของประเทศอินเดียเรียกว่า “มุราลี” 
ขลุ่ยของประเทศจีน 
ใช้เป่าด้านข้าง เรียกว่า “ฮวยเต็ก” 
ใช้เป่าตรง เรียกว่า “โถ่งเซีย”
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
วัสดุที่ใช้ในการทาขลุ่ย 
วัสดุที่ใช้ในการทาขลุ่ยส่วนมากจะทามาจากไม้รวก ไม้ชิงชัน ไม้พะยูง งาช้าง ไม้ไผ่ และท่อพลาสติก ถ้าทาจากไม้ต้องเป็นไม้ที่แก่จัด 
16 
ไม้รวก ไม้ชิงชัน 
ไม้พยุง งาช้าง 
ไม้พยุง ท่อพลาสติก
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 
17 
ใบงานที่ 1 
เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะ 
ของขลุ่ยไทย 
1. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีของไทยที่มีหลักฐานปรากฏในสมัยใด 
ตอบ .................................................................................................. 
2. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทใด 
ตอบ .................................................................................................. 
3. ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่นเรียกว่าอะไร 
ตอบ .................................................................................................. 
4. ขลุ่ยทามาจากวัสดุใดที่ให้เสียงนุ่มนวลไพเราะ 
ตอบ .................................................................................................. 
5. ขลุ่ยของประเทศจีนที่เป่าด้านข้าง เรียกว่าอะไร 
ตอบ ..................................................................................................
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
10. ขลุ่ยที่ไม่จาเป็นต้องทาลวดลายลงบนตัวขลุ่ยต้องมีลักษณะอย่างไร 
ตอบ .................................................................................................. 
9. ขลุ่ยทาหน้าที่อย่างไรในการประสมกับวงดนตรีประเภทต่างๆ 
ตอบ .................................................................................................. 
8. ไม้รวกที่ดีเหมาะกับนามาทาขลุ่ยต้องมีลักษณะอย่างไร 
ตอบ .................................................................................................. 
7. ลวดลายที่นิยมทาลงบนตัวขลุ่ยได้แก่ลวดลายใดบ้าง 
ตอบ .................................................................................................. 
6. ขลุ่ยนาไปประสมในวงดนตรีไทยประเภทใดบ้าง 
ตอบ .................................................................................................. 
18
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ขลุ่ยไทย มีหลายประเภท ดังนี้ 
1. ขลุ่ยหลิบ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมดยาวประมาณ 25 เซนติเมตร มีเสียงสูง ใช้ในการบรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องใหญ่ และวงเครื่องสายเครื่องคู่ โดยเป็นเครื่องนาในวงเช่นเดียวกับระนาด หรือซอด้วง นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวงเครื่องสายปี่ ชวา โดยบรรเลงเป็นพวกหลังเช่นเดียวกับซออู้ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุด เมื่อปิดนิ้วหมดทุกนิ้ว เป่าแล้วจะได้เสียง “ฟา” สูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 4 เสียง 
2. ขลุ่ยอู้ เป็นขลุ่ยขนาดใหญ่ยาวประมาณ 60 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 4 เซนติเมตร มีเสียงทุ้มต่าที่สุด ระดับเสียงต่ากว่าขลุ่ยหลิบ 2 เสียง คือ เสียงซอล ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ดึก ดาบรรพ์ 
3. ขลุ่ยเพียงออ เป็นขลุ่ยขนาดกลาง ยาวประมาณ 45 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร มีระดับเสียงต่าสุดคือ เสียงโด ใช้เป็นหลักเทียบเสียงในวงเครื่องสายเป็นขลุ่ยที่ นิยมนามาฝึกและเล่นกันทั่วไป 
19 
ใบความรู้ที่ 2 
เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
4. ขลุ่ยพิเศษ 
4.1 ขลุ่ยรองออ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดใหญ่กว่าขลุ่ยเพียงออและมีระดับเสียงต่ากว่า หนึ่งเสียง อาจจะใช้ในวงมโหรีแทนขลุ่ยเพียงออในกรณีที่ต้องการเสียงต่า 
4.2 ขลุ่ยนก เป็นขลุ่ยประเภทหนึ่งที่ทาขึ้นเพื่อเลียนเสียงสัตว์ต่างๆ โดยเฉพาะนก ไม่สามารถบรรเลงเดินทานองได้แต่ใช้บรรเลงในวงดนตรีเพื่อให้เกิดจินตนาการในการฟังเพลงที่มี เนื้อหาเกี่ยวกับสัตว์ ได้แก่ นกต่างๆ ไก่ เช่น เพลงตับนก เพลงตับภุมริน สากลจึงสามารถนามา บรรเลงร่วมกับวงดนตรีสากลได้ 
4.3 ขลุ่ยกรวด มีขนาดเล็กกว่าขลุ่ยเพียงออแต่ใหญ่กว่าขลุ่ยหลิบ ยาวประมาณ 40 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.2 เซนติเมตร ระดับเสียงสูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 1 เสียง และเสียงต่าสุดของขลุ่ยกรวดคือ เสียงเร ขลุ่ยกรวดมีระดับเสียงเทียบกับดนตรี 
20
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย  
หน้าข้อความที่ผิด (10 คะแนน) 
ใบงานที่ 2 
เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย 
1. ขลุ่ยหลิบเป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมด 
2. ขลุ่ยอู้ใช้บรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องใหญ่ วงเครื่องสายเครื่องคู่ 
3. ขลุ่ยอู้มีเสียงทุ้มต่าที่สุด 
4. ขลุ่ยเพียงออใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 
5. ขลุ่ยเพียงออใช้เป็นหลักเทียบเสียง 
ในวงเครื่องสาย 
21
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
6. ขลุ่ยเพียงออมีระดับเสียงต่าสุดคือ เสียงโด 
7. ขลุ่ยพิเศษ ได้แก่ ขลุ่ยรองออ ขลุ่ยนก ขลุ่ยหลิบ และขลุ่ยกรวด 
8. ขลุ่ยนกจะใช้ในวงมโหรีแทนขลุ่ยเพียงออในกรณีที่ต้องการเสียงต่า 
9. ขลุ่ยนก เป็นขลุ่ยประเภทหนึ่งที่ทาขึ้นเพื่อเลียนเสียงสัตว์ต่าง ๆ 
10. เสียงต่าสุดของขลุ่ยกรวดคือ เสียงเร 
22
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ขลุ่ยหลิบ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมด มีความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร มีเสียงสูง ใช้ในการบรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องใหญ่ และวงเครื่องสายเครื่องคู่ โดยเป็นเครื่องนาในวงเช่นเดียวกับระนาด หรือซอด้วง นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวงเครื่องสายปี่ ชวา โดยบรรเลงเป็นพวกหลังเช่นเดียวกับซออู้ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุด ความยาวประมาณ 12 นิ้ว เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องนา (เช่นเดียวกับระนาดเอก และ ซอด้วง) ในวงมโหรีและวง เครื่องสายเครื่องคู่ และใช้เป็นเครื่อง ตามในวงเครื่องสายปี่ชวาเมื่อปิดนิ้วหมดทุกนิ้ว เป่าแล้วจะ ได้เสียง “ฟา” สูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 4 เสียง 
ส่วนประกอบของขลุ่ยหลิบ มีดังนี้ 
1. ดาก คือ ไม้อุดปากขลุ่ยหลิบ นิยมใช้ไม้สักทองท่อนยาวประมาณ 4 เซนติเมตร เหลาให้เป็นท่อนกลม ฝานให้เป็นช่องลาดเอียงเป็นช่องสาหรับเป่าลมเข้าไป 
2. รูเป่า เป็นช่องที่อยู่บริเวณดากกับลาตัวขลุ่ยหลิบสาหรับเป่าลมเข้า 
3. รูปากนกแก้ว เป็นช่องรองรับลมที่เป่าผ่านรูเป่ามีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า อยู่ต่อจากดากขลุ่ยลงมาด้านเดียวกันกับรูเป่าเป็นรูที่ทาให้เกิดเสียงถ้าใช้มือปิดรูนี้แล้วเป่าจะไม่ เกิดเสียงดัง 
4. รูนิ้วค้า เป็นรูสาหรับนิ้วหัวแม่มือปิด - เปิดให้เกิดระดับเสียงและประคองเลา ขลุ่ยขณะเป่า 
5. รูเสียงหรือรูบังคับเสียง อยู่ด้านหน้าของเลาขลุ่ย มี 7 รู สาหรับใช้นิ้วปิด - เปิด ทาให้เกิดระดับเสียงต่างๆ 
6. รูร้อยเชือก เป็นรูที่อยู่ส่วนล่างของขลุ่ย ใช้สาหรับร้อยเชือกเพื่อเก็บแขวนหรือถือ อย่างสะดวก 
ใบความรู้ที่ 3 
เรื่อง ขลุ่ยหลิบ 
23
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
รูปภาพแสดงส่วนประกอบของขลุ่ย 
การดูแลรักษาขลุ่ยหลิบ 
ขลุ่ยหลิบเป็นเครื่องดนตรีที่ต้องใช้ปากเป่าโดยตรง ฉะนั้นการรักษาความสะอาดจึงเป็น เรื่องที่สาคัญ โดยมีวิธีการบารุงรักษา ดังนี้ 
1.ก่อนหรือหลังเป่าขลุ่ยควรทาความสะอาดโดยการขัดเช็ดทุกครั้ง แต่ห้ามนาไปล้างใน อ่างน้า หรือตากแสงแดดโดยตรง เพราะจะทาให้เกิดการยืดหรือหดตัวได้ อันเป็นสาเหตุทาให้ เสียงขลุ่ยเปลี่ยนไป ควรใช้แอลกอฮอล์เช็ดเพื่อฆ่าเชื้อบริเวณที่เป่าด้วย 
2. อย่าใช้ขลุ่ยร่วมกับผู้อื่น เพราะอาจเป็นแหล่งแพร่เชื้อได้ 
3. อย่าให้ตกหล่น เพราะขลุ่ยทาด้วยไม้หรือพลาสติกอาจแตกหักได้ 
4. ถ้าไม่มีความรู้จริง ๆ อย่าไปตกแต่งรูขลุ่ยเพราะจะทาให้เสียงเพี้ยนได้ 
5. หลังการใช้ควรเก็บใส่ถุงให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันแมลงหรือสัตว์เล็กๆเข้าไปอาศัย 
(ที่มา : ประทีบ – ศศิธร นักปี. หนังสือเรียนรายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. 
กรุงเทพ : สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, 2550.) 
รูปากนกแก้ว รูนิ้วค้า รูร้อยเชือก 
ดาก นิยมใช้ไม้สักทอง ท่อนยาวประมาณ 4 ซม. เหลาเป็นท่อนกลม ผ่านให้เป็นช่องลาดเอียงเป็นช่อง สาหรับเป่าลมเข้าไป 
รูเป่า เป็นช่องที่อยู่บริเวณดาก กับลาตัวขลุ่ยหลิบ สาหรับเป่า ลมเข้า 
24
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ข้อความด้านซ้ายมือให้สัมพันธ์กับข้อความด้านขวามือ 
ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 
ใบงานที่ 3 
เรื่อง ขลุ่ยหลิบ 
1. ขลุ่ยหลิบ 
อยู่ด้านหน้าของเลาขลุ่ย มี 7 รู 
2. ดาก 
3. รูเป่า 
4. รูปากนกแก้ว 
5. รูนิ้วค้า 
6. รูเสียง 
7. รูบังคับเสียง 
8. รูร้อยเชือก 
9. รูสาหรับนิ้วหัวแม่มือ 
10. อย่าใช้ขลุ่ยร่วมกับผู้อื่น 
ช่องที่อยู่บริเวณดากกับลาตัวขลุ่ยหลิบ 
ประคองเลาขลุ่ยขณะเป่า 
มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า 
ไม้อุดปากขลุ่ยหลิบ 
ขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทย 
ใช้สาหรับร้อยเชือกเพื่อเก็บแขวน 
ปิด - เปิด ให้เกิดระดับเสียง 
สาหรับใช้นิ้วปิด - เปิด ทาให้เกิดระดับ เสียงต่างๆ 
อาจเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ 
25
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
การเป่าขลุ่ยควรมีท่าทางในการเป่าขลุ่ยและท่าทางการจับขลุ่ยและการวางตาแหน่งนิ้วดัง รายละเอียด ดงนี้ 
1. การนั่งเป่าขลุ่ยควรแสดงท่าทางให้มีความงดงามในการนั่งให้เป็นไปตามวัฒนธรรมไทย และมีการวางตาแหน่งนิ้วให้ถูกต้องและสวยงาม ซึ่งท่าทางในการเป่าขลุ่ยมี 2 ลักษณะ ได้แก่ 
ลักษณะที่ 1 ท่านั่ง ตามแบบแผนของวงดนตรีไทย นิยมนั่งบรรเลงบนพื้นราบ ท่านั่งแบ่ง ได้ดังนี้ 
1.1 ท่านั่งพับเพียบ 
1.1.1 นั่งพับเพียบชาย ( นั่งสามเหลี่ยม ) นั่งลาตัวตรง เพื่อต้องการให้กาลังลมเดิน สะดวกไม่ติดขัด ไม่ก้มหน้า ขาซ้ายทับขาขวาหรือขาขวาทับขาซ้ายก็ได้ และควรเก็บปลายเท้า เพื่อให้ดูเรียบร้อยและสวยงาม 
เด็กชายอนุชา อ๊อดต่อกัน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 
โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 
ใบความรู้ที่ 4 
เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย 
26
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
1.1.2 นั่งพับเพียบหญิง นั่งลาตัวตรง เพื่อต้องการให้กาลังลมเดินสะดวกไม่ติดขัด ไม่ ก้มหน้า ขาซ้ายทับขาขวาหรือขาขวาทับขาซ้ายก็ได้ และควรเก็บปลายเท้าเพื่อให้ดูเรียบร้อยและ สวยงาม 
เด็กหญิงนันนภัส ปัญโย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 
โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 
1.2 ท่านั่งขัดสมาธิใช้เฉพาะผู้ชาย คู้เข่าทั้งสองข้างหาตัว แนบขาลงกับพื้น โดยให้ขาข้าง หนึ่งซ้อนทับอยู่บนอีกข้างหนึ่ง สันเท้าทั้งสองข้างจะสัมผัสกับขา 
เด็กชายอนุชา อ๊อดต่อกัน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 
โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 
27
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ลักษณะที่ 2 ท่ายืน ใช้สาหรับดนตรีร่วมสมัย ยืนลาตัวตรง ขาชิดปลายเท้าห่างกัน เล็กน้อย 
เด็กชายอนุชา อ๊อดต่อกันและเด็กหญิงนันนภัส ปัญโย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 
โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 
28
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ท่าทางการจับขลุ่ยและการวางตาแหน่งนิ้ว 
วิธีการจับขลุ่ย การจับขลุ่ยหลิบของไทยไม่มีข้อกาหนดทางกายภาพของเครื่องดนตรีที่ บังคับให้ใช้มือซ้ายหรือมือขวาจับด้านบนหรือด้านล่าง ในสมัยก่อนนั้นคนไทยส่วนใหญ่ถนัดใช้มือ ขวา จึงใช้มือขวาจับขลุ่ยด้านบน ปัจจุบัน มีการปฏิบัติสัมพันธ์กับดนตรีตะวันตกมากขึ้น จึงมีการ จับขลุ่ยด้านบนด้วยมือซ้าย เพื่อให้สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีตะวันตกได้ด้วย 
ในปัจจุบัน การจับขลุ่ยนิยมจับตามวิธีจับขลุ่ยของดนตรีสากลคือ ใช้มือซ้ายจับส่วนบน ของตัวขลุ่ย ส่วนมือขวา จับส่วนล่างของตัวขลุ่ย 
ท่าทางการจับขลุ่ย 
เด็กหญิงนันนภัส ปัญโย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 
โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 
การจับขลุ่ยทั้งการใช้มือซ้ายหรือมือขวาจับด้านบนหรือด้านล่างนั้น สามารถจับได้ทั้งสอง แบบหรือจับตามความถนัด โดยให้นิ้วหัวแม่มือของมือที่จับส่วนบนปิดรูนิ้วค้า นิ้วชี้ นิ้วกลาง และ นิ้วนาง ปิดรูเสียงไล่จากส่วนบนลงมา (มือบนไม่ใช้นิ้วก้อยปิดรูเสียง) ส่วนมือที่จับส่วนล่าง ของขลุ่ยนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือประคองลาตัวขลุ่ย นิ้วทั้งสี่นิ้วที่เหลือปิดรูเสียงไล่ต่อจากมือบนลงมา ลาตัวขลุ่ยเอียงทามุมประมาณ 45 องศา ผู้เป่าต้องเงยหน้าขึ้น พอสมควร มือทั้งสองข้างไม่เกร็ง 
29
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
แผนผังแสดงวิธีจับขลุ่ย 
การใช้ริมฝีปาก การใช้ริมฝีปากจรดดากขลุ่ยหรือรูเป่า ให้ผู้เป่าทารูปปากในลักษณะ เหมือนกาลังจะพูดหรือเปล่งเสียงว่า “อู” แล้วจรดริมฝีปากตรงรูเป่า ให้ดากขลุ่ยอยู่บริเวณกลาง ริมฝีปากพอดี อย่าอมขลุ่ยไว้ในปาก ดังภาพต่อไปนี้ 
ท่าทางการจรดริมฝีปากในการเป่าขลุ่ย 
เด็กหญิงนันนภัส ปัญโย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 
โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 
รูนับที่ 
7 
6 
5 
4 
3 
2 
1 
ฟา ซอล ลา ที โด เร มี ฟา (สูง) 
นิ้ว 
ชี้ 
มือบน 
กลาง 
นาง 
ชี้ 
กลาง 
นาง มือล่าง 
ก้อย 
ด้านหน้า ด้านข้าง 
30
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตรูปภาพแสดงท่าทางการนั่งเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย รูปภาพใด 
ที่ถูกต้องให้ทาเครื่องหมาย  และรูปภาพใดที่ผิดให้ทาเครื่องหมาย  ทับหน้า 
ข้อให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 
ใบงานที่ 4 
เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย 
2. 
3. 
4. 
1. 
31
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ท่าทางการจับขลุ่ย 
6. 
7. 
5. 
32
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
8. 
9. 
10. 
33
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
เรื่อง ขลุ่ยไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
34
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
เรื่อง ขลุ่ยไทย 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมายกากบาท 
() ทับหน้าตัวเลือกที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 
1. การประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ บนผิวขลุ่ยนิยมประดิษฐ์ลวดลายในข้อใด 
ก. ลายหิน 
ข. ลายดอกพิกุล 
ค. ลายลูกระนาด 
ง. ถูกทุกข้อ 
2. ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่น มีชื่อเรียกตามข้อใด 
ก. มุราลี 
ข. โถ่งเซีย 
ค. ฮวยเต็ก 
ง. ซากุฮาชิ 
3. ขลุ่ยไทยข้อใดที่ทาให้ผู้ฟังเกิดจินตนาการตามบทเพลง 
ก. ขลุ่ยอู้ 
ข. ขลุ่ยนก 
ค. ขลุ่ยหลิบ 
ง. ขลุ่ยเพียงออ 
เราต้องทาด้วย 
ความรอบคอบนะครับ 
35
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
4. ข้อใด ไม่ใช่ วัสดุที่นิยมนามาทาขลุ่ยหลิบ 
ก. งาช้าง 
ข. ไม้รวก 
ค. ไม้ชิงชัน 
ง. ไม้ไผ่ตรง 
5. รูนิ้วค้า ใช้นิ้วใดกดไว้ 
ก. หัวแม่มือ ข้างซ้าย 
ข. หัวแม่มือ ข้างขวา 
ค. นิ้วชี้ ข้างซ้าย 
ง. นิ้วชี้ข้างขวา 
6. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของไทยชนิดหนึ่งที่มีหลักฐานปรากฏอยู่ในสมัยใด 
ก. กฏมณเฑียรบาลสมัยอยุธยา 
ข. กฎมณเฑียรบาลสมัยสุโขทัย 
ค. กฎมณเฑียรบาลสมัยธนบุรี 
ง. กฎมณเฑียรบาลสมัยรัตนโกสินทร์ 
7. ขลุ่ยได้วิวัฒนาการมาจากข้อใด 
ก. ปี่อ้อ 
ข. ปี่ชวา 
ค. ปี่ไทย 
ง. ปี่พาทย์ 
ข้อสอบง่ายมากเลย 
36
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
8. ข้อใดเป็นท่านั่งเป่าขลุ่ยหลิบที่ ไม่ ถูกต้อง 
ก. หญิงนั่งพับเพียบ 
ข. ชายนั่งพับเพียบ 
ค. หญิงนั่งขัดสมาธิ 
ง. ชายนั่งขัดสมาธิ 
9. ส่วนประกอบในข้อใดของขลุ่ยหลิบที่ทาให้เกิดเสียง 
ก. รูลม 
ข. รูนิ้วค้า 
ค. รูร้อยเชือก 
ง. รูเสียงหรือรูบังคับเสียง 
10. ขลุ่ยหลิบจัดเป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทใด 
ก. เครื่องตี 
ข. เครื่องสี 
ค. เครื่องดีด 
ง. เครื่องเป่า 
เราต้องตรวจทาน 
ก่อนส่งนะครับ 
37
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
เฉลยใบงานที่ 1 - 4 
เรื่อง ขลุ่ยไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
38
วิชาดนตรี 
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 
39 
เฉลยใบงานที่ 1 
เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะ 
ของขลุ่ยไทย 
1. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีของไทยที่มีหลักฐานปรากฏในสมัยใด 
ตอบ มีปรากฏในกฏมณเฑียรบาลสมัยอยุธยาเป็นราชธานี 
2. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทใด 
ตอบ เป่า 
3. ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่นเรียกว่าอะไร 
ตอบ ซากุฮาชิ 
4. ขลุ่ยทามาจากวัสดุใดที่ให้เสียงนุ่มนวลไพเราะ 
ตอบ ไม้รวก 
5. ขลุ่ยของประเทศจีนที่เป่าด้านข้าง เรียกว่าอะไร 
ตอบ ฮวยเต็ก
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
10. ขลุ่ยที่ไม่จาเป็นต้องทาลวดลายลงบนตัวขลุ่ยต้องมีลักษณะอย่างไร 
ตอบ ขลุ่ยที่มีเนื้อไม้งดงามอยู่แล้ว 
9. ขลุ่ยทาหน้าที่อย่างไรในการประสมกับวงดนตรีประเภทต่างๆ 
ตอบ ดาเนินทานองหลัก 
8. ไม้รวกที่ดีเหมาะกับนามาทาขลุ่ยต้องมีลักษณะอย่างไร 
ตอบ เป็นไม้ที่แก่จัด 
7. ลวดลายที่นิยมทาลงบนตัวขลุ่ยได้แก่ลวดลายใดบ้าง 
ตอบ ลายดอกพิกุล ลายหิน ลายลูกระนาด 
6. ขลุ่ยนาไปประสมในวงดนตรีไทยประเภทใดบ้าง 
ตอบ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี 
40
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย  
หน้าข้อความที่ผิด (10 คะแนน) 
เฉลยใบงานที่ 2 
เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย 
1. ขลุ่ยหลิบเป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมด 
 
3. ขลุ่ยอู้มีเสียงทุ้มต่าที่สุด 
 
5. ขลุ่ยเพียงออใช้เป็นหลักเทียบเสียง 
ในวงเครื่องสาย 
 
2. ขลุ่ยอู้ใช้บรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องใหญ่ วงเครื่องสายเครื่องคู่ 
 
4. ขลุ่ยเพียงออใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 
 
41
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
9. ขลุ่ยนก เป็นขลุ่ยประเภทหนึ่งที่ทาขึ้นเพื่อเลียนเสียงสัตว์ต่าง ๆ 
 
10. เสียงต่าสุดของขลุ่ยกรวดคือ เสียงเร 
 
8. ขลุ่ยนกจะใช้ในวงมโหรีแทนขลุ่ยเพียงออในกรณีที่ต้องการเสียงต่า 
 
7. ขลุ่ยพิเศษ ได้แก่ ขลุ่ยรองออ ขลุ่ยนก ขลุ่ยหลิบ และขลุ่ยกรวด 
 
6. ขลุ่ยเพียงออมีระดับเสียงต่าสุดคือ เสียงโด 
 
42
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ข้อความด้านซ้ายมือให้สัมพันธ์กับข้อความด้านขวามือ 
ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 
เฉลยใบงานที่ 3 
เรื่อง ขลุ่ยหลิบ 
1. ขลุ่ยหลิบ 
อยู่ด้านหน้าของเลาขลุ่ย มี 7 รู 
2. ดาก 
3. รูเป่า 
4. รูปากนกแก้ว 
5. รูนิ้วค้า 
6. รูเสียง 
7. รูบังคับเสียง 
8. รูร้อยเชือก 
9. รูสาหรับนิ้วหัวแม่มือ 
10. อย่าใช้ขลุ่ยร่วมกับผู้อื่น 
ช่องที่อยู่บริเวณดากกับลาตัวขลุ่ยหลิบ 
ประคองเลาขลุ่ยขณะเป่า 
มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า 
ไม้อุดปากขลุ่ยหลิบ 
ขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทย 
ใช้สาหรับร้อยเชือกเพื่อเก็บแขวน 
ปิด - เปิด ให้เกิดระดับเสียง 
สาหรับใช้นิ้วปิด - เปิด ทาให้เกิดระดับ เสียงต่างๆ 
อาจเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ 
43
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
คาชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตรูปภาพแสดงท่าทางการนั่งเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย รูปภาพใด 
ที่ถูกต้องให้ทาเครื่องหมาย  และรูปภาพใดที่ผิดให้ทาเครื่องหมาย  ทับหน้า 
ข้อให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 
เฉลยใบงานที่ 4 
เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย 
ท่าทางการนั่งเป่าขลุ่ย 
1. 
 
2. 
 
4. 
 
3. 
 
44
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ท่าทางการจับขลุ่ย 
5. 
 
6. 
 
7. 
 
45
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
8. 
 
9. 
 
10. 
 
46
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
เฉลย 
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)และ 
หลังเรียน (Post-test) 
47
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ข้อ 
ก 
ข 
ค 
ง 
1. 
 
2. 
 
3. 
 
4. 
 
5. 
 
6. 
 
7. 
 
8. 
 
9. 
 
10. 
 
เฉลย 
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 
เรื่อง ขลุ่ยไทย 
48
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
ข้อ 
ก 
ข 
ค 
ง 
1. 
 
2. 
 
3. 
 
4. 
 
5. 
 
6. 
 
7. 
 
8. 
 
9. 
 
10. 
 
เฉลย 
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 
เรื่อง ขลุ่ยไทย 
49
ชุดฝึกทักษะ 
เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย 
นางเมธิกา รัตนรังษี 
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ศิลปะสาระดนตรี. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2545. 
คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาศิลปะ. การจัดสาระ 
การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะตามหลักสูตรการศึกษาเบื้องต้น 
พุทธศักราช 2544 .กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและวัสดุภัณฑ์, 2546. 
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. หลากหลายวิธีการสอนของครูต้นแบบ 2541. วิชาดนตรี. กรุงเทพฯ : วัฒนพานิช, 2544. 
ดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา. ดนตรีนาฏศิลป์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 2543. 
เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2550. 
ธิการนต์ ศรีนารา และพิเชษฐ์ เดชผิว. วัฒนธรรมดนตรีในสังคมไทย.กรุงเทพฯ : แม็ค 2548. 
ทิศนา แขมมณี. รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2551. 
ปริญญา มิตรสุวรรณ, ชาติชาย คงเทียน. ดนตรี. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (จากัด). 2552. 
ประดิษฐ์ อินทนิล. ดนตรีและนาฏศิลป์. กรุงเทพฯ : สุรีริยาสาส์น, 2546. 
เสถียร ดวงจันทร์ทิพย์. หัดเป่าขลุ่ยกันดีกว่า. กรุงเทพฯ : มาลัย. 2549. 
สุดใจ ทศพล และคณะ. ศิลปะ ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.3. กรุงเทพ : อักษรเจริญทัศน์ จากัด. 2551. 
สุรพล สุวรรณ. ดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. 
อรรถสิทธ์ เวชชาชีวะ. สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคคีตะ- ดุริยางค์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. สุพรรณบุรี : สหมิตรพริ้นติ้ง, 2545. 
บรรณานุกรม 
50

More Related Content

What's hot

การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
gueste0411f21
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
kroojaja
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
Terapong Piriyapan
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
Sasiprapha Srisaeng
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
ทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
คำเมย มุ่งเงินทอง
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
amppbbird
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
surang1
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 

What's hot (20)

การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
Unit 4 11
Unit 4 11Unit 4 11
Unit 4 11
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 

Similar to Charter1

Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
Rittikai Kim
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมkrupawit
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-editkruchaily
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
ไม้ไผ่
ไม้ไผ่ไม้ไผ่
ไม้ไผ่June Tomp
 

Similar to Charter1 (20)

Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Social
SocialSocial
Social
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
 
ทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรีทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรี
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทยใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-edit
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
แผนการสอนยูเนียน
แผนการสอนยูเนียนแผนการสอนยูเนียน
แผนการสอนยูเนียน
 
ไม้ไผ่
ไม้ไผ่ไม้ไผ่
ไม้ไผ่
 
Mou
MouMou
Mou
 

More from Rittikai Kim

Binder1
Binder1Binder1
Binder1
Rittikai Kim
 
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 37 39
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 37 39แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 37 39
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 37 39
Rittikai Kim
 
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
Rittikai Kim
 
1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ
Rittikai Kim
 
1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำRittikai Kim
 
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25Rittikai Kim
 
1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำRittikai Kim
 

More from Rittikai Kim (7)

Binder1
Binder1Binder1
Binder1
 
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 37 39
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 37 39แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 37 39
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 37 39
 
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
 
1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ
 
1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ
 
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
 
1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ1 ปก คำนำ
1 ปก คำนำ
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Charter1

  • 1. วิชาดนตรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 : ขลุ่ยไทย ชุดฝึกทักษะ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : ดนตรีไทย เล่มที่ 1 นางเมธิกา รัตนรังษี ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียนดอนชัยวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
  • 2. นางเมธิกา รัตนรังษี นางเมธิกา รัตนรังษี ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ชุดฝึกทักษะ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : ดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 : ขลุ่ยไทย ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย
  • 3. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี สารบัญ คานา ชุดฝึกทักษะดนตรีไทยเล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ฝึกทักษะทางดนตรีไทยในการเรียนรู้เรื่องของขลุ่ย ไทย ที่ผ่านการบูรณาการนาไปสู่การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความ สนใจ เหมาะสมกับวัย ระดับชั้นและเป็นการเติมเต็มตามศักยภาพในการเล่นดนตรีของผู้เรียนให้สูงที่สุด เพราะการเล่นดนตรีไทยเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่ง เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น นอกจากจะทาให้ ผู้เรียนเกิดความรู้แล้วยังก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ส่งเสริมให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ได้ แนวคิดในการดาเนินชีวิต ดนตรีไทยเป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทยที่ได้รับอิทธิพลมาจากต่างประเทศ ส่งเสริมให้ผู้ที่เรียน ดนตรีไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของคนตรีไทยอันเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ จากการสารวจ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนแล้วพบว่า ผู้เรียนมีปัญหาที่สาคัญในการเล่นดนตรีไทยทา ให้ไม่ได้รับประโยชน์จากการเล่นดนตรีไทยเท่าที่ควร เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการเรียนรู้ ผู้จัดทาจึงสนใจที่ จะพัฒนาชุดฝึกทักษะโดยได้ผ่านการวิเคราะห์เนื้อหาที่ส่งเสริมเทคนิคการเล่นดนตรีไทยเพื่อให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ถึงเทคนิคการเล่นดนตรีไทยในแนวต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลายและเหมาะสม ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนสนับสนุน ให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการจัดทา อาทิ ผู้อานวยการ โรงเรียนดอนชัยวิทยา คณะครู นักเรียน และผู้ปกครองโรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอ แม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ทุกท่านที่สนับสนุนและให้กาลังใจจนทาให้ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการจัดการเรียนการสอน จนสามารถพัฒนาทักษะการเล่น ดนตรีไทยของผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป เมธิกา รัตนรังสี ก
  • 4. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี สารบัญ หน้า คานา.......................................................................................................................... ก สารบัญ....................................................................................................................... ข คาชี้แจง ............................................................................................................................. 1 คาแนะนาการใช้สาหรับครู................................................................................................. 2 คาแนะนาการใช้สาหรับนักเรียน........................................................................................ 3 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ..................................... 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................................... ขั้นตอนการใช้ชุดฝึกทักษะ ................................................................................................ 5 6 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เรื่อง ขลุ่ยไทย .......................................................... 7 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะของขลุ่ยไทย..................................... ใบงานที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะของขลุ่ยไทย......................................... 12 17 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย.......................................................................... ใบงานที่ 2 เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย.............................................................................. 19 21 ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ขลุ่ยหลิบ ........................................................................................... 23 ใบงานที่ 3 เรื่อง ขลุ่ยหลิบ ............................................................................................... ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย................................................... ใบงานที่ 4 เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย........................................................ 25 26 31 แบบทดสอบหลังเรียน (Post - test) เรื่อง ขลุ่ยไทย ......................................................... เฉลยใบงานที่ 1 – 5 เรื่อง ขลุ่ยไทย .................................................................................. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)............................................................................. 34 38 48 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test)............................................................................ 49 บรรณานุกรม ............................................................................................................. 50 ข
  • 5. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะทางดนตรีไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยในการเตรียมความพร้อมมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ชุดฝึกทักษะดนตรีไทย มีจานวนทั้งหมด 5 เล่ม แต่ละเล่มประกอบด้วย 4 ใบความรู้ และ 4 ใบงาน รวม 20 ใบงานให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ดังนี้ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย เล่มที่ 2 การบันทึกและการอ่านโน้ตระบบตัวอักษรไทย เล่มที่ 3 การปฏิบัติขลุ่ยหลิบเสียงฟา ซอล ลา ที (ซ ล ท ) และโด เร มี ฟา (สูง) เล่มที่ 4 การปฏิบัติขลุ่ยหลิบเพลงเต้ยโขง เพลงแม่สะเรียงและเพลงฤาษีหลงถ้า เล่มที่ 5 การปฏิบัติขลุ่ยหลิบเพลงล่องแม่ปิง เพลงลอยกระทง และเพลงลาวจ้อย 2 ชั้น 2. ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะทางดนตรีไทยเล่ม 1 เรื่อง ขลุ่ยไทย ที่ประกอบด้วย ใบความรู้และใบงานให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ จานวน 4 ใบงาน 3. ชุดฝึกเสริมทักษะดนตรีไทย มีส่วนประกอบ ดังนี้ 3.1 ชื่อชุดฝึกทักษะ 3.2 สาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัดการเรียนรู้ 3.3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.4 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 3.5 ใบความรู้และใบงานที่ 1 – 4 3.6 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 3.7 เฉลยใบงานที่ 1 – 4 3.8 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 3.9 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 1
  • 6. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาแนะนาการใช้ชุดฝึกทักษะ สาหรับครู 1. ชุดฝึกทักษะทางดนตรีไทยเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้านการเล่นดนตรีไทย มีจานวนทั้งหมด 4 ใบงาน 2. ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 เรื่อง ขลุ่ยไทย สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 3. ส่วนประกอบของชุดฝึกเล่มนี้ประกอบด้วย 3.1 ชื่อชุดฝึกทักษะ 3.2 สาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัดการเรียนรู้ 3.3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.4 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 3.5 ใบความรู้และใบงานที่ 1 – 4 3.6 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 3.7 เฉลยใบงานที่ 1 – 4 3.8 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 3.9 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 4. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้ชุดฝึกทักษะให้เข้าใจก่อนการใช้ทุกเล่ม 5. เตรียมอุปกรณ์การฝึกปฏิบัติล่วงหน้าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกครั้ง เช่น ชุดฝึกทักษะ เครื่องดนตรีต่าง ๆ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post- test) แบบสังเกตพฤติกรรม ให้พร้อมเพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้ 6. อธิบายให้นักเรียนทราบถึงความสาคัญของการฝึกแต่ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนเห็น ประโยชน์ที่จะได้รับจากการฝึก 2
  • 7. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาแนะนาการใช้ชุดฝึกทักษะ สาหรับนักเรียน 1. ชุดฝึกทักษะทางดนตรีไทยเล่มนี้เป็นชุดฝึกที่ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการเล่นดนตรีไทย มีจานวนทั้งหมด 4 ใบงาน 2. ชุดฝึกทักษะเล่มนี้เป็นชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 เรื่อง ดนตรีไทย สาหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3. ขั้นตอนการใช้ชุดฝึกทักษะ 3.1 ให้นักเรียนเตรียมขลุ่ยหลิบคนละ 1 เลา 3.2 ศึกษาทาความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้และคาชี้แจงของชุดฝึกทักษะให้เข้าใจ ก่อน 3.3 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ด้วยความละเอียดรอบคอบ 3.4 ศึกษาใบความรู้อย่างละเอียดให้เข้าใจ 3.5 ทาใบงานแต่ละใบงานด้วยความมุมานะ อดทนและตั้งใจ 3.6 ทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ด้วยความละเอียดรอบคอบ 3.7 ร่วมตรวจคาตอบของใบงานทั้ง 4 ใบงานได้ในเฉลยท้ายเล่ม 3.8 ร่วมตรวจคาตอบของแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post-test) ในเฉลยท้ายเล่มเมื่อเรียนในแต่ละเรื่องเพื่อวัดความรู้ที่พัฒนาขึ้นในเรื่องนั้น ๆ 3.9 เมื่อเกิดปัญหาในขณะปฏิบัติกิจกรรมให้ปรึกษาครูผู้สอน 3
  • 8. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตัวชี้วัดชั้นปี ศ 2.1 ป.5/3 อ่าน เขียนโน้ตดนตรีไทยและสากล 5 ระดับเสียง ศ 2.1 ป.5/4 ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงจังหวะ และทานอง สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4
  • 9. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K-Knowledge) 1. นักเรียนสามารถอธิบายประเภทของขลุ่ยไทยได้ 2. นักเรียนสามารถบรรยายลักษณะทั่วไปของขลุ่ยไทยได้ 3. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีนั่งเป่าขลุ่ยหลิบได้ 4. นักเรียนสามารถบอกวิธีการจับขลุ่ยหลิบได้ 5. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการเก็บรักษาขลุ่ยหลิบได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P-Process) 1. นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบของขลุ่ยหลิบได้ 2. นักเรียนสามารถแสดงวิธีการนั่งเป่าขลุ่ย และวิธีการจับขลุ่ยหลิบได้ถูกต้อง 3. นักเรียนสามารถเก็บรักษาขลุ่ยหลิบได้ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A-Attitude) ข้อที่ 4 : ใฝ่เรียนรู้ ตัวชี้วัด : 4.1 ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 4.2 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สื่อเทคโนโลยีต่างๆ ทั้งภายในและ ภายนอก ข้อที่ 6 : มุ่งมั่นในการทางาน ตัวชี้วัด : 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเท อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหา เพื่อให้งานสาเร็จ ตามเป้าหมาย ข้อที่ 7 : รักความเป็นไทย ตัวชี้วัด : 7.1 ภาคภูมิใจในความเป็นไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม (มีมารยาท งดงามอย่างไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูต่อผู้มีพระคุณ และร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ความเป็นไทย) 5
  • 10. ๖ ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ขั้นตอนการใช้ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 2. ศึกษาค้นคว้าใบความรู้ในชุดฝึก 3. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนในชุดฝึก 4. ทากิจกรรมในใบงานที่กาหนดให้ในชุดฝึก 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) การวัดผลและประเมินผล • แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) • ประเมินผลจากใบงาน • แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) เวลาในการจัดการเรียนรู้ ในการจัดการเรียนรู้ ใช้เวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมตามชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย จานวน 4 ชั่วโมง 6
  • 11. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เรื่อง ขลุ่ยไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 7
  • 12. ม่ อยู่ด้านหลัง ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เรื่อง ขลุ่ยไทย คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมายกากบาท () ทับหน้าตัวเลือกที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของไทยชนิดหนึ่งที่มีหลักฐานปรากฏอยู่ในสมัยใด ก. กฏมณเฑียรบาลสมัยอยุธยา ข. กฎมณเฑียรบาลสมัยสุโขทัย ค. กฎมณเฑียรบาลสมัยธนบุรี ง. กฎมณเฑียรบาลสมัยรัตนโกสินทร์ 2. ขลุ่ยได้วิวัฒนาการมาจากข้อใด ก. ปี่อ้อ ข. ปี่ชวา ค. ปี่ไทย ง. ปี่พาทย์ 3. ขลุ่ยหลิบจัดเป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทใด ก. เครื่องตี ข. เครื่องสี ค. เครื่องดีด ง. เครื่องเป่า 4. ส่วนประกอบในข้อใดของขลุ่ยหลิบที่ทาให้เกิดเสียง ก. รูลม ข. รูนิ้วค้า ค. รูร้อยเชือก ง. รูเสียงหรือรูบังคับเสียง เราต้องทาด้วย ความรอบคอบนะครับ 8
  • 13. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 5. ขลุ่ยไทยข้อใดที่ทาให้ผู้ฟังเกิดจินตนาการตามบทเพลง ก. ขลุ่ยอู้ ข. ขลุ่ยนก ค. ขลุ่ยหลิบ ง. ขลุ่ยเพียงออ 6. ข้อใด ไม่ใช่ วัสดุที่นิยมนามาทาขลุ่ยหลิบ ก. งาช้าง ข. ไม้รวก ค. ไม้ชิงชัน ง. ไม้ไผ่ตรง 7. การประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ บนผิวขลุ่ยนิยมประดิษฐ์ลวดลายในข้อใด ก. ลายหิน ข. ลายดอกพิกุล ค. ลายลูกระนาด ง. ถูกทุกข้อ 8. ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่น มีชื่อเรียกตามข้อใด ก. มุราลี ข. โถ่งเซีย ค. ฮวยเต็ก ง. ซากุฮาชิ ข้อสอบง่ายมากเลย 9
  • 14. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 9. ข้อใดเป็นท่านั่งเป่าขลุ่ยหลิบที่ ไม่ ถูกต้อง ก. หญิงนั่งพับเพียบ ข. ชายนั่งพับเพียบ ค. หญิงนั่งขัดสมาธิ ง. ชายนั่งขัดสมาธิ 10. รูนิ้วค้า ใช้นิ้วใดกดไว้ ก. หัวแม่มือ ข้างซ้าย ข. หัวแม่มือ ข้างขวา ค. นิ้วชี้ ข้างซ้าย ง. นิ้วชี้ข้างขวา 10 เราต้องตรวจทาน ก่อนส่งนะครับ
  • 15. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ชุดฝึกทักษะ เรื่อง ขลุ่ยไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 11
  • 16. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของไทยชนิดหนึ่งที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณและมี หลักฐานปรากฏในกฎมณเฑียรบาลสมัยอยุธยาเป็นราชธานี ขลุ่ยเป็นเครื่องเป่าที่มีลิ้นอยู่ภายใน เครื่องดนตรี ขลุ่ยมี 3 ประเภท คือ 12 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะ ของขลุ่ยไทย 1) ขลุ่ยอู้ 2) ขลุ่ยหลิบ 3) ขลุ่ยเพียงออ
  • 17. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี วงดนตรีที่มีขลุ่ยบรรเลงร่วมอยู่ - วงปี่พาทย์ไม้นวม - วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ - วงเครื่องสายไทย 13
  • 18. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี - วงเครื่องสายผสม - วงมโหรี - วงขลุ่ย รวม 3 เลา ( ได้แก่ ขลุ่ยอู้ ขลุ่ยเพียงออและขลุ่ยหลิบ ) 14
  • 19. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ลักษณะทั่วไปของขลุ่ย นอกจากขลุ่ยไทยแล้วยังมีชาติอื่นก็มีเครื่องเป่าซึ่งมีลักษณะคล้ายกับขลุ่ยของคนไทย เหมือนกัน เช่น ขลุ่ยของญี่ปุ่นเรียกว่า ซากุฮาชิ ซึ่งใช้เป่าเหมือนกับขลุ่ยไทย ขลุ่ยของอินเดีย เรียกว่า มุราลี ส่วนของจีนก็มีขลุ่ยเช่นเดียวกันแต่ใช้เป่าด้านข้างเรียกว่า ฮวยเต็ก ถ้าเป็นแบบที่ ใช้เป่าตรงแบบขลุ่ยไทยจะเรียกว่า โถ่งเซีย แต่จะต่างกันตรงที่ขลุ่ยของจีนไม่มีดาก การเป่าต้อง ใช้การผิวลมจึงจะเกิดเสียง 15 ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่นเรียกว่า “ซากุฮาชิ” ขลุ่ยของประเทศอินเดียเรียกว่า “มุราลี” ขลุ่ยของประเทศจีน ใช้เป่าด้านข้าง เรียกว่า “ฮวยเต็ก” ใช้เป่าตรง เรียกว่า “โถ่งเซีย”
  • 20. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี วัสดุที่ใช้ในการทาขลุ่ย วัสดุที่ใช้ในการทาขลุ่ยส่วนมากจะทามาจากไม้รวก ไม้ชิงชัน ไม้พะยูง งาช้าง ไม้ไผ่ และท่อพลาสติก ถ้าทาจากไม้ต้องเป็นไม้ที่แก่จัด 16 ไม้รวก ไม้ชิงชัน ไม้พยุง งาช้าง ไม้พยุง ท่อพลาสติก
  • 21. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 17 ใบงานที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะ ของขลุ่ยไทย 1. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีของไทยที่มีหลักฐานปรากฏในสมัยใด ตอบ .................................................................................................. 2. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทใด ตอบ .................................................................................................. 3. ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่นเรียกว่าอะไร ตอบ .................................................................................................. 4. ขลุ่ยทามาจากวัสดุใดที่ให้เสียงนุ่มนวลไพเราะ ตอบ .................................................................................................. 5. ขลุ่ยของประเทศจีนที่เป่าด้านข้าง เรียกว่าอะไร ตอบ ..................................................................................................
  • 22. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 10. ขลุ่ยที่ไม่จาเป็นต้องทาลวดลายลงบนตัวขลุ่ยต้องมีลักษณะอย่างไร ตอบ .................................................................................................. 9. ขลุ่ยทาหน้าที่อย่างไรในการประสมกับวงดนตรีประเภทต่างๆ ตอบ .................................................................................................. 8. ไม้รวกที่ดีเหมาะกับนามาทาขลุ่ยต้องมีลักษณะอย่างไร ตอบ .................................................................................................. 7. ลวดลายที่นิยมทาลงบนตัวขลุ่ยได้แก่ลวดลายใดบ้าง ตอบ .................................................................................................. 6. ขลุ่ยนาไปประสมในวงดนตรีไทยประเภทใดบ้าง ตอบ .................................................................................................. 18
  • 23. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ขลุ่ยไทย มีหลายประเภท ดังนี้ 1. ขลุ่ยหลิบ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมดยาวประมาณ 25 เซนติเมตร มีเสียงสูง ใช้ในการบรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องใหญ่ และวงเครื่องสายเครื่องคู่ โดยเป็นเครื่องนาในวงเช่นเดียวกับระนาด หรือซอด้วง นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวงเครื่องสายปี่ ชวา โดยบรรเลงเป็นพวกหลังเช่นเดียวกับซออู้ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุด เมื่อปิดนิ้วหมดทุกนิ้ว เป่าแล้วจะได้เสียง “ฟา” สูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 4 เสียง 2. ขลุ่ยอู้ เป็นขลุ่ยขนาดใหญ่ยาวประมาณ 60 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 4 เซนติเมตร มีเสียงทุ้มต่าที่สุด ระดับเสียงต่ากว่าขลุ่ยหลิบ 2 เสียง คือ เสียงซอล ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ดึก ดาบรรพ์ 3. ขลุ่ยเพียงออ เป็นขลุ่ยขนาดกลาง ยาวประมาณ 45 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร มีระดับเสียงต่าสุดคือ เสียงโด ใช้เป็นหลักเทียบเสียงในวงเครื่องสายเป็นขลุ่ยที่ นิยมนามาฝึกและเล่นกันทั่วไป 19 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย
  • 24. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 4. ขลุ่ยพิเศษ 4.1 ขลุ่ยรองออ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดใหญ่กว่าขลุ่ยเพียงออและมีระดับเสียงต่ากว่า หนึ่งเสียง อาจจะใช้ในวงมโหรีแทนขลุ่ยเพียงออในกรณีที่ต้องการเสียงต่า 4.2 ขลุ่ยนก เป็นขลุ่ยประเภทหนึ่งที่ทาขึ้นเพื่อเลียนเสียงสัตว์ต่างๆ โดยเฉพาะนก ไม่สามารถบรรเลงเดินทานองได้แต่ใช้บรรเลงในวงดนตรีเพื่อให้เกิดจินตนาการในการฟังเพลงที่มี เนื้อหาเกี่ยวกับสัตว์ ได้แก่ นกต่างๆ ไก่ เช่น เพลงตับนก เพลงตับภุมริน สากลจึงสามารถนามา บรรเลงร่วมกับวงดนตรีสากลได้ 4.3 ขลุ่ยกรวด มีขนาดเล็กกว่าขลุ่ยเพียงออแต่ใหญ่กว่าขลุ่ยหลิบ ยาวประมาณ 40 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.2 เซนติเมตร ระดับเสียงสูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 1 เสียง และเสียงต่าสุดของขลุ่ยกรวดคือ เสียงเร ขลุ่ยกรวดมีระดับเสียงเทียบกับดนตรี 20
  • 25. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด (10 คะแนน) ใบงานที่ 2 เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย 1. ขลุ่ยหลิบเป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมด 2. ขลุ่ยอู้ใช้บรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องใหญ่ วงเครื่องสายเครื่องคู่ 3. ขลุ่ยอู้มีเสียงทุ้มต่าที่สุด 4. ขลุ่ยเพียงออใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 5. ขลุ่ยเพียงออใช้เป็นหลักเทียบเสียง ในวงเครื่องสาย 21
  • 26. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 6. ขลุ่ยเพียงออมีระดับเสียงต่าสุดคือ เสียงโด 7. ขลุ่ยพิเศษ ได้แก่ ขลุ่ยรองออ ขลุ่ยนก ขลุ่ยหลิบ และขลุ่ยกรวด 8. ขลุ่ยนกจะใช้ในวงมโหรีแทนขลุ่ยเพียงออในกรณีที่ต้องการเสียงต่า 9. ขลุ่ยนก เป็นขลุ่ยประเภทหนึ่งที่ทาขึ้นเพื่อเลียนเสียงสัตว์ต่าง ๆ 10. เสียงต่าสุดของขลุ่ยกรวดคือ เสียงเร 22
  • 27. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ขลุ่ยหลิบ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมด มีความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร มีเสียงสูง ใช้ในการบรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องใหญ่ และวงเครื่องสายเครื่องคู่ โดยเป็นเครื่องนาในวงเช่นเดียวกับระนาด หรือซอด้วง นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวงเครื่องสายปี่ ชวา โดยบรรเลงเป็นพวกหลังเช่นเดียวกับซออู้ เป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุด ความยาวประมาณ 12 นิ้ว เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องนา (เช่นเดียวกับระนาดเอก และ ซอด้วง) ในวงมโหรีและวง เครื่องสายเครื่องคู่ และใช้เป็นเครื่อง ตามในวงเครื่องสายปี่ชวาเมื่อปิดนิ้วหมดทุกนิ้ว เป่าแล้วจะ ได้เสียง “ฟา” สูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 4 เสียง ส่วนประกอบของขลุ่ยหลิบ มีดังนี้ 1. ดาก คือ ไม้อุดปากขลุ่ยหลิบ นิยมใช้ไม้สักทองท่อนยาวประมาณ 4 เซนติเมตร เหลาให้เป็นท่อนกลม ฝานให้เป็นช่องลาดเอียงเป็นช่องสาหรับเป่าลมเข้าไป 2. รูเป่า เป็นช่องที่อยู่บริเวณดากกับลาตัวขลุ่ยหลิบสาหรับเป่าลมเข้า 3. รูปากนกแก้ว เป็นช่องรองรับลมที่เป่าผ่านรูเป่ามีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า อยู่ต่อจากดากขลุ่ยลงมาด้านเดียวกันกับรูเป่าเป็นรูที่ทาให้เกิดเสียงถ้าใช้มือปิดรูนี้แล้วเป่าจะไม่ เกิดเสียงดัง 4. รูนิ้วค้า เป็นรูสาหรับนิ้วหัวแม่มือปิด - เปิดให้เกิดระดับเสียงและประคองเลา ขลุ่ยขณะเป่า 5. รูเสียงหรือรูบังคับเสียง อยู่ด้านหน้าของเลาขลุ่ย มี 7 รู สาหรับใช้นิ้วปิด - เปิด ทาให้เกิดระดับเสียงต่างๆ 6. รูร้อยเชือก เป็นรูที่อยู่ส่วนล่างของขลุ่ย ใช้สาหรับร้อยเชือกเพื่อเก็บแขวนหรือถือ อย่างสะดวก ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ขลุ่ยหลิบ 23
  • 28. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี รูปภาพแสดงส่วนประกอบของขลุ่ย การดูแลรักษาขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยหลิบเป็นเครื่องดนตรีที่ต้องใช้ปากเป่าโดยตรง ฉะนั้นการรักษาความสะอาดจึงเป็น เรื่องที่สาคัญ โดยมีวิธีการบารุงรักษา ดังนี้ 1.ก่อนหรือหลังเป่าขลุ่ยควรทาความสะอาดโดยการขัดเช็ดทุกครั้ง แต่ห้ามนาไปล้างใน อ่างน้า หรือตากแสงแดดโดยตรง เพราะจะทาให้เกิดการยืดหรือหดตัวได้ อันเป็นสาเหตุทาให้ เสียงขลุ่ยเปลี่ยนไป ควรใช้แอลกอฮอล์เช็ดเพื่อฆ่าเชื้อบริเวณที่เป่าด้วย 2. อย่าใช้ขลุ่ยร่วมกับผู้อื่น เพราะอาจเป็นแหล่งแพร่เชื้อได้ 3. อย่าให้ตกหล่น เพราะขลุ่ยทาด้วยไม้หรือพลาสติกอาจแตกหักได้ 4. ถ้าไม่มีความรู้จริง ๆ อย่าไปตกแต่งรูขลุ่ยเพราะจะทาให้เสียงเพี้ยนได้ 5. หลังการใช้ควรเก็บใส่ถุงให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันแมลงหรือสัตว์เล็กๆเข้าไปอาศัย (ที่มา : ประทีบ – ศศิธร นักปี. หนังสือเรียนรายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพ : สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, 2550.) รูปากนกแก้ว รูนิ้วค้า รูร้อยเชือก ดาก นิยมใช้ไม้สักทอง ท่อนยาวประมาณ 4 ซม. เหลาเป็นท่อนกลม ผ่านให้เป็นช่องลาดเอียงเป็นช่อง สาหรับเป่าลมเข้าไป รูเป่า เป็นช่องที่อยู่บริเวณดาก กับลาตัวขลุ่ยหลิบ สาหรับเป่า ลมเข้า 24
  • 29. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ข้อความด้านซ้ายมือให้สัมพันธ์กับข้อความด้านขวามือ ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) ใบงานที่ 3 เรื่อง ขลุ่ยหลิบ 1. ขลุ่ยหลิบ อยู่ด้านหน้าของเลาขลุ่ย มี 7 รู 2. ดาก 3. รูเป่า 4. รูปากนกแก้ว 5. รูนิ้วค้า 6. รูเสียง 7. รูบังคับเสียง 8. รูร้อยเชือก 9. รูสาหรับนิ้วหัวแม่มือ 10. อย่าใช้ขลุ่ยร่วมกับผู้อื่น ช่องที่อยู่บริเวณดากกับลาตัวขลุ่ยหลิบ ประคองเลาขลุ่ยขณะเป่า มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า ไม้อุดปากขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทย ใช้สาหรับร้อยเชือกเพื่อเก็บแขวน ปิด - เปิด ให้เกิดระดับเสียง สาหรับใช้นิ้วปิด - เปิด ทาให้เกิดระดับ เสียงต่างๆ อาจเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ 25
  • 30. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี การเป่าขลุ่ยควรมีท่าทางในการเป่าขลุ่ยและท่าทางการจับขลุ่ยและการวางตาแหน่งนิ้วดัง รายละเอียด ดงนี้ 1. การนั่งเป่าขลุ่ยควรแสดงท่าทางให้มีความงดงามในการนั่งให้เป็นไปตามวัฒนธรรมไทย และมีการวางตาแหน่งนิ้วให้ถูกต้องและสวยงาม ซึ่งท่าทางในการเป่าขลุ่ยมี 2 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะที่ 1 ท่านั่ง ตามแบบแผนของวงดนตรีไทย นิยมนั่งบรรเลงบนพื้นราบ ท่านั่งแบ่ง ได้ดังนี้ 1.1 ท่านั่งพับเพียบ 1.1.1 นั่งพับเพียบชาย ( นั่งสามเหลี่ยม ) นั่งลาตัวตรง เพื่อต้องการให้กาลังลมเดิน สะดวกไม่ติดขัด ไม่ก้มหน้า ขาซ้ายทับขาขวาหรือขาขวาทับขาซ้ายก็ได้ และควรเก็บปลายเท้า เพื่อให้ดูเรียบร้อยและสวยงาม เด็กชายอนุชา อ๊อดต่อกัน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย 26
  • 31. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 1.1.2 นั่งพับเพียบหญิง นั่งลาตัวตรง เพื่อต้องการให้กาลังลมเดินสะดวกไม่ติดขัด ไม่ ก้มหน้า ขาซ้ายทับขาขวาหรือขาขวาทับขาซ้ายก็ได้ และควรเก็บปลายเท้าเพื่อให้ดูเรียบร้อยและ สวยงาม เด็กหญิงนันนภัส ปัญโย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 1.2 ท่านั่งขัดสมาธิใช้เฉพาะผู้ชาย คู้เข่าทั้งสองข้างหาตัว แนบขาลงกับพื้น โดยให้ขาข้าง หนึ่งซ้อนทับอยู่บนอีกข้างหนึ่ง สันเท้าทั้งสองข้างจะสัมผัสกับขา เด็กชายอนุชา อ๊อดต่อกัน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 27
  • 32. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ลักษณะที่ 2 ท่ายืน ใช้สาหรับดนตรีร่วมสมัย ยืนลาตัวตรง ขาชิดปลายเท้าห่างกัน เล็กน้อย เด็กชายอนุชา อ๊อดต่อกันและเด็กหญิงนันนภัส ปัญโย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) 28
  • 33. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ท่าทางการจับขลุ่ยและการวางตาแหน่งนิ้ว วิธีการจับขลุ่ย การจับขลุ่ยหลิบของไทยไม่มีข้อกาหนดทางกายภาพของเครื่องดนตรีที่ บังคับให้ใช้มือซ้ายหรือมือขวาจับด้านบนหรือด้านล่าง ในสมัยก่อนนั้นคนไทยส่วนใหญ่ถนัดใช้มือ ขวา จึงใช้มือขวาจับขลุ่ยด้านบน ปัจจุบัน มีการปฏิบัติสัมพันธ์กับดนตรีตะวันตกมากขึ้น จึงมีการ จับขลุ่ยด้านบนด้วยมือซ้าย เพื่อให้สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีตะวันตกได้ด้วย ในปัจจุบัน การจับขลุ่ยนิยมจับตามวิธีจับขลุ่ยของดนตรีสากลคือ ใช้มือซ้ายจับส่วนบน ของตัวขลุ่ย ส่วนมือขวา จับส่วนล่างของตัวขลุ่ย ท่าทางการจับขลุ่ย เด็กหญิงนันนภัส ปัญโย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) การจับขลุ่ยทั้งการใช้มือซ้ายหรือมือขวาจับด้านบนหรือด้านล่างนั้น สามารถจับได้ทั้งสอง แบบหรือจับตามความถนัด โดยให้นิ้วหัวแม่มือของมือที่จับส่วนบนปิดรูนิ้วค้า นิ้วชี้ นิ้วกลาง และ นิ้วนาง ปิดรูเสียงไล่จากส่วนบนลงมา (มือบนไม่ใช้นิ้วก้อยปิดรูเสียง) ส่วนมือที่จับส่วนล่าง ของขลุ่ยนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือประคองลาตัวขลุ่ย นิ้วทั้งสี่นิ้วที่เหลือปิดรูเสียงไล่ต่อจากมือบนลงมา ลาตัวขลุ่ยเอียงทามุมประมาณ 45 องศา ผู้เป่าต้องเงยหน้าขึ้น พอสมควร มือทั้งสองข้างไม่เกร็ง 29
  • 34. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี แผนผังแสดงวิธีจับขลุ่ย การใช้ริมฝีปาก การใช้ริมฝีปากจรดดากขลุ่ยหรือรูเป่า ให้ผู้เป่าทารูปปากในลักษณะ เหมือนกาลังจะพูดหรือเปล่งเสียงว่า “อู” แล้วจรดริมฝีปากตรงรูเป่า ให้ดากขลุ่ยอยู่บริเวณกลาง ริมฝีปากพอดี อย่าอมขลุ่ยไว้ในปาก ดังภาพต่อไปนี้ ท่าทางการจรดริมฝีปากในการเป่าขลุ่ย เด็กหญิงนันนภัส ปัญโย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนดอนชัยวิทยา ตาบลบ้านกาศ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มา : นางเมธิกา รัตนรังสี (2556) รูนับที่ 7 6 5 4 3 2 1 ฟา ซอล ลา ที โด เร มี ฟา (สูง) นิ้ว ชี้ มือบน กลาง นาง ชี้ กลาง นาง มือล่าง ก้อย ด้านหน้า ด้านข้าง 30
  • 35. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตรูปภาพแสดงท่าทางการนั่งเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย รูปภาพใด ที่ถูกต้องให้ทาเครื่องหมาย  และรูปภาพใดที่ผิดให้ทาเครื่องหมาย  ทับหน้า ข้อให้ถูกต้อง (10 คะแนน) ใบงานที่ 4 เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย 2. 3. 4. 1. 31
  • 36. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ท่าทางการจับขลุ่ย 6. 7. 5. 32
  • 37. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 8. 9. 10. 33
  • 38. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) เรื่อง ขลุ่ยไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 34
  • 39. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) เรื่อง ขลุ่ยไทย คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมายกากบาท () ทับหน้าตัวเลือกที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1. การประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ บนผิวขลุ่ยนิยมประดิษฐ์ลวดลายในข้อใด ก. ลายหิน ข. ลายดอกพิกุล ค. ลายลูกระนาด ง. ถูกทุกข้อ 2. ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่น มีชื่อเรียกตามข้อใด ก. มุราลี ข. โถ่งเซีย ค. ฮวยเต็ก ง. ซากุฮาชิ 3. ขลุ่ยไทยข้อใดที่ทาให้ผู้ฟังเกิดจินตนาการตามบทเพลง ก. ขลุ่ยอู้ ข. ขลุ่ยนก ค. ขลุ่ยหลิบ ง. ขลุ่ยเพียงออ เราต้องทาด้วย ความรอบคอบนะครับ 35
  • 40. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 4. ข้อใด ไม่ใช่ วัสดุที่นิยมนามาทาขลุ่ยหลิบ ก. งาช้าง ข. ไม้รวก ค. ไม้ชิงชัน ง. ไม้ไผ่ตรง 5. รูนิ้วค้า ใช้นิ้วใดกดไว้ ก. หัวแม่มือ ข้างซ้าย ข. หัวแม่มือ ข้างขวา ค. นิ้วชี้ ข้างซ้าย ง. นิ้วชี้ข้างขวา 6. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของไทยชนิดหนึ่งที่มีหลักฐานปรากฏอยู่ในสมัยใด ก. กฏมณเฑียรบาลสมัยอยุธยา ข. กฎมณเฑียรบาลสมัยสุโขทัย ค. กฎมณเฑียรบาลสมัยธนบุรี ง. กฎมณเฑียรบาลสมัยรัตนโกสินทร์ 7. ขลุ่ยได้วิวัฒนาการมาจากข้อใด ก. ปี่อ้อ ข. ปี่ชวา ค. ปี่ไทย ง. ปี่พาทย์ ข้อสอบง่ายมากเลย 36
  • 41. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 8. ข้อใดเป็นท่านั่งเป่าขลุ่ยหลิบที่ ไม่ ถูกต้อง ก. หญิงนั่งพับเพียบ ข. ชายนั่งพับเพียบ ค. หญิงนั่งขัดสมาธิ ง. ชายนั่งขัดสมาธิ 9. ส่วนประกอบในข้อใดของขลุ่ยหลิบที่ทาให้เกิดเสียง ก. รูลม ข. รูนิ้วค้า ค. รูร้อยเชือก ง. รูเสียงหรือรูบังคับเสียง 10. ขลุ่ยหลิบจัดเป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทใด ก. เครื่องตี ข. เครื่องสี ค. เครื่องดีด ง. เครื่องเป่า เราต้องตรวจทาน ก่อนส่งนะครับ 37
  • 42. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี เฉลยใบงานที่ 1 - 4 เรื่อง ขลุ่ยไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 38
  • 43. วิชาดนตรี ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 39 เฉลยใบงานที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและลักษณะ ของขลุ่ยไทย 1. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีของไทยที่มีหลักฐานปรากฏในสมัยใด ตอบ มีปรากฏในกฏมณเฑียรบาลสมัยอยุธยาเป็นราชธานี 2. ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทใด ตอบ เป่า 3. ขลุ่ยของประเทศญี่ปุ่นเรียกว่าอะไร ตอบ ซากุฮาชิ 4. ขลุ่ยทามาจากวัสดุใดที่ให้เสียงนุ่มนวลไพเราะ ตอบ ไม้รวก 5. ขลุ่ยของประเทศจีนที่เป่าด้านข้าง เรียกว่าอะไร ตอบ ฮวยเต็ก
  • 44. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 10. ขลุ่ยที่ไม่จาเป็นต้องทาลวดลายลงบนตัวขลุ่ยต้องมีลักษณะอย่างไร ตอบ ขลุ่ยที่มีเนื้อไม้งดงามอยู่แล้ว 9. ขลุ่ยทาหน้าที่อย่างไรในการประสมกับวงดนตรีประเภทต่างๆ ตอบ ดาเนินทานองหลัก 8. ไม้รวกที่ดีเหมาะกับนามาทาขลุ่ยต้องมีลักษณะอย่างไร ตอบ เป็นไม้ที่แก่จัด 7. ลวดลายที่นิยมทาลงบนตัวขลุ่ยได้แก่ลวดลายใดบ้าง ตอบ ลายดอกพิกุล ลายหิน ลายลูกระนาด 6. ขลุ่ยนาไปประสมในวงดนตรีไทยประเภทใดบ้าง ตอบ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี 40
  • 45. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด (10 คะแนน) เฉลยใบงานที่ 2 เรื่อง ประเภทของขลุ่ยไทย 1. ขลุ่ยหลิบเป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมด  3. ขลุ่ยอู้มีเสียงทุ้มต่าที่สุด  5. ขลุ่ยเพียงออใช้เป็นหลักเทียบเสียง ในวงเครื่องสาย  2. ขลุ่ยอู้ใช้บรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องใหญ่ วงเครื่องสายเครื่องคู่  4. ขลุ่ยเพียงออใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์  41
  • 46. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 9. ขลุ่ยนก เป็นขลุ่ยประเภทหนึ่งที่ทาขึ้นเพื่อเลียนเสียงสัตว์ต่าง ๆ  10. เสียงต่าสุดของขลุ่ยกรวดคือ เสียงเร  8. ขลุ่ยนกจะใช้ในวงมโหรีแทนขลุ่ยเพียงออในกรณีที่ต้องการเสียงต่า  7. ขลุ่ยพิเศษ ได้แก่ ขลุ่ยรองออ ขลุ่ยนก ขลุ่ยหลิบ และขลุ่ยกรวด  6. ขลุ่ยเพียงออมีระดับเสียงต่าสุดคือ เสียงโด  42
  • 47. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ข้อความด้านซ้ายมือให้สัมพันธ์กับข้อความด้านขวามือ ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) เฉลยใบงานที่ 3 เรื่อง ขลุ่ยหลิบ 1. ขลุ่ยหลิบ อยู่ด้านหน้าของเลาขลุ่ย มี 7 รู 2. ดาก 3. รูเป่า 4. รูปากนกแก้ว 5. รูนิ้วค้า 6. รูเสียง 7. รูบังคับเสียง 8. รูร้อยเชือก 9. รูสาหรับนิ้วหัวแม่มือ 10. อย่าใช้ขลุ่ยร่วมกับผู้อื่น ช่องที่อยู่บริเวณดากกับลาตัวขลุ่ยหลิบ ประคองเลาขลุ่ยขณะเป่า มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า ไม้อุดปากขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาขลุ่ยไทย ใช้สาหรับร้อยเชือกเพื่อเก็บแขวน ปิด - เปิด ให้เกิดระดับเสียง สาหรับใช้นิ้วปิด - เปิด ทาให้เกิดระดับ เสียงต่างๆ อาจเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้ 43
  • 48. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี คาชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตรูปภาพแสดงท่าทางการนั่งเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย รูปภาพใด ที่ถูกต้องให้ทาเครื่องหมาย  และรูปภาพใดที่ผิดให้ทาเครื่องหมาย  ทับหน้า ข้อให้ถูกต้อง (10 คะแนน) เฉลยใบงานที่ 4 เรื่อง ท่าทางการเป่าขลุ่ยและการจับขลุ่ย ท่าทางการนั่งเป่าขลุ่ย 1.  2.  4.  3.  44
  • 49. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ท่าทางการจับขลุ่ย 5.  6.  7.  45
  • 50. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี 8.  9.  10.  46
  • 51. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)และ หลังเรียน (Post-test) 47
  • 52. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ข้อ ก ข ค ง 1.  2.  3.  4.  5.  6.  7.  8.  9.  10.  เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เรื่อง ขลุ่ยไทย 48
  • 53. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี ข้อ ก ข ค ง 1.  2.  3.  4.  5.  6.  7.  8.  9.  10.  เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) เรื่อง ขลุ่ยไทย 49
  • 54. ชุดฝึกทักษะ เล่มที่ 1 ขลุ่ยไทย นางเมธิกา รัตนรังษี กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ศิลปะสาระดนตรี. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2545. คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาศิลปะ. การจัดสาระ การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะตามหลักสูตรการศึกษาเบื้องต้น พุทธศักราช 2544 .กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและวัสดุภัณฑ์, 2546. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. หลากหลายวิธีการสอนของครูต้นแบบ 2541. วิชาดนตรี. กรุงเทพฯ : วัฒนพานิช, 2544. ดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา. ดนตรีนาฏศิลป์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 2543. เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2550. ธิการนต์ ศรีนารา และพิเชษฐ์ เดชผิว. วัฒนธรรมดนตรีในสังคมไทย.กรุงเทพฯ : แม็ค 2548. ทิศนา แขมมณี. รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2551. ปริญญา มิตรสุวรรณ, ชาติชาย คงเทียน. ดนตรี. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (จากัด). 2552. ประดิษฐ์ อินทนิล. ดนตรีและนาฏศิลป์. กรุงเทพฯ : สุรีริยาสาส์น, 2546. เสถียร ดวงจันทร์ทิพย์. หัดเป่าขลุ่ยกันดีกว่า. กรุงเทพฯ : มาลัย. 2549. สุดใจ ทศพล และคณะ. ศิลปะ ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.3. กรุงเทพ : อักษรเจริญทัศน์ จากัด. 2551. สุรพล สุวรรณ. ดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. อรรถสิทธ์ เวชชาชีวะ. สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคคีตะ- ดุริยางค์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. สุพรรณบุรี : สหมิตรพริ้นติ้ง, 2545. บรรณานุกรม 50