SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท ๓๒๑๐๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง เครื่องจักสานของชาวไทยอีสาน
จำานวน ๑ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ การพูดต่อหน้าชุมขนเรื่องเครื่องจักสาน
ของชาวไทยอีสาน เวลา ๒ ชั่วโมง
สอนวันที่ .................. เดือน ....................................................
พ.ศ. ........................... ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดง
ความรู้ ความคิดและความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมี
วิจารณญาณและสร้างสรรค์
๒. สาระการเรียนรู้
๑. ความรู้
๑. การพูดต่อหน้าชุมชนเรื่องเครื่องจักสานของชาวไทยอีสาน
๒. ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
การพูดต่อหน้าชุมชน
๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย
๓. เป้าหมายการเรียนรู้
๓.๑ เป้าหมายด้านความรู้ (ความเข้าใจที่คงทน) K
๓.๑.๑ ทักษะการพูด
๓.๒ เป้าหมายทักษะด้านกระบวนการเรียนรู้ (ทักษะคร่อมวิชา) P
๓.๒.๑ พูดต่อหน้าชุมชนเรื่องเครื่องจักสานของชาวไทยอีสาน
๓.๓ เป้าหมายด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ A
๓.๓.๑ เห็นความสำาคัญของการพูด
๔. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
๑ การพูด
๕. คำาถามสำาคัญ
เครื่องจักสานมีบทบาทต่อวิถีชีวิตชนชาวไทยอีสานอย่างไร
๖. บูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๑. ความพอประมาณ
นักเรียนพูดความคิดได้ตรงตามเวลาหรือน้อยกว่าที่กำาหนด
สามารถสรุปประเด็นสำาคัญได้เหมาะสมกับเนื้อหา
๒. ความมีเหตุผล
นักเรียนสมารถอธิบายเกี่ยวกับเครื่องจักสานต่อวิถีชีวิตคนใน
ท้องถิ่นได้โดยวิธีการได้
๓. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เสนอแนะแนวทางกำาดำาเนินชีวิตที่ถูกต้องและปฏิบัติตามแนวทาง
ที่เหมาะสม
๔. เงื่อนไขคุณธรรม
มีมารยาทในการเขียนสร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมาย
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๑.ให้นักเรียนตอบคำาถามว่า เครื่องจักสานมีบทบาทต่อวิถีชีวิตชนชาว
ไทยอีสานอย่างไร
๒.นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องเครื่องจักสานของชาวไทยอีสาน
๓.ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่องเครื่องจักสานของชาว
ไทยอีสาน
๔.นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาเกี่ยวกับ เครื่องจักสานของชาวไทย
อีสาน
๕.นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องจักสานของคนไทยในท้องถิ่น
ตนโดยการแบ่งกลุ่มและให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาเครื่องจักสานของชาวไทย
อีสานมากลุ่มละ๑ชนิด
๖.แต่ละกลุ่มออกมานำาเสนอหน้าชั้นเรียน
๗.นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของเครื่อง
จักสานต่อชาวไทยอีสาน
๘. สื่อการจัดการเรียนรู้
๑.ใบความรู้เรื่องเครื่องจักสานของชาวไทยอีสาน
๙. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
๒. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
๓. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ ๒ รายการ ถือว่าผ่าน
ผ่าน ๑ รายการ ถือว่าไม่ผ่าน
ใบความรู้เรื่อง เครื่องจักสานชาวอีสาน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานเป็นภาคที่มีพื้นที่กว้างใหญ่
ครอบคลุมหลายจังหวัดได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม
นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร
สุรินทร์ หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี หนองบัวลำาพู มุกดาหาร ภาค
อีสานเป็นดินแดนที่แยกจากที่ราบภาคกลาง โดยมีภูเขาที่ยกขึ้นมาประดุจ
ขอบของที่ราบสูงหันด้านชันไปทางภาคกลาง ด้านใต้มีด้านชันทางที่ราบตำ่า
เขมร ที่ราบสูงอีสานจะลาดเอียงไปทางตะวันออกเฉียงใต้บริเวณลุ่มแม่นำ้า
โขงทำาให้แม่นำ้าสายสำาคัญๆ ของภาคนี้ไหลจากตะวันตกไปยังตะวันออกไป
รวมกับแม่นำ้าโขง
นอกจากประชากรในภาคอีสานจะมีความหลากหลายของลักษณะ
ทางชาติพันธุ์แล้ว ยังมีวัฒนธรรมการบริโภคข้าวเหนียวเช่นเดียวกับ
ประชาชนส่วนใหญ่ในภาคเหนือ แม้ว่าคนอีสานจะบริโภคข้าวเหนียวเหมือน
กับคนภาคเหนือก็ตามแต่เครื่องจักสานที่เกี่ยวเนื่องด้วยการบริโภคข้าว
เหนียวของภาคอีสานมีลักษณะเฉพาะตนที่ต่างไปจากของภาคเหนือ ถึงแม้
จะใช้ประโยชน์ในการใส่ข้าวเหนียวเช่นเดียวกันก็ตาม
เครื่องจักสานภาคอีสานที่เกี่ยวเนื่องด้วยวัฒนธรรมการบริโภคข้าว
เหนียวที่สำาคัญ คือ ก่องข้าว และกระติบ
ก่องข้าวและกระติบของชาวอีสาน ในบริเวณอีสานกลางและอีสาน
ใต้มีรูปแบบเฉพาะตนที่ต่างกัน โดยมีรูปแบบและวิธีการสานที่เป็นของตนเอง
ตามความนิยมของท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ ก่องข้าวที่ใช้กันใน
บริเวณอีสานกลาง โดยเฉพาะจังหวัดมหาสารคามร้อยเอ็ด ขอนแก่น นั้นมี
ลักษณะและรูปแบบต่างไปจากกระติบข้าวที่สานด้วยไม้ไผ่ของถิ่นอื่นๆก่อง
ข้าวชนิดนี้คล้ายกับก่องข้าวภาคเหนือ ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ ๓ ส่วน ฐาน
ทำาด้วยไม้ตามแต่จะหาได้ เป็นแผ่นไม้กากบาทไหว้กันเพื่อใช้เป็นฐาน
สำาหรับตั้ง บางทีก็แกะเป็นลวดลายเพื่อความสวยงามไปด้วย ตัวก่องข้าว
สานด้วยไม้ไผ่ซ้อนกัน ๒ ชั้น เป็นรูปคล้ายโถ โดยมี ฝา รูปร่างเหมือนฝาชี
ครอบอีกชั้นหนึ่ง ขอบฝาจะใช้ก้านตาลเหลาเป็นแผ่นบางๆ โค้งทำาขอบฝา
เพื่อความคงทน การสานก่องข้าวชนิดนี้จะต้องสานตัวก่องข้าวซ้อนกัน ๒
ชั้น เพื่อให้เก็บความร้อนได้ดีโดยที่จะสานโครงชั้นในก่อนด้วยลายสองที่ก้น
เป็นแผ่นสี่เหลี่ยม เพื่อให้เกิดมุมสี่มุมสำาหรับผูกกับไม้กากบาทที่เป็นฐานได้
สะดวก เสร็จแล้วจึงสานส่วนต่อขึ้นมาเป็นตัวก่องข้าวด้วยลายขัด(ภาษาถิ่น
เรียก "ลายกราว") โดยใช้ตอกตะแคงเส้นเล็กๆ จนได้ขนาดตามต้องการ
แล้วจึงสานตัวก่องข้าวด้านนอกครอบอีกชั้นหนึ่งด้วยตอกปื้นเป็นลายสองยืน
หรือลายสองเวียน เพื่อให้เกิดความสวยงาม ตัวก่องข้าวที่สานหุ้มนี้จะต้อง
สานให้ใหญ่กว่าตัวแบบภายใน แล้วพับปากก่องข้าวหุ้มกลับเข้าไปภายใน
เพื่อความเรียบร้อยอีกครั้งหนึ่งโดยใช้เส้นหวายผูกคาดไว้ภายนอกเพื่อรับ
ขอบของฝาไปในตัว เมื่อได้ตัวก่องข้าวแล้วจึงทำาฐานให้ผายออกรับกับรูป
ทรงของก่องข้าวด้วย ไม้ฐานนี้จะผูกติดกับส่วนก้นสี่มุมด้วยหวาย เมื่อได้ตัว
ก่องข้าวพร้อมฐานแล้วจึงสานฝา ซึ่งมักจะสานด้วยตอกปื้นค่อนข้างใหญ่เป็น
ลายต่างๆ แล้วแต่จะเรียกโดยสานเป็นรูปคล้ายฝาชี เมื่อได้ส่วนประกอบที่
สำาคัญพร้อมแล้วจะต้องทำาหูสำาหรับร้อยเชือกเพื่อใช้สะพายบ่าหรือใช้แขวน
จากรูปทรงและวิธีการของก่องข้าวแบบนี้จะเห็นว่าเป็นการสร้างรูปแบบของ
เครื่องใช้ให้สนองประโยชน์ใช้สอยได้ดีนั่นเองก่องข้าวชนิดนี้มีความ
สมบูรณ์ทั้งรูปทรงที่สวยงามและใช้ประโยชน์ได้ดีด้วย
ภาชนะจักสานสำาหรับใส่ข้าวเหนียวนึ่งอีกแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันใน
อีสานเหนือ คือ "กระติบ"ซึ่งสานด้วยไม้ไผ่เช่นเดียวกัน แต่รูปแบบและวิธี
การสานแตกต่างออกไป กระติบมีรูปร่างทรงกระบอกคล้ายกระป๋องไม่มีขา มี
เพียงส่วนตัวกระติบและส่วนฝาเท่านั้น วิธีการสานจะสานด้วยตอกไม้เฮี้ยะซึ่ง
เป็นตอกอ่อนๆ โดยจะสานเป็นรูปทรงกระบอกให้มีความยาวเป็นสองเท่าของ
ความสูงของตัวกระติบที่ต้องการ เสร็จแล้วต้องพับทบกลับส่วนหนึ่งไว้เป็น
ด้านในตัวกระติบ ก่องข้าวชนิดนี้จะสานลายด้านในและด้านนอกต่างกันคือ
ส่วนที่จะพับทบกลับไว้ด้านในนั้นจะสานด้วยลายอำาเวียน ส่วนด้านนอกที่
ต้องการความสวยงามจะสานด้วยลายสองยืน หรือยกดอกเพื่อความสวยงาม
ส่วนก้นจะต้องสานเป็นแผ่นกลมๆ ต่างหากแต่นำามาผนึกติดกับตัวกระติบภาย
หลัง ส่วนฝากระติบก็จะทำาเช่นเดียวกับตัวกระติบ กระติบชนิดนี้บางครั้งอาจ
จะใช้ก้านตาลขดเป็นวงทำาเป็นส่วนฐาน เพื่อความคงทนด้วย
อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างระหว่างก่องข้างและกระติบ เกิดจาก
ความนิยมของท้องถิ่นแต่ละท้องถิ่นที่ทำาสืบทอดต่อๆ กันมาแต่บรรพบุรุษ
ปัจจุบัน ก่องข้าวและกระติบยังคงรักษารูปทรงและลักษณะเฉพาะถิ่นของตน
ไว้ได้ เพราะผู้สานแต่ละถิ่นมักมีความถนัดและเคยชินในการทำาตามแบบ
อย่างของตนมากกว่าที่จะเลียนแบบก่องข้าวถิ่นอื่น แม้ปัจจุบันเครื่องจักสาน
พื้นบ้านอีสานจะมีรูปแบบเปลี่ยนแปลงไปบ้าง เช่น เพิ่มสีสันหรือนำาวัสดุสมัย
ใหม่ เช่น พลาสติก เข้ามาประยุกต์ใช้ประกอบกับเครื่องจักสาน ซึ่งเป็นไป
ตามสมัยนิยมมากกว่าความต้องการที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบดั้งเดิมของตน แต่
ในที่สุดก่องข้าวไม้ไผ่ก็ยังเป็นที่นิยมของชาวบ้านมากกว่าภาชนะชนิดอื่น
เครื่องจักสานพื้นบ้านที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งคือ "ตะกร้า" หรือที่
ภาษาถิ่นเรียก "กะต้า"หรือ "กะต่า" ซึ่งเป็นภาชนะจักสานที่ใช้กันแพร่หลาย
ในภาคอีสาน
ตะกร้า หรือ กะต้าสาน มีประโยชน์ในการใช้สอยเช่นเดียวกับตะกร้า
ภาคกลางหรือซ้าภาคเหนือ เป็นภาชนะที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในภาคอีสาน
เพราะใช้ใส่ของได้สารพัดและใช้ได้ทั้งการหิ้ว หาบ และคอนด้วยไม้คาน รูป
ทรงของตะกร้าหรือกะต้าต่างไปจากตะกร้าภาคอื่น กะต้าสานด้วยไม้ไผ่ เริ่ม
สานก้นก่อนด้วยลายขัด (ลายขัดบี)ตอกคู่ แล้วค่อยๆ สานต่อขึ้นมาด้านข้าง
ของตะกร้าด้วยลายธรรมดาเรื่อยไปจนถึงปากของตะกร้าซึ่งจะใช้ตอกเส้น
เล็กเพื่อความแข็งแรงทนทานปากหรือขอบตะกร้าจะใช้วิธีเก็บนิมโดยสาน
ซ่อนตอกเข้าในตัวตะกร้า เสร็จแล้วจะทำาหูตะกร้าเพื่อใช้หิ้วหรือหาบ โดย
มากจะใช้ไม้ไผ่อีกชิ้นหนึ่งโค้งเหนือปากตะกร้า แล้วผูกปลายทั้งสองเข้ากับ
ขอบตะกร้า ตะกร้าภาคอีสานจะมีรูปทรงคล้ายๆกันเป็นส่วนใหญ่ อาจจะมี
ขนาดเล็กและใหญ่ต่างกันเท่านั้น ตะกร้าชนิดนี้จะใช้ได้ทั้งแบบเป็นคู่และใช้
หิ้วเพียงใบเดียว ตั้งแต่ใช้ใส่ผัก ผลไม้ถ่าน และสิ่งของอื่นๆ ไปจนถึงใช้เป็น
เชี่ยนหมากสำาหรับใส่หมาก เรียกว่า "คุหมาก" หรือบางครั้งใช้ชันยาทำาเป็น
ครุหรือคุสำาหรับตักนำ้าก็ได้ ชาวอีสานนิยมใช้กะต้ากันทั่วไปเพราะมีนำ้าหนัก
เบาทำาได้ง่าย ราคาถูกกว่าภาชนะชนิดอื่น
อย่างไรก็ตาม ตะกร้าสานของอีสานถึงแม้ว่าจะเป็นเครื่องจักสานที่มี
รูปทรงและลวดลายในการสานง่ายๆ ไม่ละเอียดประณีต แต่เป็นเครื่องใช้ใน
ครัวเรือนที่ใช้กันแพร่หลาย เป็นเครื่องจักสานที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นชนิด
หนึ่งของอีสาน จะพบเห็นชาวอีสานหิ้วตะกร้าหรือหาบตะกร้านี้ทั่วไป
นอกจากตะกร้าหรือกะต้าที่ใช้กันแพร่หลายในภาคอีสานหรือถือได้
ว่าเป็นเอกลักษณ์ของเครื่องจักสานอีสานดังกล่าวแล้ว ในภาคอีสานยังมี
เครื่องจักสานที่น่าสนใจอีกหลายอย่างแต่ส่วนมากจะเป็นเครื่องจักสานไม้ไผ่
มากกว่าอย่างอื่น และเครื่องจักสานที่ใช้กันมากในชีวิตประจำาวันก็เป็นพวก
ภาชนะต่างๆ เช่น กระบุง ตะกร้า กระจาด เปลเด็ก เครื่องจักสานที่จำาเป็นต่อ
ชีวิตอีกอย่างหนึ่งคือเครื่องมือจับและดักสัตว์นำ้าเช่น ไซ ข้อง ตุ้มดักกบ ซ่อน
ปุ่มขังปลา ฯลฯ นอกจากนี้มีเครื่องจักสานที่เกี่ยวเนื่องกับการเลี้ยงไหมและ
การทอผ้า เช่น กะเพียดปั่นฝ้าย กระด้ง เลี้ยงไหม จ่อเลี้ยงไหม เครื่อง
จักสานที่เกี่ยวเนื่องกับขนบประเพณีของชาวอีสาน ได้แก่ เบ็งหมากสำาหรับ
ใส่ดอกไม้และเครื่องบูชาต่างๆ และก่องข้าวขวัญสำาหรับใส่ข้าวเหนียวนึ่ง
เป็นต้น
แบบสังเกตความสนใจและความตั้งใจในการทำากิจกรรมของ
นักเรียน
ชื่อ
นักเรียน......................................................................ชั้น..........
................
กิจกรรม.............................................................................วัน
ที่........................................
รายการ ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ
1. เริ่มต้นงานที่ได้รับมอบหมายทันที
2. ทำางานเสร็จเรียบร้อยตามเวลาที่
กำาหนด
3. ขอคำาแนะนำาจากครูหรือเพื่อเมื่อ
ไม่เข้าใจ
4. ทำากิจกรรมด้วยความสนุกสนาน
และเต็มใจ
5. มีส่วนร่วมในการทำากิจกรรมอย่าง
สมำ่าเสมอ
6. ช่วยเหลือแนะนำาเพื่อนในการทำา
กิจกรรมตามสมควร
7. สนใจศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วย
ตนเอง
รวมคะแนน
หมายเหตุ
ข้อใดที่นักเรียนปฏิบัติ ได้คะแนน 1 คะแนน ไม่ปฏิบัติ ได้คะแนน 0
คะแนน
เกณฑ์การประเมินจากแบบสังเกตอาจกำาหนด ดังนี้
7 คะแนน ดีมาก
5-6 คะแนน ดี
3-4 คะแนน พอใช้
1-2 คะแนน ควรปรับปรุง
ใบงาน
สรุปการพูดต่อหน้าชุมชน
เรื่อง.........................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................
....................................................................................
.............................................................................

More Related Content

What's hot

Howto time
Howto timeHowto time
Howto time
SornApasorn
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
Parichart Ampon
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
yaowarat Lertpipatkul
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Krudoremon
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1umpan
 
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
Teacher Sophonnawit
 
งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)
งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)
งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)Bunnaruenee
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญาkrusuparat01
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 

What's hot (16)

Howto time
Howto timeHowto time
Howto time
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
 
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทยใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
 
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)
งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)
งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญา
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
015
015015
015
 

Similar to ไม้ไผ่

แผนที่1
แผนที่1แผนที่1
แผนที่1
Sutimon Onsuratoom
 
แผนที่3
แผนที่3แผนที่3
แผนที่3
Sutimon Onsuratoom
 
แผนที่2
แผนที่2แผนที่2
แผนที่2
Sutimon Onsuratoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
Kartinee
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
sarawut chaicharoen
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษnang_phy29
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
kruthailand
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
ssuser6a0d4f
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
pantiluck
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
Proud N. Boonrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
dnavaroj
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
tassanee chaicharoen
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
Bhayubhong
 

Similar to ไม้ไผ่ (20)

แผนที่1
แผนที่1แผนที่1
แผนที่1
 
แผนที่3
แผนที่3แผนที่3
แผนที่3
 
แผนที่2
แผนที่2แผนที่2
แผนที่2
 
แผนที่ 1
แผนที่ 1แผนที่ 1
แผนที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 

ไม้ไผ่