SlideShare a Scribd company logo
Chapter 5 : Descriptive Analytics
บทที่ 5 : สถิติพรรณนา
อ. ธนาพพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
ระเบียบวิธีทางสถิติ
1.1 ความหมายของคาว่า สถิติ (Statistics)
สถิติ หมายถึง ข้อมูลเชิงตัวเลขที่ใช้บรรยายข้อเท็จจริงของสิ่ง
ต่างๆที่ศึกษา เช่น สถิติจานวนนักศึกษาที่สอบผ่านรายวิชา
สถิติเพื่อการธุรกิจ
1.2 ประเภทของสถิติ
สถิติพรรณนา ( Descriptive statistics )
สถิติอ้างอิง (Inferential statistics)
สถิติพรรณนา ( Descriptive statistics )
• วิเคราะห์ข้อมูลในเชิงบรรยาย สามารถอธิบายลักษณะได้เฉพาะ
กลุ่มที่ทาการศึกษาเท่านั้นไม่สามารถนาผลที่ได้ไปอ้างอิง
ข้อเท็จจริงของกลุ่มอื่นๆได้
• ผลที่ได้จากการศึกษานี้สามารถแสดงได้ในรูปของ บทความ
ตาราง แผนภูมิ กราฟ สัดส่วนร้อยละ ค่าตัวกลาง และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น
สถิติอ้างอิง (Inferential statistics)
• เป็นสถิติที่ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างแล้วสรุปผลการศึกษาที่ได้นั้นอ้างอิงไป
ถึงกลุ่มประชากร (Population) โดยอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็น
เช่น ทฤษฎีการประมาณค่า (Estimation) และการทดสอบ
สมมุติฐาน (Hypothesis Testing) เป็นต้น
ระเบียบวิธีทางสถิติ
การเก็บรวบรวมข้อมูล ( collection of data )
การนาเสนอข้อมูล ( presentation of data )
การวิเคราะห์ข้อมูล ( analysis of data )
การตีความหมายของข้อมูล
( interpretation of data )
1.2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data)
• การรวบรวมจากเอกสาร แหล่งที่มาของข้อมูลนี้เรียกว่า
แหล่งทุติยภูมิ (Secondary source)
• การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง แหล่งที่มาของข้อมูลนี้
เรียกว่า แหล่งปฐมภูมิ (Primary source)
ทุติยภูมิ คือ การรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆที่มีการบันทึกไว้แล้ว
ปฐมภูมิ คือ ผู้รวบรวมจะต้องไปหาเองจากต้นตอจริงๆ
โดยอาจทาได้ 4 วิธี
• การสารวจ
• การลงทะเบียน
• การสัมภาษณ์
• การสังเกต
• การทดลอง
การนาเสนอข้อมูล ( Presentation of data )
• 1) การนาเสนอในรูปบทความ (Text presentation )
• 2) การนาเสนอในรูปบทความกึ่งตาราง (Semi tabular pr
esentation)
• 3) การนาเสนอในรูปตาราง (Tabular presentation )
• 4) การนาเสนอข้อมูลในรูปกราฟ
– กราฟเส้น
–กราฟแท่ง
–กราฟวงกลม
–การนาเสนอด้วยรูปภาพ
จานวนผู้สาเร็จจาแนกตามผลการเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
คณะ 2.00-
2.49
2.50-
2.99
3.00-
3.49
3.50-
4.00
รวม
ศิลปศาสตร์ 49 113 115 71 348
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 43 50 38 7 138
ครุศาสตร์อุตสาหกรรม 7 15 3 1 26
วิศวกรรมศาสตร์ 93 62 20 1 176
บริหารธุรกิจ 246 302 165 48 761
เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 44 173 119 28 364
อุตสาหกรรมสิ่งทอ 13 17 7 1 38
รวมทั้งหมด 495 732 465 157 1851
0
10
20
30
40
50
60
14
31 27
53
32
12
3432 36
58
35
40
48 45
33
28
12 11
22
33
1820
5 4 1
6 8
3 2.00-2.49
2.50-2.99
3.00-3.49
3.50-4.00
ร้อยละของจานวนผู้สาเร็จในแต่ละช่วงคะแนน
ร้อยละผู้สาเร็จจาแนกตามผลการเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
27%
40%
25%
8%
ร้อยละผลการเรียนของผู้สาเร็จ ประจาภาคเรียนที่
2/2562
2.00-2.49
2.50-2.99
3.00-3.49
3.50-4.00
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามประเภทการรับเข้า ปี
การศึกษา 2562
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
50
2.00 - 2.49 2.50 - 2.99 3.00 - 3.49 3.50 - 4.00
โควตา
รับตรง
สกอ.
การนาเสนอด้วยรูปภาพ
• ปี พ.ศ. ยอดขาย ( คัน )
• 2544 6
• 2545 45
• 2546 55
2547 70
ปี พ.ศ.
2544 
2545 
2546 
2547 
 แทน รถ 10 คัน
ประโยชน์ของ สถิติ
1. เป็นสิ่งชี้ให้เห็นถึงข้อเท็จจริงของเหตุการณ์และเรื่องราวที่สนใจ
2. เป็นเครื่องมือในการวางแผนของโครงการและกิจการต่างๆ
3. เป็นระเบียบวิธีสาหรับการวิเคราะห์ในงานวิจัยโดยทั่วๆไป
4.เป็นเครื่องมือในการประเมินผลงานที่ได้ทาไปแล้ว
จบโมดูล 1 โปรดติดตาม โมดูล 2
Chapter 5 : Descriptive Analytics
บทที่ 5 : สถิติพรรณนา
Module 2
ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในทางสถิติ
• เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ใช้ในทางสถิติเสมอคือ X , N ,
 (อ่านว่าซิกมา) , 
• X และ N เป็นสัญลักษณ์ที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้แทนปริมาณ
•  เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนผลรวมของคะแนนหรือปริมาณต่างๆ
•  ใช้เมื่อต้องการหารากที่สองของจานวนบวกของคะแนนหรือปริมาณ
ต่างๆ
การใช้เครื่องหมายผลรวมในทางสถิติ
• สัญลักษณ์ที่ใช้คือ
• ซึ่ง i แสดงให้ทราบว่าจะต้องรวมค่า X ตั้งแต่ค่าที่ 1 ถึงค่าที่ N
• = XI + X2 + X3 + … + XN หรือ  X

N
1i
iX

N
1i
iX
หรือ
ตัวของค่า X เช่น XI = 5 , X2 = 15 , X3 = 6 , X4 = 10 , X5 = 4
= XI + X2 + X3 + X4+ X5
= 5 + 15 + 6 + 10 + 4 = 40

5
1i
iX
= (X1+3)+( X2+3)+( X3+3)+( X4+3) )+( X5+3)
= (5+3)+(15+3)+(6+3)+(10+3)+(4+3)
= 8+18+9+13+7 = 55
 

5
1i
i )3X(
การใช้เครื่องหมายผลรวมในทางสถิติ
= +
= XI + X2 + X3 + X4+ X5 +3+3+3+3+3
= 40 + 15 = 55


5
1i
iX 

5
1i
i )3X( 

5
1i
3
• ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องที่
สนใจศึกษาซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือข้อความเกี่ยวกับ
สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะนามาเป็นหลักฐานในการศึกษา
•ประเภทของข้อมูล
• 1 ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data)
• 2 ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data)
ข้อมูล (Data)
มาตราการวัด (Measurement Scales)
• 1. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scales)
• 2. มาตราเชิงลาดับ (Ordinal Scales)
• 3. มาตราอันตรภาค (Interval Scales
• 4. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scales)
การจัดข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
• การสร้างตารางการแจกแจงความถี่ มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
• ขั้นที่ 1 หาค่าต่าสุด และค่าสูงสุด ของข้อมูล
• ขั้นที่ 2 หาพิสัย ( Range ) = ค่าสูงสุด – ค่าต่าสุด
• ขั้นที่ 3 กาหนดจานวนชั้น (ระหว่าง 6 – 10 ชั้น )
• หรือหาได้จากสูตร จานวนชั้น= พิสัย ( เศษปัดขึ้นเป็นจานวนเต็มทุกครั้ง )
• ความกว้าง
• ขั้นที่ 4 หาความกว้างหรืออันตรภาคชั้น ( i ) = พิสัย ( เศษปัดขึ้น)
• จานวนชั้น
• ขั้นที่ 5 เขียนขีดจากัดชั้นแต่ละชั้น
• ขั้นที่ 6 สร้างตารางจากขีดจากัดชั้น และทารอยขีดหรือรอยคะแนน เพื่อหาความถี่
การจัดข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
• จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ของ
ความยาวรอบเอวของกลุ่มตัวอย่าง
40 คน ดังนี้
• 93, 59, 85, 75, 61, 68,
84, 75, 82, 68, 90, 62,
88, 76, 93, 73, 79, 88,
73, 60, 71, 65, 75, 74,
62, 95, 78, 63, 72, 66,
78, 86, 90, 82, 75, 94,
69, 79, 74, 68
• กาหนดจานวนชั้น 7 ชั้น
• ขั้นที่ 1. หาพิสัย = ค่าสูงสุด - ค่าต่าสุด
= 95 - 59 =36
• ขั้นที่ 2. กาหนดจานวนชั้น 7 ชั้น
• ขั้นที่ 3. หาอันตรภาคชั้น ( i ) = พิสัย
จานวนชั้น
• i = 5.1 = 6
• ขั้นที่ 4. กาหนดตัวเริ่มต้นของชั้นแรกแล้วนับไป
ตามจานวนอันตรภาคชั้น
• ขั้นที่ 5. สร้างตารางแจกแจงความถี่ จาก
ขีดจากัดชั้น
การแจกแจงความถี่ ( Frequency Distribution )
ความยาวรอบ
เอว
(ซม.)
รอยขีด ความถี่
f
59 – 64 //// // 7
65 – 70 //// / 6
71 – 76 //// //// / 11
77 – 82 //// / 6
83 – 88 //// 5
89 – 94 //// 4
95 - 100 / 1
รวม 40
• จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ของ
ความยาวรอบเอวของกลุ่มตัวอย่าง
40 คน ดังนี้
• 93, 59, 85, 75, 61, 68,
84, 75, 82, 68, 90, 62,
88, 76, 93, 73, 79, 88,
73, 60, 71, 65, 75, 74,
62, 95, 78, 63, 72, 66,
78, 86, 90, 82, 75, 94,
69, 79, 74, 68
• กาหนดจานวนชั้น 7 ชั้น
ประเภทของความถี่ ( f )
ความถี่สะสม
( Cumulative frequency )
ความถี่สัมพัทธ์
( Relative frequency )
ความถี่สะสมสัมพัทธ์
(Cumulative relative frequency )
ช่องคะแนนแต่ละชั้น เรียกว่า อันตรภาคชั้น
หรือขีดจากัดชั้น(limit) ซึ่งประกอบด้วย
ขีดจากัดล่าง (Lower limit )
ขีดจากัดบน (Upper limit )
ตรารางความถี่สะสมและความถี่
สะสมสัมพัทธ์ความยาวรอบ
เอว
(ซม.)
ความถี่
f
ความถี่สัมพัทธ์ ความถี่สะสม ความถี่สะสม
สัมพัทธ์
59 – 64 7 = 0.175 7 = 0.175
65 – 70 6 = 0.15 13 = 0.325
71 – 76 11 = 0.275 24 = 0.60
77 – 82 6 = 0.15 30 = 0.75
83 – 88 5 = 0.125 35 = 0.875
89 – 94 4 = 0.10 39 = 0.975
95 - 100 1 = 0.025 40 = 1
รวม 40 1.000
40
7
40
6
40
11
40
5
40
6
40
4
40
1
40
7
40
13
40
24
40
30
40
35
40
39
40
40
ตารางแจกแจงความถี่
ความยาวรอบเอว
(ซม.)
ความถี่
f ขีดจากัดชั้นที่แท้จริง
จุดกึ่งกลางชั้น
X
59 – 64
65 – 70
71 – 76
77 – 82
83 – 88
89 – 94
95 - 100
7
6
11
6
5
4
2
58.5 – 64.5
64.5 – 70.5
70.5 – 76.5
76.5 – 82.5
82.5 – 88.5
88.5 – 94.5
94.5 - 100.5
61.5
67.5
73.5
79.5
85.5
91.5
97.5
รวม N=40
การแจกแจงความถี่ด้วยกราฟ
• ฮิสโตแกรม ( Histogram )
• รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ ( Frequency polygon )
• เส้นโค้งความถี่ ( Frequency curve )
• โค้งโอจีฟ ( Ogive curve )
การแจกแจงความถี่ด้วยกราฟ
ฮิสโตแกรม ( Histogram )
รูปหลายเหลี่ยมของความถี่
( Frequency polygon )
เส้นโค้งความถี่
( Frequency curve )
โค้งโอจีฟ ( Ogive curve )
ค่ากลาง และการเบี่ยงเบน
Mean หรือ ค่าเฉลี่ย คิดจากผลรวมของค่าทั้งหมดหารด้วยจานวน
ข้อมูล เช่น
• ข้อมูล 9, 3, 1, 8, 3, 6
• ค่าเฉลี่ย = (9 + 3 + 1 + 8 + 3 + 6) / 6 = 5
Median หรือ มัธยฐาน คือ ตัวอย่างที่อยู่ตาแหน่งกลางของชุด
ข้อมูล เมื่อมีการเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก เช่น
• ข้อมูล 9, 3, 1, 8, 3, 6
• จัดเรียงเป็น 1, 3, 3, 6, 8, 9
• มีมัธยฐานคือค่าระหว่าง 3 กับ 6 ได้แก่ 4.5
ค่ากลาง และการเบี่ยงเบน
Mode หรือ ฐานนิยม คือ ตัวเลขที่เกิดมาที่สุดในชุดจานวน เช่น
• ข้อมูล 9, 3, 1, 8, 3, 6
• ฐานนิยม คือ 3
ค่ากลาง และ การเบี่ยงเบน
Range หรือ พิสัย คือความแตกต่างระหว่างข้อมูลที่มีค่าสูงสุด และ
ต่าสุด เข่น
• ข้อมูล 9, 3, 1, 8, 3, 6
• พิสัย คือ 9 – 1 =8
ค่ากลาง และการเบี่ยงเบน
Variance หรือ ค่าแปรปวน
• Variance หรือ ค่าแปรปวน
• ใช้เพื่อวัดการกระจายของข้อมูลคิดจากค่าเฉลี่ยของความต่างจาก
ค่าเฉลี่ยยกกาลัง 2
Standard deviation
• Standard deviation หรือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เพื่อดูการกระจายข้อมูลจากค่าเฉลี่ย คือ รากที่ 2 ของค่าแปรปวน
Variance กับ Standard deviation
ใช้งานต่างกันอย่างไร เพื่อให้เข้าใจง่ายๆ ขอเสนอตัวอย่าง
สูงของ
นาย A = 190 เมตร
นาย B = 160 เมตร
นาย C = 175 เมตร
นาย D = 150 เมตร
นาย E = 155 เมตร
Variance กับ Standard deviation
• เวลาใช้งานจริง
• ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจะใช้อธิบายความเบี่ยงเบนที่ออกมาจาก
ค่ากลาง หรือ ค่าเฉลี่ย เพื่อให้เห็นภาพว่า ชุดข้อมูลนั้นๆ มีการ
กระจายตัวอย่างไร
• ในขณะที่ค่าแปรปวนจะเป็นภาพกว้างทั้งหมดจึงมักใช้การพิสูจน์
หลักการทางสถิติมากกว่า เช่น การคานวณค่าความเสี่ยง หรือ Value
at Risk เป็นต้น
สรุปการนาเสนอผลสถิติพรรณนา
• 1) การนาเสนอในรูปบทความ (Text presentation )
• 2) การนาเสนอในรูปบทความกึ่งตาราง (Semi tabular pr
esentation)
• 3) การนาเสนอในรูปตาราง (Tabular presentation )
• 4) การนาเสนอข้อมูลในรูปกราฟแบบต่าง
• 5) นาเสนอภาพรวมของข้อมูลด้วยค่สถิติต่างๆดังนี้
Mean ,Mode ,Median ,
Standard Deviation, Variance
จบแล้วครับ

More Related Content

What's hot

เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
TupPee Zhouyongfang
 
Inferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & RegressionInferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & Regression
Thana Chirapiwat
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
KruGift Girlz
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
KruGift Girlz
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
Parn Parai
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
krurutsamee
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางAon Narinchoti
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
tanongsak
 
มโนทัศน์ของการคำนวณปรับแก้
มโนทัศน์ของการคำนวณปรับแก้มโนทัศน์ของการคำนวณปรับแก้
มโนทัศน์ของการคำนวณปรับแก้
Chokchai Puatanachokchai
 

What's hot (20)

83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 
Inferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & RegressionInferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & Regression
 
Frequence
FrequenceFrequence
Frequence
 
7 statistic
7 statistic7 statistic
7 statistic
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
6 statistic
6 statistic6 statistic
6 statistic
 
s
ss
s
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
มโนทัศน์ของการคำนวณปรับแก้
มโนทัศน์ของการคำนวณปรับแก้มโนทัศน์ของการคำนวณปรับแก้
มโนทัศน์ของการคำนวณปรับแก้
 

Similar to Chapter5 descriptive statistic

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
สถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนาสถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนา
Chucshwal's MK
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thai
Krissana Manoping
 
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5dLaongphan Phan
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
DuangdenSandee
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1Little Tukta Lita
 
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมายสถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
somsur2001
 
ตารางแจกแจงความถี่New
ตารางแจกแจงความถี่Newตารางแจกแจงความถี่New
ตารางแจกแจงความถี่Newpumyam
 

Similar to Chapter5 descriptive statistic (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ตารางแจกแจงความถี่ 1
ตารางแจกแจงความถี่ 1ตารางแจกแจงความถี่ 1
ตารางแจกแจงความถี่ 1
 
สถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนาสถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนา
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thai
 
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมายสถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
ตารางแจกแจงความถี่New
ตารางแจกแจงความถี่Newตารางแจกแจงความถี่New
ตารางแจกแจงความถี่New
 
Chepter3
Chepter3Chepter3
Chepter3
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 
Chapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 aChapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 a
 

Chapter5 descriptive statistic